บุคลิกภาพเพื่อการทางาน PDF

Document Details

TransparentTinWhistle

Uploaded by TransparentTinWhistle

Rambhai Barni Rajabhat University

Tags

communication skills human relations personality development

Summary

เอกสารนี้อธิบายถึงบุคลิกภาพเพื่อการทางาน บทที่ 3 ซึ่งเน้นเกี่ยวกับทักษะด้านการสื่อสารและมนุษยสัมพันธ์ ภาษา และสื่อสังคมออนไลน์

Full Transcript

บุคลิกภาพเพื่อการทางาน บทที่ 3 ทักษะที่สาคัญในการทางาน ประกอบด้วย ทักษะด้านการสื่อสารและมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านภาษา การพูด และทักษะด้านสื่อสังคมออนไลน์ เป็นต้น ทักษะด้านการสื่อสาร (COMMUNICATION SKILLS) สรุ ป ได้ ว่ า การสื่ อ สารหมายถึ ง การรับ รู้ ร่ วมกั น ในกระบวนการ...

บุคลิกภาพเพื่อการทางาน บทที่ 3 ทักษะที่สาคัญในการทางาน ประกอบด้วย ทักษะด้านการสื่อสารและมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านภาษา การพูด และทักษะด้านสื่อสังคมออนไลน์ เป็นต้น ทักษะด้านการสื่อสาร (COMMUNICATION SKILLS) สรุ ป ได้ ว่ า การสื่ อ สารหมายถึ ง การรับ รู้ ร่ วมกั น ในกระบวนการ ทาความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยใช้สัญลักษณ์และระบบสาร กระบวนการ นาข่าวสารจากแหล่งกาเนิดไปสู่จุดหมายปลายทาง กระบวนการถ่ายทอด ความคิดจากแหล่งกาเนิดไปยังผู้รับโดยตั้งใจจะให้ผู้รับเปลี่ยนพฤติกรรม กระบวนการสื่อสาร ส่วนประกอบสาคัญของกระบวนสื่อสารประกอบด้วย 1. ผู้ส่งข้อมูลข่าวสาร (sender) 2. ตัวข่าวสาร (Message) 3. ช่องทางส่ง หรือ รับข่าวสาร (Channels) 4. ผู้รับข้อมูลข่าวสาร (receiver) 5. ความเข้าใจ (Understanding) หรือการสนองตอบ กระบวนการติดต่อสื่อสาร (Communication Process) ผู้ส่งข่าวสาร เข้ารหัส (Sender) (Encoding) ข่าวสาร ช่องทาง (Message) ข้อมูลป้อนกลับ (feedback) แสดง ถอดรหัส ผู้รับสาร พฤติกรรม (Decoding) (Receiver) เส้นทางการสื่อสาร 1. การสื่อสารจากเบื้องบนลงสู่เบื้องล่าง การสื่ อสารลั กษณะนี้ จะเป็ น ไปตามเส้ น ทางของสายการบังคั บ บั ญ ชา เช่ น จากผู้ บ ริ ห ารลงมาที่ ร อง ผู้ จั ด การแผนก หั ว หน้ า ส่ ว น หั ว หน้ า งาน ลงมาถึ ง พนั ก งาน ลดหลั่ น กั น ตามอ านาจหน้ า ที่ และความรับผิดชอบ สิ่ ง ที่ ผู้ บ ริ ห ารควรพิ จ ารณาในการสื่ อ สารแบบนี้ คื อ ประเภท และจานวนของข้อมูล ข่าวสารอะไรที่ควรส่งจากผู้บริหาร ลงมายังกลุ่ม พนักงาน และการส่งข้อมูลข่าวสาร ควรกระทาอย่างไรจึงจะก่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด 2. การสื่อสารจากเบื้องล่างขึ้นสู่เบื้องบน การสื่ อ สารลั ก ษณะนี้ มี ค วามส าคั ญ ต่ อ การผู้ บ ริ ห ารและการจั ด การองค์ ก ร เป็นอย่างมากเพราะจะก่อให้เกิดสิ่งต่อไปนี้ คือ 2.1 พนักงานให้ข้อมูลที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ ควบคุม กิจกรรมต่าง ๆของผู้บริหาร 2.2 ทาให้ผู้บริหารทราบว่าเมื่อไรที่พนักงานพร้อมที่จะรับข้อมูลข่าวสาร และยอมรับสิ่งที่ฝ่ายบริหารได้บอกกล่าวมามากน้อยเพียงใด 2.3 ทาให้ผู้บริหารทราบถึงสิ่งที่รบกวนและเป็นปัญหาที่บุคลากรผู้ปฏิบัติงานจริง ประสบอยู่ และทาให้รู้ว่าพนักงานเข้าใจความหมายของข้อมูลข่าวสารได้มากน้อยเพียงใด 2.4 ทาให้เกิดความชื่นชมและความจงรักภักดีต่อองค์กร ด้วยการให้พนักงานมี โอกาสถามคาถาม และให้มีข้อเสนอแนะทางด้านการดาเนินงานขององค์กรที่จะช่วยให้ พนักงานแก้ปัญหาการทางานของเขาได้ 3.การสื่อสารตามแนวนอน ประกอบด้ ว ยการให้ ข้ อ มู ล ข่ า วสารระหว่ า งเพื่ อ นร่ ว มงานใน หน่วยงานเดียวกัน ซึ่งอยู่ในระดับอานาจหน้าที่เดียวกันภายในองค์กรและมี ผู้บังคับบัญชาคนเดียวกัน 3.1 การประสานงานและการมอบหมายงาน เช่น เจ้าหน้าที่ของ แผนกฝึกอบรมและพัฒนาต้องการจัดฝึกอบรมให้พนักงานของบริษัท ซึ่ง พวกเขาจะต้องพบกันเพื่อประสานงานว่าใครจะต้องทาอะไร 3.2 การให้ข้อมูลเกี่ยวกับแผนงานและกิจกรรม ความคิดเห็นจาก บุคคลหลายคนย่อมดีกว่าความคิดเห็นของบุคคลเพียงคนเดียว การสื่อสาร ในระดับเดียวกันจึงมีความสาคัญ เช่น ในการจัดฝึกอบรมหรือการรณรงค์ ประชาสั ม พั น ธ์ สมาชิ ก ของแต่ ล ะแผนกอาจจะต้ อ งส่ ง ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ แผนงานและสิ่งที่พวกเขาจะต้องทาร่วมกัน 3.การสื่อสารตามแนวนอน (ต่อ) 3.3 การแก้ปัญหา พนักงานอาจจะได้รับมอบหมายงานให้ทา ร่ ว มกั น ในหน่ ว ยงานเดี ย วกั น ซึ่ ง ต้ อ งมี ก ารพบและเกี่ ย วข้ อ งกั น ในการ ติดต่อสื่อสารตามแนวนอนเพื่อแก้ปัญหาบางอย่างของหน่วยงาน 3.4 การสร้างความเข้าใจร่วมกัน เมื่อการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น องค์กรจะต้องร่วมกันสร้างความเข้าใจถึงสิ่งที่ควรจะเปลี่ยนแปลงร่วมกัน การประชุมและสนทนาระหว่างพนักงานระดับเดียวกันและภายในหน่วยงาน เดียวกันเป็นสิ่งสาคัญต่อการบรรลุความเข้าใจร่วมกัน การสื่อสารข้ามสายงาน ในองค์กรส่วนใหญ่ พนักงานอาจจะต้องส่งข้อมูลข่าวสาร ให้กับบุคคลที่ไม่ใช่ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้บังคับบัญชา ของเขาเอง การสื่อสารข้ามสายงาน มีความเหมาะสมและจาเป็น อย่างมาก ต่อพนักงานระดับล่างเพราะช่วยประหยัดเวลา การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ องค์ประกอบสาคัญที่ส่งผล ต่อความสาเร็จหรือความล้มเหลวของการสื่อสาร คุณสมบัติของผู้สื่อสาร ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้สื่อสารที่สาคัญ 4 ประการคือ 1) มีความรู้ความสามารถ 2) มีทักษะในการสื่อสาร 3) มีเจตคดีที่ดีต่อกัน 4) มีพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกับผู้รับสาร การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การใช้สื่อและเทคนิควิธีในการสื่อสารโดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) สื่อ โดยทั่วไปหมายถึงสิ่งที่นา หรือถ่ายทอดจาก ผู้ ส่ ง ไปยั ง ผู้ รั บ เช่ น เสี ย งพู ด กิ ริ ย าท่ า ทาง สิ่ ง พิ ม พ์ วิ ท ยุ โทรทัศน์ 2) เทคนิควิธีการสื่อสาร ทั้งนี้เพราะการสื่อสาร ในสถานการณ์ ที่ ต่ า งกั น ย่ อ มจะต้ อ งอาศั ย เทคนิ ค วิ ธี ก าร ที่เหมาะสมและแตกต่างกันไป ทักษะด้านภาษา (LINGUISTIC SKILLS) ทักษะด้านภาษา (LINGUISTIC SKILLS) การที่ประเทศไทยกาลังจะเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Community) โดยใน กฎบัตรอาเซียนมาตราที่ 34 ระบุ ใ ห้ ใ ช้ ภ าษาท างานของอาเซี ย น คื อ ภาษาอั ง กฤษ (The working language of ASEAN shall be English) ซึ่งหมายความว่า ประชาชนใน 10 ประเทศอาเซียนจะต้องใช้ ภาษาอังกฤษมากขึ้นนอกเหนื อจากการใช้ภ าษาประจาชาติ หรือภาษาประจาท้องถิ่นของตนเอง ภาษาเป็นเครื่องมือของมนุษย์ที่ใช้ในการสื่อ ความหมายให้สามารถติดต่อสื่อสาร เข้าใจกันได้ ภาษาสามารถ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ วัจนภาษา และ อวัจนภาษา 1. วัจนภาษา เป็ น ภาษาที่ พู ด โดยใช้ เ สี ย งที่ เ ป็ น ถ้ อ ยค า สร้ า งความ เข้ า ใจกั น มี ร ะเบี ย บในการใช้ ถ้ อ ยค าในการพู ด นอกจากนั้นยังเป็นหนังสือที่ใช้แทนคาพูด คาที่ใช้เขียน จะเป็นคาที่เลือกสรรแล้ว มีระเบียบในการใช้ถ้อยคาใน การเขียนและการพูดตามหลักภาษา วัจนภาษา อวัจนภาษา 2. อวัจนภาษา เป็นภาษาที่ใช้สิ่งอื่นนอกเหนือจากคาพูดและตัวหนังสือ ในการสื่อสารเพื่อทาให้เกิดความเข้าใจ ภาษาที่ไม่เป็น ถ้ อ ยค าได้ แ ก่ ท่ า ทางการแสดงออก การใช้ มื อ ใช้ แ ขน ประกอบการพูดหรือสัญลักษณ์ต่างๆที่ใช้ในการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ เช่น สัญญาณไฟจราจร สัญญาณธง เป็นต้น ทักษะการพูด พูดกันไม่เข้าใจ เป็ นเหตุให้ขาดไมตรี พูดกันเข้าใจดี กอบการกิจสัมฤทธิ์ผล คาพูดนี้ สาคัญ อาจแปรผันชีวติ คน ยึดธรรมนาจิตตน พูดสิง่ ใดย่อมให้คณ ุ (กลอนและบทดอกสร้อยสุภาษิต ฐาปะนี ย ์ นาครทรรพ ) การพูด มี ค วามส าคั ญ ต่ อ ชี วิ ต มนุ ษ ย์ เ ป็ น อั น มาก ไม่ ว่ า จะอยู่ ณ ที่ใด ประกอบกิจการงานใด หรือคบหาสมาคมกับใครก็ต้อง สื่ อ สารด้ ว ยการพู ด เสมอ จึ ง มั ก พบว่ า ผู้ ที่ ป ระสบความส าเร็ จ ในกิจการงาน การคบหาสมาคมกับผู้อื่นตลอดจนการทาประโยชน์ แก่ สั ง คมส่ ว นรวม ล้ ว นแต่ เ ป็ น คนที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการพู ด ทั้งสิ้น ส่วนหนึ่งของการพูดสามารถสอนและฝึกได้ อาจกล่ า วได้ ว่ า การพู ด เป็ น "ศาสตร์ " มี ห ลั ก การ แ ล ะ ก ฎ เ ก ณ ฑ์ เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี ทั ก ษ ะ อี ก ส่ ว น ห นึ่ ง เป็ น ความสามารถพิ เ ศษหรื อ “ศิ ล ปะ” เฉพาะตั ว ของผู้ พู ด แต่ ละบุ คคล บางคนมีความสามารถที่จะตรึงผู้ ฟั งให้ ใจจดจ่ อ อยู่กับการฟังเรื่องที่พูด ผู้พูดบางคนสามารถพูดให้คนฟังหัวเราะ ได้ ต ลอดเวลา ศิ ล ปะเฉพาะตั ว นี้เ ป็ นสิ่ ง ที่ ล อกเลี ย นกั น ได้ ย าก แต่อาจพัฒนาขึ้นได้ในแต่ละบุคคล การพูดที่มีประสิทธิภาพเกิดจากการสังเกตวิธีการที่ดี และมี โ อกาสฝึ ก ฝน ผู้ ที่ รู้ จั ก ศิ ล ปะในการพู ด จะมี โ อกาส สร้างความสาเร็จและความก้าวหน้าในชีวิตได้ สรุปแล้ว การพูดเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้กิจกรรมต่าง ๆ สาเร็จไปได้ด้วยดี ผู้มีความสามารถในการพูดจึงเป็นผู้มี อ านาจอยู่ ใ นตั ว ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลดี ใ นการด าเนิ น ชี วิ ต ทั้งในด้านกิจการงานและด้านส่วนตัว การพูดไม่เป็น มีลักษณะดังนี้... !! การพูดขัดคอ พูดซ้าซาก วกวน พูดคุยโตโอ้อวด พูดมาก พูดนานเกินไป ผูกขาดการพูดคนเดียว พูดคนละภาษา และพูด น้อยเกินไป ไม่ได้พูด การพูดเป็น มีลักษณะ... อย่างไร..? คื อ การพู ด ให้ ค นอื่ น ได้ ฟั ง แล้ ว ชื่ น ชอบ เชื่อถือ คล้อยตาม อยากจะปฏิบัติตาม พูดเรื่อง ยากให้เป็นเรื่องง่าย พูดเรื่องง่ายๆให้เป็นเรื่อ ง ง่าย การพูดคืออะไร? การพู ด คื อ การใช้ ถ้ อ ยค าน้ าเสี ย งและกิ ริ ย าอาการ เพื่ อ ถ่ า ยทอดอารมณ์ ค วามรู้ สึ ก นึ ก คิ ด ความรู้ ประสบการณ์ ตลอดจนความต้ อ งการของผู้ พู ด ให้ ผู้ ฟั ง ได้ รั บ รู้ และเกิ ด การ ตอบสนอง การพูดคืออะไร? การพูดที่ดี คือ การใช้ถ้อยคาน้าเสียง รวมทั้งกิริยาอาการ อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง ตามจรรยามารยาทและประเพณีนิยม ของสั ง คม เพื่ อ ถ่ า ยทอดอารมณ์ ความรู้ สึ ก นึ ก คิ ด ความรู้ ประสบการณ์ และความต้ อ งการที่ เ ป็ น คุ ณ ประโยชน์ แ ก่ ผู้ ฟั ง เพื่อให้เกิดการรับรู้และเกิดผลการตอบสนองอย่างสัมฤทธิ์ผลตาม ความมุ่งหมายของผู้พูด ความมุ่งหมายของการพูด ความมุ่งหมายของการพูด คือ การแสดงหรือเสนอข้อคิดเห็น ต่ อ ผู้ ฟั ง และผู้ ฟั ง สามารถรั บ รู้ เ รื่ อ งราวและเข้ า ใจได้ ต รงกั บ ความต้ อ งการของผู้ พู ด ตลอดจนสามารถน าไปปฏิ บั ติ ไ ด้ อย่างมีประสิทธิภาพ เรียกว่า “พูดได้อย่างใจนึก ระลึกได้ดังใจหวัง ยังประโยชน์ให้แก่ผู้ฟัง สร้างพลังในการเปลี่ยนแปลง” 29 ข้อดีของการสื่อสารด้วยคาพูด 1) สร้างความเข้าใจให้กับผู้ฟังได้อย่างรวดเร็ว 2) เป็นเครื่องมือสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับบุคคลได้ผลที่สุด 3) สามารถพิสูจน์ได้ว่าคาพูดที่พูดไปได้ผลหรือไม่ทันที 4) สามารถดัดแปลงแก้ไขคาพูด หรือยืดหยุ่นให้เหมาะสมได้ คุณสมบัติเบื้องต้นของนักพูดที่ดี 1) เป็นนักฟังที่ดี 2) ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ 3) ยอมรับฟังคาวิจารณ์ 4) เป็นตัวของตัวเอง 5) มีความสุขในการถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่น หลักทั่วไปในการพูด - เตรียมตัวให้พร้อม - ตาจ้องจับผู้ฟัง - ซักซ้อมให้ดี - เสียงดังแต่พอดี - ท่าทีให้สง่า - อย่าให้มีเอ้ออ้า - วาจาสุขุม - ดูเวลาให้พอครบ - ทักที่ประชุมให้โน้มน้าว - สรุปจบให้จับใจ - เรื่องราวให้กระชับ - ยิ้มแย้มแจ่มใสเมื่ออาลา การพูดที่ดี ต้องยึดหลัก ใบหน้ า ที่ ยิ้ ม แย้ ม ตลอดจนอากั ป กิ ริ ย าที่ แ สดงออก ใ น ข ณ ะ ที่ พู ด อ า ร ม ณ์ ดี ร่ า เ ริ ง แ จ่ ม ใ ส มี ค ว า ม กระฉั บ กระเฉง มี ท่ า ยื น นั่ ง เดิ น ในขณะที่ พู ด อย่ า ง เหมาะสมด้วย มีความเชื่อมั่นในตนเองดี ผู้พูดจะต้องเตรียมล่วงหน้า ฝึกซ้อมการพูดให้คล่อง สามารถจดจาเรื่องราวที่พูดได้ ควบคุมอารมณ์ได้ ไม่ตื่นเต้น ประหม่า หรือลุกลี้ลุกลนรีบ ร้อนจนทาให้เสียบุคลิก พูดให้ตรงประเด็น พูดในเรื่องที่กาหนดไว้ ไม่นอกเรื่อง พูด อย่างมีจุดมุ่งหมายมุ่งให้ผู้ฟังฟังแล้วเข้าใจ ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ ผู้พูดต้องการ ต้องใช้ภาษาที่เหมาะสมกับระดับผู้ฟัง ตามปกตินิยมใช้ภาษา ธรรมดาง่ายๆ สุภาพ กะทัดรัด สื่อความเข้าใจได้ง่าย ต้ อ งค านึ ง ถึ ง ผู้ ฟั ง ผู้ พู ด ต้ อ งพิ จ ารณาเลื อ กใช้ ค าที่ ถู ก ต้ อ ง เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล เพื่อแสดงถึงความมีมารยาทดี และให้เกียรติผู้ฟัง การวางตัวและมารยาทในการพูด การวางตัวในการพูด 1. ก่อนการพูดถ้าเป็นคนพูดคนแรก เมื่อจบแล้วก็ไม่ควร จะลุ ก ไปไหน ควรนั่ ง ฟั ง อย่ า งสงบ ถ้ า เป็ น คนพู ด หลั ง ๆ ก็ ค วร แสดงความสนใจที่จะฟังการพูดของคนก่อนหน้า 2. เมื่อเริ่มพูดให้ลุกขึ้นอย่างกระฉับกระเฉง อย่างปกติและ ก้าวเดินไปยังที่พูด ผู้พูดควรจะเตรียมอุปกรณ์ ส่นตัวให้พร้อม 3. ระหว่างการพูด ผู้พูดต้องสนใจอยู่ที่ความคิดและผู้ฟัง 4. หลังจากการพูดจบ เวลาจบผู้พูด ควรกล่าวคาว่า “สวัสดี” แทน “ขอบคุณ” หลักการในการกล่าวอวยพรมงคลสมรส 1) กล่าวคาปฏิสันถาร 2) กล่าวถึงความรู้สึกว่าเป็นเกียรติที่ได้มาอวยพร 3) ความสัมพันธ์ของผู้พูดกับคู่บ่าวสาว 4) ให้คาแนะนาในการดาเนินชีวิต และการครองรัก 5) อวยพรและชักชวนให้ดื่ม การกล่าวแนะนาผู้พูดควรปฏิบัติดังนี้ 1) การกล่าวแนะนาผู้พูดและเรื่องที่จะพูด ต้องแนะนาให้เหมาะกับ ลักษณะ และอารมณ์ผู้ฟัง 2) การแนะนาไม่ควรต่ากว่า 20 วินาทีและไม่เกิน 2 นาที 3) ไม่ควรให้ตัวผู้แนะนาและคาแนะนาเด่นจนเกินไป 4) ไม่ควรให้ผู้พูดรู้สึกขวยเขินเพราะคายกยอจนเกินควร 5) เลือกใช้คาแนะนาให้เหมาะสม 6) วางการแนะนาตามลาดับขั้นของอารมณ์ วิธีกล่าวขอบคุณดังนี้ 1) เริ่มด้วยการกล่าวคาขอบคุณ 2) สรุปเนื้อหาที่วิทยากรพูดไว้อย่างสั้นๆ พร้อมทั้งกล่าว เชื้อเชิญวิทยากรไว้สาหรับการพูดครั้งต่อไป 3) จบลงด้วยการกล่าวขอบคุณอีกครั้งหนึ่ง การกล่าวต้อนรับควรยึดแนวปฏิบัติดังนี้ 1) เริ่มด้วยการกล่าวแสดงความยินดีที่ได้มีโอกาสต้อนรับผู้มาใหม่ 2) กล่ า วถึ ง จุ ด มุ่ ง หมายในการเยี่ ย มเยื อ น เพื่ อ ให้ เ ห็ น ว่ า ฝ่ายต้อนรับนั้น เห็นความสาคัญของการมาเยี่ยม 3) แสดงความหวั ง ว่ า ผู้ ม าเยี่ ย มจะได้ รั บ ความสะดวกสบาย ระหว่างที่พานักอยู่ในสถานที่นั้น หรือระหว่างการเยี่ยมเยือนนั้น 4) สรุปเป็นทานองเรียกร้องให้อาคันตุกะกลับมาเยี่ยมเยือนอีก การกล่าวเลี้ยงส่งข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ ควรปฏิบัติดังนี้ 1) กล่าวปฏิสันถาร 2) กล่าวถึงความสัมพันธ์ของผู้ที่จากไปกับผู้ที่อยู่ 3) กล่าวถึงคุณความดีทั้งในด้านการงาน และด้าน ส่วนตัวของผู้ที่จากไป 4) กล่าวถึงความอาลัยอาวรณ์ของผู้ที่ย้ายไป 5) อวยพร หลักทั่วไปของการพูดในโอกาสต่างๆ พยายามคิดค้นหาลักษณะเฉพาะของโอกาสหรือ บุคคลที่กล่าวถึง - อย่าพูดเหมือนกันทุกงาน - อย่าลืมการขึ้นต้น และการลงท้ายที่ดี - อย่าพูดนานเกินไป ควรรวบรัดที่สุด - ใช้อารมณ์ขันบ้าง ถ้าเหมาะสม การพูดในรูปแบบต่างๆ เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับ ทุกคนที่ต้องเรียนรู้และฝึกฝน เพื่อการพัฒนาบุคลิกภาพ ของตนเอง การพู ด ทุ ก รู ป แบบต้ อ งค านึ ง ความจริ ง คานึง ถึง ผู้ ฟั ง และการใช้คาพู ด การใช้คาพู ด ที่ ไม่ ร ะวัง เพี ย งไม่ กี่ ค าอาจท าลายอนาคต ความก้ า วหน้ า ลงได้ ในพริบตา ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ (RELATION SKILLS) ลักษณะของมนุษยสัมพันธ์ 1. มนุษยสัมพันธ์ เน้นตัวบุคคลมากกว่าเครื่องจักรกล 2. เป็นการรวมกลุ่มของบุคคลในสังคมอย่างมีระบบ และแสดงพฤติกรรม ตอบสนองต่อกันเป็นความสัมพันธ์ที่มีระเบียบ 3. กิจกรรมสาคัญของมนุษย์สัมพันธ์ คือ การจูงใจให้บุคคลเกิดพลัง ในการติดต่อสัมพันธ์และแสดงพฤติกรรมตอบสนองให้มากที่สุด 4. การจู ง ใจนั้ น เกิ ด จากการผสมผสานระหว่ า งวิ ท ยาการต่ า ง ๆ กั บ ความสามารถเฉพาะตั ว แล้ ว ประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการติ ด ต่ อ สั ม พั น ธ์ เพื่อให้ครองใจคนแลเอาชนะใจคนได้ ลักษณะของมนุษยสัมพันธ์ 5. การจูงใจก่อให้เกิดการทางานเป็ น หมู่ค ณะ ซึ่งต้องอาศัยการ ประสานงานความร่วมมือร่วมใจของบุคคล 6. มนุษยสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในหมู่คณะนั้นย่อมก่อให้เกิดผล 2 ประการ คือ ตอบสนองความต้องการของบุคคล และตอบสนองความต้องการของ องค์การด้วย 7. มนุษยสัมพันธ์ก่อให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการทางาน ถ้าเปรียบเทียบกับการลงทุน ก็นับได้ว่าลงทุนน้อยที่สุด แต่ได้ผลดีที่สุด แนวทางการสร้างมนุษยสัมพันธ์ บัญญัติ 10 ประการ สาหรับการฝึกการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ได้แก่ 1.การยิ้มให้บุคลากรด้วยกันและผู้อื่น 2.การทักทายบุคลากรด้วยกันผู้อื่น 3.การจาชื่อบุคลากรและเรียกให้ถูกต้อง 4.การมีความเป็นมิตรกับทุกคน 5.การมีความจริงใจกับทุกคน 6.การให้ความสนใจอย่างจริงจัง 7.อ่อนน้อมต่อคาชม ระมัดระวังต่อการวิจารณ์ 8.การมีความกระตือรือร้น 9.การมีอารมณ์ขัน 10.การมีความอดทน การพึ่งพาอาศัยกัน “ น้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า อัชฌาสัย เราก็จิต คิดดูเล่า เขาก็ใจ รักกันไว้ ดีกว่าชัง ระวังการ ” ศิลปะของการสร้างมนุษยสัมพันธ์ “ผูกสนิท ชิดเชื้อ นี้เหลือยาก ถึงเหล็กฟาก รัดไว้ ก็ไม่มั่น จะผูกด้วย มนตร์เสก ลงเลขยันต์ ไม่เหมือนพัน ผูกไว้ ด้วยไมตรี “ ทักษะด้านการแก้ปัญหา (PROBLEM SOLVING SKILLS) ทักษะด้านการแก้ปัญหา (PROBLEM SOLVING SKILLS) ทักษะในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย ทักษะในการ “ขวนขวายหาข้อมูล” ทักษะในการ “คิดเชิงวิเคราะห์” ทักษะการ “คิดเชิงหลักการ” ทักษะในการ “ขวนขวายหาข้อมูล” การแก้ปัญหาได้ดี ต้องมีข้อมูล สาเหตุ วิธีการแก้ไข ที่เป็นไปได้ ผลของการแก้ไขแต่ละเรื่อง คนที่แก้ไขปัญหา เก่ ง จะเป็ น คนที่ ตั ด สิ น ใจจากข้ อ มู ล การขวนขวายหา ข้อมูล เป็นสมรรถนะเชิงพฤติกรรมที่เกิดจากความอยากรู้ อยากเห็น ทักษะด้านเทคโนโลยีและสื่อสังคมออนไลน์ (TECHNOLOGY AND SOCIAL MEDIA SKILLS) บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สังคมเปลี่ยนมาเป็น สังคมสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีแบบ สุนทรียสัมผัส และตอบสนองตามความต้องการ เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดสภาพทางการทางานแบบ ทุกสถานที่และทุกเวลา บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ระบบเศรษฐกิจ จากระบบแห่งชาติ ไปเป็นเศรษฐกิจโลก เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการ ระยะยาวขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศ ในปัจจุบันทาให้การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ทั่วโลกทาได้สะดวกมากขึ้น กิจกรรมที่ 3.1 (10 คะแนน) ให้นักศึกษาเตรียมหัวข้อในการพูดหน้าชั้นโดยแสดงเป็น บทบาทสมมติในอาชีพที่สนใจ 1.นักศึกษาต้องมีบทพูด 1 เรื่อง 2.นักศึกษาแสดงบทบาทสมมตินั้น

Use Quizgecko on...
Browser
Browser