EEE 190&290 Electrical Practice Wiring PDF

Document Details

ConciseWave704

Uploaded by ConciseWave704

KMUTT

Narat Rachgrom

Tags

electrical safety wiring electrical practice safety procedures

Summary

This document covers electrical safety in the workplace. It details the importance of electrical safety, and provides examples of workplace hazards. It also presents steps in electrical safety procedures.

Full Transcript

EEE 190&290 Electrical Practice Wiring ความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานที่ทางาน Narat Rachgrom Master Degree Electrical Engineer, Electrical Technician Electrical Department KMUTT ทาไมต้องให้ความสาคัญกับความปลอดภัยทางไฟฟ้า ? ไฟฟ้าเป็นพลังงานที่มีศักยภาพในการก่อให้เกิดอันตรายได้ ไฟฟ้านั้นมองด้วย...

EEE 190&290 Electrical Practice Wiring ความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานที่ทางาน Narat Rachgrom Master Degree Electrical Engineer, Electrical Technician Electrical Department KMUTT ทาไมต้องให้ความสาคัญกับความปลอดภัยทางไฟฟ้า ? ไฟฟ้าเป็นพลังงานที่มีศักยภาพในการก่อให้เกิดอันตรายได้ ไฟฟ้านั้นมองด้วย ตาเปล่าไม่เห็น และ มีอันตรายถึงชีวิตได้ เช่น ไฟฟ้าช็อต ไฟฟ้าลัดวงจร ไฟไหม้จากไฟฟ้าลัดวงจร และการเสียหายของอุปกรณ์ทาให้ไฟดูด ไฟรั่ว การใช้งานที่ไม่ถูกต้องหรือการติดตั้งที่ไม่ได้มาตรฐานอาจส่งผลต่อชีวิตและ ทรัพย์สิน ตัวอย่างอันตรายจากไฟฟ้าในสถานที่ทางาน ตัวอย่างอันตรายจากไฟฟ้าในสถานที่ทางาน ตัวอย่างอันตรายจากไฟฟ้าในสถานที่ทางาน ความปลอดภัยทางไฟฟ้า คือ ? การปฏิบัติเพื่อป้องกันอันตรายจากการใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า หรือระบบไฟฟ้า โดยมุ่งเน้นให้การใช้งานมีความปลอดภัยทั้งต่อบุคคล ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อม ผลกระทบจากการละเลยความปลอดภัยทางไฟฟ้า ❖ ต่อบุคคล - บาดเจ็บจากไฟฟ้าช็อตหรือถูกไฟลวก - เสียชีวิตจากไฟฟ้าแรงสูงหรือการใช้งานที่ไม่ปลอดภัย ❖ ต่อทรัพย์สิน - ความเสียหายของอุปกรณ์ไฟฟ้า - การเกิดเพลิงไหม้ที่มีต้นเหตุมาจากระบบไฟฟ้า ❖ ต่อสิ่งแวดล้อม - ความเสียหายจากการเกิดไฟไหม้ - การปล่อยพลังงานที่ไม่ปลอดภัยสู่สภาพแวดล้อม สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางไฟฟ้า หลักการสาคัญของความปลอดภัยทางไฟฟ้าโดยทั่วไป o ป้องกันไฟฟ้าช็อต (Electric Shock) o ป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร (Short Circuit) o ป้องกันไฟฟ้ารั่ว (Leakage Current) o ป้องกันไฟไหม้จากระบบไฟฟ้า o การติดตั้งที่ถูกต้องและได้มาตรฐาน สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางไฟฟ้า แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางไฟฟ้า ✓ สาหรับบุคคลทั่วไป - ห้ามเสียบปลั๊กไฟด้วยมือเปียกไม่ควรใช้สายไฟที่มีความ เสียหาย ✓ สาหรับผู้ปฏิบัติงานด้านไฟฟ้า - ใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (PPE) เช่น ถุง มือฉนวนไฟฟ้าปิดระบบไฟฟ้าหลักก่อนการซ่อมแซมหรือติดตั้งใช้อุปกรณ์วัด แรงดันไฟฟ้าเพื่อยืนยันว่าไม่มีไฟฟ้าค้างอยู่ในระบบ ✓ การดูแลรักษาระบบไฟฟ้า – ตรวจสอบและบารุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่าง สม่าเสมอ เปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เก่า เสื่อมสภาพ หรือชารุด ความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานที่ทางาน กระทรวงแรงงาน กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดาเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. ๒๕๕๘ - ข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการ ทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า - จัดให้มีการฝึกอบรมให้กับลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าให้มีความรู้ความเข้าใจ และ ทักษะที่จาเป็นในการทางานอย่างปลอดภัยตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกาหนด - จัดให้มีและเก็บรักษาแผนผังวงจรไฟฟ้าที่ติดตั้งภายในสถานประกอบกิจการทั้งหมดซึ่งได้รับ การรับรองจากวิศวกรหรือการไฟฟ้าประจาท้องถิ่นไว้ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจ สอบ หากมีการแก้ไขเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมต้องดาเนินการแก้ไขแผนผังนั้นให้ ถูกต้อง - ฯลฯ ความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานที่ทางาน การจัดสภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าให้มีความปลอดภัย 1.1 พิจารณาแหล่งจ่ายไฟ 8 2.2 ปลดกระแสโหลด เปิดสวิตช์แยกวงจร 3 ตรวจสอบด้วยสายตา / withdrawn ขั้นตอน 4.4 Release พลังงานสะสมทางไฟฟ้า 5.5 Release or block พลังงานสะสมทางกล 6.6 ล็อคและแขวนป้าย 7.7 ทดสอบวงจร 8.8 ต่อลงดิน การจัดสภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าให้มีความปลอดภัย ขั้นตอน 1 พิจารณาแหล่งจ่ายไฟ การจัดสภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าให้มีความปลอดภัย ขั้นตอน 2 ปลดกระแสโหลด เปิดสวิตช์แยกวงจร การจัดสภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าให้มีความปลอดภัย ขั้นตอน 3 ตรวจสอบด้วยสายตา / withdrawn การจัดสภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าให้มีความปลอดภัย ขั้นตอน 4 Release พลังงานสะสมทางไฟฟ้า การจัดสภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าให้มีความปลอดภัย ขั้นตอน 5 Release or block พลังงานสะสมทางกล การจัดสภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าให้มีความปลอดภัย ขั้นตอน 6 ล็อคและแขวนป้าย การจัดสภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าให้มีความปลอดภัย ขั้นตอน 7 ทดสอบวงจร การจัดสภาพการทางานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าให้มีความปลอดภัย ขั้นตอน 8 ต่อลงดิน ตัวอย่างข้อกาหนดในการทางานเกี่ยวกับฟ้าแรงต่า ตัวอย่างข้อกาหนดในการทางานเกี่ยวกับฟ้าแรงต่า ตัวอย่างข้อกาหนดในการทางานเกี่ยวกับฟ้าแรงต่า KYT (Kiken Yoshi Training) KYT คือ วิธีการวิเคราะห์หรือคาดการณ์ถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทางาน พร้อมทั้งกาหนดมาตรการ หรือวิธีการจัดการอันตรายเหล่านั้น เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัย KYT เป็นเครื่องมือหรือเทคนิคในการวิเคราะห์ความปลอดภัยที่คิดค้นมา จากประเทศญี่ปุ่น โดยคาว่า KYTเป็นตัวย่อมาจากภาษาญี่ปุ่นซึ่งมีความหมาย ดังต่อไปนี้ K (Kiken) หมายถึง อันตราย Y (Yoshi) หมายถึง การวิเคราะห์ คาดการณ์ หรือทานายล่วงหน้า T (Trainning) หมายถึง การฝึกอบรม KYT (Kiken Yoshi Training) หัวใจสาคัญของ KYT มี 4 ประการ คือ 1. ปลูกจิตสานึก ด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ให้ปฏิบัติงานด้วยความ ระมัดระวัง 2. คิด พิจารณาก่อนที่จะทางานก่อนทุกครั้ง ว่าสามารถป้องกันอันตายที่อาจ เกิดขึ้นได้อย่างไร 3. อุบัติเหตุต้องเป็นศูนย์ ให้คามั่นสัญญา หรือปฏิญาณตน ของผู้ปฏิบัติงานก่อน ลงมือปฏบัติงานทุกครั้ง 4. เตือนตนเอง ก่อนลงมือทางานทุกอย่างต้องพร้อม และปลอดภัยต่อการทางาน จึงเริ่มทางานได้ KYT (Kiken Yoshi Training) ❖ 4 ขั้นตอนการทา KYT 1. เพื่อหาอันตายที่มีอยู่ในการทางาน 2. เรียงลาดับความสาคัญของอันตรายแต่ละอย่าง 3. มาตรการป้องกัน ควบคุม และแก้ใขให้ดีที่สุด 4. เลือกมาตรการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขที่ดีที่สุด เราจะใส่ชุดแบบไหนไปปฏิบัติงาน ? อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล Thank you

Use Quizgecko on...
Browser
Browser