หน่วยที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม PDF
Document Details
Uploaded by RapturousEuphonium1561
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
อาจารย์ ดร.แววบุญ แย้มแสงสังข์
Tags
Summary
เอกสารการสอนหน่วยที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศ, ประชากรมนุษย์, และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม. เน้นการพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีกับธรรมชาติ.
Full Transcript
หน่วยที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ธ มส อาจารย์ ดร.แววบุญ แย้มแสงสังข...
หน่วยที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ธ มส อาจารย์ ดร.แววบุญ แย้มแสงสังข์ ม ธ มส ชื่อ อาจารย์ ดร.แววบุญ แย้มแสงสังข์ วุฒิ วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น วท.ม. (เคมีประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Ph.D. in Environmental Technology The Joint Graduate School of สธ Energy and Environment, TH ตำแหน่ง อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่เขียน หน่วยที่ 2 ม 2-2 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ธ แผนการสอนประจาหน่ วย ชุดวิชา มส วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ม หน่ วยที่ 2 ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม ตอนที่ 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับสิง่ แวดลอ้ ม 2.2 การอยู่กบั ธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน แนวคิด 1. สิง่ แวดลอ้ มคือ สิง่ ต่างๆ ทีอ่ ยู่รอบตัวมนุ ษย์ทงั้ ทีม่ ลี กั ษณะทางกายภาพและชีวภาพ ทัง้ เกิดขึ้นได้เองตาม ธรรมชาติและมนุ ษย์สร้างขึ้น ระบบนิเวศหมายถึง ความสัมพันธ์ท่เี กี่ยวขอ้ งกันอย่างเป็ นระบบของกลุ่ม ธ สิ่งมีชีวิตทัง้ พืช และสัตว์ และกลุ่ ม สิ่งไม่มีชีวิต การค้นพบทางวิทยาศาสตร์มีส่วนทาให้อตั ราการตาย ลดลงและอัตราการเกิด เพิ่ม ขึ้น โดยเขตที่มีประชากรหนาแน่ น เป็ น บริ เวณที่มีปจั จัย ที่เอื้อต่ อการตัง้ มส ถิน่ ฐาน 2. แนวทางการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักวิทยาศาสตร์หมายถึง การใช้ส่งิ แวดลอ้ มอย่างฉลาด ไม่ให้เกิดพิษภัยต่อสังคมและดารงสภาพเดิมของสิ่งแวดลอ้ มไว้ รวมทัง้ หาทางกาจัดและป้ องกันมลพิษ สิ่งแวดล อ้ ม แนวทางการอนุ รกั ษ์ท รัพยากรธรรมชาติตามแนววิถีพุทธมี 2 ขัน้ ตอน คือ ขัน้ ที่ 1 การ แก้ปญ ั หาต้องดาเนินการแบบบูรณาการและเป็ นองค์รวมเพือ่ ให้เกิดภาวะสมดุล และขัน้ ที่ 2 การกาหนด ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคนด้วยการปรับเปลีย่ นทัศนคติต่อธรรมชาติ การรู จ้ กั ความพอดีในการบริโภค และการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ วัตถุประสงค์ เมือ่ ศึกษาหน่ วยที่ 2 จบแลว้ นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับสิง่ แวดลอ้ มได้ 2. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการอยู่กบั ธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน ได้ สธ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-3 ธ กิจกรรมระหว่ างเรียน มส ม 1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่ วยที่ 2 2. ศึกษาเอกสารการสอนตอนที่ 2.1-2.2 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายในเอกสารการสอน 4. ชมรายการโทรทัศน์ 5. ชมรายการสอนเสริมผ่านทางอินเทอร์เน็ต 6. ชมดีวดี กี ารสอนประกอบชุดวิชา 7. ทาแบบประเมินผลตนเองหลังเรียนหน่ วยที่ 2 สื่ อการสอน 1. เอกสารการสอน 2. แบบฝึ กปฏิบตั ิ 3. 4. ธ สือ่ ดีวดี ปี ระกอบชุดวิชา รายการสอนทางโทรทัศน์ มส 5. การสอนเสริมทางอินเทอร์เน็ต การประเมินผล 1. ประเมินผลจากแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ประเมินผลจากกิจกรรมและแนวตอบท้ายเรื่อง 3. ประเมินผลจากการประเมินผล/กิจกรรมในบทเรียน e-learning (ถ้ามี) 4. ประเมินผลจากการสอบไล่ประจาภาคการศึกษา เมือ่ อ่านแผนการสอนแล้ว ขอให้ ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน หน่ วยที่ 2 ในแบบฝึ กปฏิบตั ิ แล้วจึงศึกษาเอกสารการสอนต่ อไป สธ ม 2-4 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ตอนที่ 2.1 แนวคิดเกีย่ วกับสิ่ งแวดล้ อม ธ มส ม โปรดอ่านหัวเรื่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที่ 2.1 แลว้ จึงศึกษารายละเอียดต่อไป หัวเรื่อง 2.1.1 สิง่ แวดลอ้ มและระบบนิเวศ 2.1.2 ประชากรมนุ ษย์และการตัง้ ถิน่ ฐาน 2.1.3 ความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม แนวคิด 1. สิง่ แวดลอ้ มคือ สิง่ ต่างๆ ทีอ่ ยู่รอบตัวมนุ ษย์ทงั้ ทีม่ ลี กั ษณะทางกายภาพและชีวภาพ ทัง้ เกิดขึ้นได้ เองตามธรรมชาติและมนุ ษย์สร้างขึ้น ระบบนิเวศหมายถึง ความสัมพันธ์ท่เี กี่ยวขอ้ งกันอย่างเป็ น ระบบของกลุ่มสิง่ มีชีวติ ทัง้ พืชและสัตว์ และกลุ่มสิง่ ไม่มชี ีวติ ธ 2. การค้นพบทางวิทยาศาสตร์มสี ่วนทาให้อตั ราการตายลดลงและอัตราการเกิดเพิ่ม ขึ้น โดยเขตที่มี ประชากรหนาแน่ นเป็ นบริเวณที่มปี จั จัยทีเ่ อื้อต่อการตัง้ ถิน่ ฐาน มส 3. สิ่งมีชีวติ มีความสัมพันธ์กบั สิ่งแวดลอ้ มในหลายรู ปแบบ สิ่งแวดลอ้ มให้ปจั จัยในการดารงชีวติ กาหนดการตัง้ ถิ่น ฐาน อาชีพ วัฒนธรรม และการเมือง มนุ ษย์ทาให้ส่ิงแวดล อ้ มเป็ น พิษและ ขาดแคลน วัตถุประสงค์ เมือ่ ศึกษาตอนที่ 2.1 จบแลว้ นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายความหมายและแบ่งประเภทของสิง่ แวดลอ้ มและระบบนิเวศได้ 2. อธิบายแนวโน้มประชากรมนุ ษย์และการตัง้ ถิน่ ฐานของมนุ ษย์ได้ 3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ มได้ สธ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-5 เรื่องที่ 2.1.1 สิ่ งแวดล้ อมและระบบนิเวศ ธ มส ม สรรพสิง่ ทีอ่ ยู่รอบตัวเราทัง้ ทีม่ ชี ีวติ และไม่มชี ีวติ ทัง้ สิง่ ทีม่ อี ยู่ตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุ ษย์สร้างขึ้น สามารถ จาแนกได้หลายรูปแบบ โดยทัวไปสิ ่ ง่ แวดลอ้ มครอบคลุมถึงสิง่ ทีเ่ ป็ นรูปธรรมและนามธรรม สิ่ง แวดลอ้ มทางรู ปธรรม คือ สิ่งที่สามารถจับต้องและมองเห็ นได้ ส่วนสิ่งแวดลอ้ มทางนามธรรมคือ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และความเชื่อต่างๆ สิง่ แวดลอ้ มเป็ นสิ่งสาคัญต่อการดารงชีวติ ของมนุ ษย์ ทุกคนจึงต้องช่วยกันดูแลรักษาเพือ่ สืบทอด สู่ลูกหลานสืบไป ความหมายของสิ่ งแวดล้อม คาว่า สิ่ งแวดล้ อม อาจมีความหมายที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กบั พื้นฐานความรู ้ ประสบการณ์ และระดับการมี ส่วนร่ วมของแต่ละบุคคล พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2535 ได้บญ ั ญัติ ความหมายของคาว่า สิ่ งแวดล้ อม ไวด้ งั นี้ สิง่ แวดลอ้ มคือ สิง่ ต่างๆ ทีม่ ลี กั ษณะทางกายภาพและชีวภาพ ที่อยู่รอบตัว ธ มนุ ษย์ ซึ่งเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุ ษย์ได้ทาขึ้น สิ่งแวดลอ้ มทุกประเภทจะมีสมบัติเฉพาะตัวที่เห็น ได้ชดั ดังนี้ มส 1. สิ่ งแวดล้ อ มมีความเป็ นเอกลั ก ษณ์ ที่โดดเด่ นเฉพาะตัว กล่า วคื อ เมื่อ พบเห็ น สิ่ง แวดล อ้ มใดๆ จะมี ลักษณะเฉพาะทีท่ าให้สามารถระบุได้ทนั ทีว่าสิง่ นัน้ คืออะไร เช่น ภูเขา ทะเล ช้าง ม้า ร้านค้า เป็ นต้น 2. สิ่ งแวดล้ อมไม่ อยู่โดดเดี่ยว ต้ องมีสิ่งแวดล้ อมอื่นอยู่ร่วมด้ วยเสมอ กล่าวคือ สิ่งแวดล อ้ มไม่ สามารถ แยกกันอยู่อย่างอิสระได้ตอ้ งพึ่งพาอาศัยกันเสมอ เช่ น ปลาต้องอาศั ยอยู่ในนา้ ต้นไม้ตอ้ งอาศัยดิน แม่คา้ ต้องขาย ของในตลาดสด เป็ นต้น 3. สิ่งแวดล้ อมอยู่ร่วมกันเป็ นกลุ่มเรี ยกว่ า ระบบนิเวศหรื อระบบสิ่ งแวดล้ อม โดยมีรูปแบบความสัมพันธ์ อย่างเป็ นระบบเฉพาะตัว เช่น ระบบนิเวศป่ าชายเลน ประกอบด้วยกลุ่มของสิ่งมีชีวติ เช่ น ปลา กุง้ หอย ต้น โกงกาง กลุ่มของสิง่ ไม่มชี ีวติ เช่น ดิน หิน นา้ อากาศ มาอยู่ร่วมกัน เป็ นต้น 4. สิ่งแวดล้ อมมีความสัมพันธ์ กันแบบลูกโซ่ กล่าวคือ หากมีการกระทาใดๆ ต่อสิ่งแวดลอ้ มหนึ่ง ย่อมจะ เกิดผลกระทบต่ ออีกสิ่งแวดลอ้ มหนึ่งเสมอ เช่ น หากทิ้งขยะลงในแม่นา้ ลาคลอง จะทาให้นา้ เน่ าเสี ย ส่งกลิ่นเหม็น พืชนา้ ตาย สัตว์นา้ ตาย มนุ ษย์ไม่มปี ลาบริโภค เป็ นต้น 5. สิ่งแวดล้ อมประเภทหนึ่งมีความต้ องการสิ่งแวดล้ อมประเภทอื่นๆ เสมอ เช่ น หมีแพนด้าต้องกินใบไผ่ สธ คนไทยต้องกินขา้ ว ต้นไม้ตอ้ งพึง่ ดิน ผูป้ ่ วยต้องพึง่ แพทย์ เป็ นต้น 6. สิ่งแวดล้ อมแต่ ละประเภทมีความทนทานต่ อการกระทาแตกต่ างกัน เช่น ดินเหนียวทนทานต่อการชะลา้ ง โดยนา้ ได้ดกี ว่าดินทราย พืชใบเลี้ยงคู่ทนทานต่อกระแสลมได้ดกี ว่าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เป็ นต้น ม 2-6 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร 7. สิ่งแวดล้ อมเปลี่ยนแปลงตามเวลา กล่าวคือ สิ่งแวดลอ้ มต้องเปลีย่ นแปลงเมื่อเวลาผ่านไป อาจเป็ นการ เปลี่ย นแปลงแบบชัว่ คราวหรือถาวรก็ได้ เช่ น การเปลี่ย นแปลงของกระแสนา้ การเติบโตของมนุ ษย์ การที่โลกมี ธ อุณภูมสิ ูงขึ้น เป็ นต้น มส ประเภทของสิ่ งแวดล้อม ม หากใช้แหล่งกาเนิดของสิง่ แวดลอ้ มเป็ นเกณฑ์ในการจาแนก สามารถจาแนกสิง่ แวดลอ้ มออกเป็ น 2 ประเภท คือ สิง่ แวดลอ้ มทีเ่ กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มที่มนุ ษย์สร้างขึ้น 1. สิ่งแวดล้ อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (natural environment) คือ ทุกสิ่งทุกอย่ างที่อยู่รอบตัวมนุ ษย์ และเป็ นสิง่ ทีเ่ กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยสิง่ ทีเ่ กิดขึ้นเองตามธรรมชาติลว้ นมีลกั ษณะเฉพาะทีแ่ ตกต่างกัน โดยทัว่ ไป สิง่ แวดลอ้ มทีเ่ กิดขึ้นเองตามธรรมชาติแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ สิง่ แวดลอ้ มทีม่ ชี ีวติ และสิง่ แวดลอ้ มที่ไม่มชี ีวติ 1.1 สิ่ งแวดล้ อมที่ มีชีวิต หรื อสิ่ งแวดล้ อมทางชี วภาพ (biotic environment) คือ สิ่งที่เกิด ขึ้น ตาม ธรรมชาติ และมีล กั ษณะและคุ ณ สมบัติเฉพาะตัวของสิ่ง มีชีวิต ตัว อย่ า งของสิ่งแวดล อ้ มที่มีชีวิต เช่ น พืช สัต ว์ และมนุ ษย์ เป็ นต้น ตัวอย่างสิง่ แวดลอ้ มทีเ่ กิดขึ้นเองโดยธรรมชาติทม่ี ชี ีวติ แสดงในภาพที่ 2.1 ธ มส ก. ลูกช้าง ข. ป่ าไม ้ ภาพที่ 2.1 ตัวอย่ างสิ่งแวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ เองโดยธรรมชาติทมี่ ชี ีวติ ที่มา: http://www.news.com.au ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 http://www.siamzip.com ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 สธ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-7 1.2 สิ่ งแวดล้ อมที่ ไม่ มีชีวิต หรื อสิ่ งแวดล้ อมทางกายภาพ (abiotic environment) คือ สิ่งที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติท่ไี ม่มีชีวติ อาจมองเห็นหรือไม่ เห็นก็ได้ สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพบางชนิดใช้ระยะเวลาในการเกิดยาวนาน ธ มากและอาจสู ญสิ้นไปหากใช้อย่ างไม่ร ะมัดระวัง ได้แก่ แร่ ธาตุ แร่ เชื้อเพลิง สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพบางชนิดเป็ น สิ่งแวดลอ้ มที่ปรากฏให้เห็น ได้รูส้ กึ ได้สมั ผัส ว่ามีมากมายไม่มวี นั หมดไปจากโลก ได้แก่ นา้ ดิน หิน อากาศ เสียง มส ม แสงสว่าง ความร้อน เป็ นต้น ตัวอย่างสิง่ แวดลอ้ มทีเ่ กิดขึ้นเองโดยธรรมชาติท่ีไม่มชี ีวติ แสดงในภาพที่ 2.2 ก. หิน ข. ทราย ภาพที่ 2.2 ตัวอย่ างสิ่งแวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ เองโดยธรรมชาติทไี่ ม่มชี ีวติ ธ ที่มา: http://bme240.eng.uci.edu ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 http://mi9.com retrieve ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 มส 2. สิ่งแวดล้ อมที่มนุษย์ สร้ างขึ้น (man-made environment) สิ่งแวดลอ้ มประเภทนี้มนุ ษย์อาจสร้า งขึ้นโดย ตัง้ ใจหรือไม่ตงั้ ใจ มีทงั้ สิ่งที่มองเห็น จับต้องได้ และสิ่งที่ม องไม่ เห็นหรือไม่ สามารถจับต้อง มัก เป็ นสิ่งแวดลอ้ มที่ มนุ ษย์สร้างขึ้นเพื่อสนองความต้องการของตนเองหรืออาจสร้างขึ้นด้วยเหตุจาเป็ นบางประการ สิ่งแวดลอ้ มที่มนุ ษย์ สร้างขึ้นมีทงั้ สิ่งที่ดีท่ีช่วยให้มนุ ษย์สามารถดารงชีวติ อยู่ได้อย่างสุ ขสบายหรือทาให้มนุ ษย์มคี ุณภาพชีวติ ที่ดีข้ นึ และ สิ่งที่ไม่ดีท่ที าให้ความเป็ นอยู่ ของมนุ ษย์แย่ ลง ทาให้มนุ ษย์ได้รบั ความเดือดร้อน ต้องสู ญเสียชีวิ ตหรือส่วนใดส่วน หนึ่งของร่างกายหรือสุขภาพจิตเสือ่ มโทรมลง สิ่งแวดลอ้ มที่มนุ ษย์สร้างขึ้น แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ สิ่งแวดลอ้ ม ทางกายภาพ และสิง่ แวดลอ้ มทางสังคม โดยพิจารณาจากความเป็ นรูปธรรมหรือนามธรรมของสิง่ นัน้ ๆ 2.1 สิ่ งแวดล้ อมทางกายภาพ (physical environment) คือ สิ่งแวดล อ้ มที่ม องเห็น จับต้องได้ ในอดีตมนุ ษย์สร้างสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพเพื่อตอบสนองความต้องการขัน้ พื้นฐานของการดารงชีวติ เช่ น อาหาร เครื่องนุ่ งห่ม ทีอ่ ยู่อาศัย และยารักษาโรค และยังสร้างขึ้นเพือ่ อานวยความสะดวกในการดารงชีวติ แต่ปจั จุบนั มนุ ษย์ สธ สร้างสิ่งต่ างๆ เพื่อสนองความต้องการอันไร้ขอบเขต ซึ่งเป็ นการสร้างที่เกินความจาเป็ น และนาความเสียหายมาสู่ สิ่งแวดลอ้ มอย่ างต่ อเนื่อ ง เช่ น การสร้างบ้านพักตากอากาศ หรือ การตัดถนนผ่านพื้น ที่อุทยานแห่งชาติ เป็ นต้น ม ตัวอย่างสิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพแสดงในภาพที่ 2.3 2-8 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ธ มส ม ก. อาหาร ข. ยารักษาโรค ภาพที่ 2.3 สิ่งแวดล้ อมทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้ ที่มา: http://www.livingresort.com ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 http://icare.kapook.com ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 ธ 2.2 สิ่ งแวดล้ อมทางสั งคม (social environment) คือ สิ่งแวดลอ้ มที่เป็ นนามธรรมที่มนุ ษย์สร้างขึ้น เพื่อให้การอยู่ ร่วมกันในสังคมเป็ นไปอย่างมีระเบียบเรียบร้อย เช่ น ระเบียบ ขอ้ บังคับ กฎหมาย ประเพณี เป็ นต้น มส สิ่งแวดลอ้ มทางสังคมบางอย่างสร้างขึ้นเพื่อเป็ นเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจ เช่ น ศาสนา จารีต พิธีกรรม ความเชื่อ สิ่งแวดล อ้ มทางสังคมบางอย่ างสร้างขึ้นเพื่อส่ งเสริมความเจริญให้เ กิดขึ้นแก่ มนุ ษย์ เช่ น การศึ กษา การวิจยั การ สัมมนา และสิง่ แวดลอ้ มทางสังคมบางอย่างสร้างขึ้นโดยความตัง้ ใจและไม่ตงั้ ใจ เช่น การช่วยเหลือผูอ้ ่นื ที่ได้รบั ความ เดือดร้อน การทะเลาะ การถกเถียงกัน การติดสารเสพติด เป็ นต้น ตัวอย่างสิง่ แวดลอ้ มทางสังคมแสดงในภาพที่ 2.4 สธ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-9 ธ มส ม ก. ประเพณีตกั บาตร ข. พิธฮี จั ญ์ ภาพที่ 2.4 สิ่งแวดล้ อมทางสังคม ที่มา: http://www.heedisarn.com ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 http://sor-por-chor.blogspot.com ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 การแบ่งประเภทของสิง่ แวดลอ้ ม สรุปได้ดงั ในแผนภาพที่ 2.5 ธ สิง่ แวดล ้อม มส สิง่ แวดล ้อม สิง่ แวดล ้อม ทีเ่ กิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ ทีม่ นุษย์สร้างขึ้น สิง่ แวดล ้อม สิง่ แวดล ้อม สิง่ แวดล ้อม สิง่ แวดล ้อม ทีม่ ชี ีวติ ทีไ่ ม่มชี วี ติ ทางกายภาพ ทางสังคม ภาพที่ 2.5 แผนภาพการแบ่ งประเภทของสิ่งแวดล้อม สธ ม 2-10 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ความหมายของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ (Ecosystem) หมายถึง ความสัมพันธ์เกี่ยวขอ้ งกันอย่ างเป็ นระบบของกลุ่มสิ่งมีชีวติ ทัง้ พืช ธ สัตว์ หรือจุลนิ ทรียท์ อ่ี าศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน และกลุ่มสิง่ ไม่มชี ีวติ การศึ ก ษาเรื่อ งระบบนิ เวศเป็ น สิ่งที่ส าคัญ เพราะเป็ น ระบบที่ป ระกอบไปด้ว ยสิ่ง มีชี วิต หลายชนิ ด มีก าร มส แลกเปลี่ยนสสาร แร่ ธาตุ และพลังงานกับสิ่งแวดลอ้ มโดยผ่านห่วงโซ่อาหาร (food chain) มีการกินเป็ นทอดๆ ม ทาให้มีการหมุนเวียนสสารและแร่ ธาตุไปใช้ในระบบจนเกิด เป็ น วัฏจักร และมีการถ่ายทอดพลังงานเป็ น ช่ วงๆ ใน ห่วงโซ่อาหารอีกด้วย จากแบบจาลองระบบนิเวศขนาดเล็ก แสดงในภาพที่ 2.6 สิ่งมีชีวติ คือ ต้นไม้ ไส้เดือน และ หอยทาก อาศัยอยู่ร่วมกัน โดยอาศัยปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวติ ร่ วมกัน คือ อากาศ ดิน นา้ และมีการถ่ายเทพลัง จากแหล่งพลังงานภายนอกเขา้ สู่ระบบ และปล่อยความร้อนออกสู่ภายนอกซึง่ ทาให้ระบบนิเวศนี้ดารงอยู่ได้ วัฏจักรเคมี การถ่ายเทพลังงาน ธ พลังงานแสง พลังงานเคมี ความร้อน มส ภาพที่ 2.6 แบบจาลองระบบนิเวศขนาดเล็ก ที่มา: http://terra.dadeschools.net/books ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 องค์ประกอบของระบบนิเวศ ระบบนิเวศมีองค์ประกอบสาคัญ 2 ประการ ได้แก่ องค์ประกอบทีม่ ชี ีวติ และองค์ประกอบทีไ่ ม่มชี ีวติ 1. องค์ ประกอบที่มีชีวิตในระบบนิเวศ (biotic component) แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ ผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภค และ ผูย้ ่อยสลาย 1.1 ผู้ผลิต (producer หรื อ autotrophic) คือ สิ่งมีชีวติ ที่สร้างอาหารได้เองโดยใช้สารอนินทรีย ์ ได้แก่ พืชทีม่ คี ลอโรฟิ ลล์ สาหร่ายทะเล เป็ นต้น 1.2 ผู้บริ โภค (consumer) คือ สิ่งมีชีวติ ที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง (heterotroph) มักเป็ นสัตว์ท่ี สธ กินสิง่ มีชีวติ อืน่ เป็ นอาหาร เช่น สิงโต ช้าง ม้า วัว ควาย เป็ นต้น ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-11 1.3 ผู้ย่อยสลาย (decomposer) คือ สิ่งมีชีวติ ขนาดเล็กที่สร้างอาหารเองไม่ได้ ทาหน้าที่ย่อยสลาย ซากสิง่ มีชีวติ ทีต่ ายแลว้ ให้กลายเป็ นสารประกอบโมเลกุลเล็กในรูปของสารอาหาร เพือ่ ให้ผูผ้ ลิตนาไปใช้ได้อกี ครัง้ เช่ น ธ เห็ด รา แบคทีเรีย องค์ประกอบทีม่ ชี ีวติ ในระบบนิเวศแสดงในภาพที่ 2.7 มส ม ก. ผู ้ผลิต ข. ผู ้ย่อยสลายซาก ภาพที่ 2.7 องค์ ประกอบทีม่ ชี ีวติ ในระบบนิเวศ ธ ที่มา: http://ieshermanosbilingual.blogspot.com ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 http://alexalveo18.blogspot.com ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 มส 2. องค์ ประกอบที่ไม่ มีชีวิตในระบบนิเวศ (abiotic component) แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ สารอนินทรีย ์ สารอินทรีย ์ และสภาพภูมอิ ากาศ 2.1 สารอนิ นทรี ย์ (inorganic substance) คือ แร่ ธาตุและสารอนินทรียซ์ ่งึ เป็ นองค์ประกอบสาคัญใน เซลล์ของสิ่งมีชีวติ เช่ น ออกซิเจน คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และนา้ เป็ นต้น โดยสารเหล่านี้มี การหมุนเวียนใช้ในระบบนิเวศอย่างต่อเนื่อง 2.2 สารอิ นทรี ย์ (organic substance) คือ สารอิน ทรียท์ ่จี าเป็ นต่ อ การดารงชีวติ ของสิ่งมีชีวติ เช่ น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และกรดนิวคลีอกิ เป็ นต้น 2.3 สภาพภูมิอากาศ (climate regime) คือ ปัจจัยทางกายภาพที่มอี ทิ ธิพลต่อสิง่ แวดลอ้ ม เช่ น ความชื้น อากาศ อุณหภูมิ แสง และพื้นผิวทีอ่ ยู่อาศัย เป็ นต้น ในระบบนิเวศมีกระบวนการที่สาคัญ 2 ประการ คือ การไหลของพลังงานและการหมุนเวียนของสารเคมี การไหลของพลังงาน (energy flow) เป็ นการส่งผ่านของพลังงานในองค์ประกอบของระบบนิเวศ ส่วนการหมุนเวียน ของสารเคมี (chemical cycling) เป็ นการใช้ประโยชน์และนากลับมาใช้ใหม่ของแร่ ธาตุภายในระบบนิเวศ เช่ น สธ คาร์บอนและไนโตรเจน โดยมีการหมุนเวียนอย่างต่อเนื่องในระบบนิเวศ ม 2-12 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ชนิดของระบบนิเวศ การจาแนกระบบนิเวศทาได้หลายรู ปแบบขึ้นอยู่กบั เกณฑ์ท่ีนามาใช้ในการจาแนก ในที่น้ ีขอกล่าวถึงเกณฑ์ ธ ที่ใช้ในการจาแนกระบบนิเวศ 3 เกณฑ์ คือ การจาแนกตามการถ่ายทอดพลังงาน การจาแนกตามแหล่งที่อยู่ ทาง ธรรมชาติ และการจาแนกตามเทคโนโลยีของมนุ ษย์ 1. การจาแนกระบบนิเวศตามการถ่ ายทอดพลังงาน แบ่งเป็ น มส ม 1.1 ระบบนิ เวศอิ สระ (isolate ecosystem) เป็ นระบบนิเวศที่แยกตัวออกไปไม่สมั พันธ์กบั ระบบนิเวศ อืน่ ๆ ไม่พบในธรรมชาติ 1.2 ระบบนิ เวศปิ ด (closed ecosystem) เป็ นระบบนิเวศที่มกี ารถ่ายทอดพลังงานภายในระบบแต่ไม่มี การถ่ายทอดพลังงานระหว่างระบบนิเวศอื่นๆ ในบริเวณใกลเ้ คียง ได้แก่ ระบบนิเวศที่มนุ ษย์สร้างในที่จากัด และ ปิ ดผนึกแน่ น เช่น ระบบนิเวศในตูป้ ลา ระบบนิเวศในสวนถาด เป็ นต้น 1.3 ระบบนิ เวศเปิ ด (opened ecosystem) เป็ นระบบนิเวศที่มีการถ่ายทอดพลังงานและสารอาหาร ระหว่างภายในและภายนอกระบบนิเวศนัน้ ๆ พบในธรรมชาติทวั ่ ไป เช่ น ระบบนิเวศป่ าชายเลน ระบบนิเวศป่ าดงดิ บ ระบบนิเวศนา้ เค็ม เป็ นต้น 2. การจาแนกระบบนิเวศตามแหล่ งที่อยู่ทางธรรมชาติ แบ่งเป็ น 2.1 ระบบนิ เวศบนบก (land ecosystem) คือ ระบบนิเวศที่ปรากฏอยู่ บนพื้น แผ่นดิน ซึ่งเป็ นภูเขา ธ ทีร่ าบสูง ทีร่ าบ หรือหุบเขา โดยบางแห่งได้รบั การอนุ รกั ษ์ไว้ตามกฎหมาย เช่ น อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน ป่ าสงวน แห่งชาติ เป็ นต้น 2.2 ระบบนิ เวศชายทะเล (marine ecosystem) คือ ระบบนิเวศที่ปรากฏอยู่ตามบริเวณชายฝัง่ ทะเล มส และในท้องทะเล ได้แก่ เกาะ สันดอน หาดปะการัง ปะการังใต้นา้ และสันทราย เป็ นต้น 2.3 ระบบนิ เวศพื น้ ที่ ช่ ุมนา้ (wetland ecosystem) คือ ที่ลุ่ม ที่ราบลุ่ม ที่ลุ่มชื้นแฉะ พรุ แหล่งนา้ ทัง้ ที่ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและทีม่ นุ ษย์สร้างขึ้น ทัง้ ทีม่ นี า้ ขังหรือท่วมอยู่ถาวร และชัว่ ครัง้ ชัว่ คราว ทัง้ ที่เป็ นแหล่งนา้ นิ่ง และนา้ ไหล ทัง้ ทีเ่ ป็ นนา้ จืด นา้ กร่อย และนา้ เค็ม รวมไปถึงทีช่ ายฝัง่ ทะเลและที่ในทะเลซึ่งเมื่อนา้ ลดลงตา่ สุ ด มีความ ลึกของระดับนา้ ไม่เกิน 6 เมตร 3. การจาแนกระบบนิเวศตามเทคโนโลยีของมนุษย์ แบ่งเป็ น 3.1 ระบบนิ เวศอุตสาหกรรม (industrial ecosystem) คือ ระบบนิเวศที่มนุ ษย์ใช้เทคโนโลยีพฒ ั นาขึ้น โดยมีการนาพลังงานสะสมในธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ผสมผสานกับการใช้เทคโนโลยี จึงเป็ นพลังงานที่คิดค้นโดยใช้ เทคโนโลยีของมนุ ษย์ เช่น นา้ มันเชื้อเพลิง พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานไบโอดีเซล เป็ นต้น 3.2 ระบบนิ เวศเกษตร (agricultural ecosystem) คือ ระบบนิเวศที่เกิดจากมนุ ษย์พฒ ั นาระบบนิเวศ ทางธรรมชาติเพือ่ ผลประโยชน์ดา้ นการดารงชีพโดยใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร 3.3 ระบบนิ เวศเมื อง (urban ecosystem) คือ ระบบนิ เวศที่พ่งึ แหล่งพลังงานเพิ่ม เติม เช่ น นา้ มัน สธ เชื้อเพลิง และพลังงานนิวเคลียร์ มักเป็ นระบบนิเวศทีม่ นุ ษย์สร้างขึ้นมาใหม่ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-13 กิจกรรม 2.1.1 1. จงอธิ บายความหมายของสิ่ งแวดล้อม ธ 2. จงอธิ บายองค์ประกอบของระบบนิเวศ มส แนวตอบกิจกรรม 2.1.1 ม 1. สิ่ งแวดล้อมคือ สิ่ งต่างๆ ที่อยูร่ อบตัวมนุษย์ท้ งั ที่มีลกั ษณะทางกายภาพและชี วภาพ ทั้งเกิดขึ้นได้ เองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น 2. ระบบนิ เวศมี องค์ประกอบสาคัญ 2 ประการ ได้แก่ องค์ประกอบที่ มีชีวิตและองค์ประกอบที่ ไม่ มีชีวิ ต องค์ประกอบที่ มีชี วิตในระบบนิ เ วศแบ่ งเป็ น 3 ประเภท คื อ ผูผ้ ลิ ต ผูบ้ ริ โภค และผูย้ ่อยสลาย และองค์ ป ระกอบที่ ไ ม่ มี ชี วิ ต ในระบบนิ เ วศแบ่ ง เป็ น 3 ประเภท คื อ สารอนิ น ทรี ย์ สารอิ น ทรี ย ์ และ สภาพภูมิอากาศ เรื่องที่ 2.1.2 ธ มส ประชากรมนุษย์ และการตั้งถิ่นฐาน การทาความเขา้ ใจถึงปรากฏการณ์ทางประชากรมนุ ษย์เป็ นรากฐานสาคัญในการอยู่ร่วมกับสิ่งแวดลอ้ มอย่าง ยัง่ ยืน ประชากรมนุษย์ จากการศึ ก ษาการเพิ่ม จ านวนของมนุ ษย์พ บว่า ก่ อนปี พ.ศ. 2493 มีอ ตั ราการเพิ่ม ตา่ มาก แต่ หลัง จาก ปี พ.ศ. 2493 อัตราการเพิ่ม สู งขึ้น อย่ างรวดเร็ ว ดังภาพที่ 2.8 เพราะมนุ ษ ย์เริ่ ม มีก ารค้น พบทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะทางการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งเป็ นรากฐานสาคัญในการค้นคิดสิ่งต่างๆ เพื่อความอยู่ รอดและอานวย ความสะดวกต่อมนุ ษย์ ส่งผลให้อตั ราการตายลดลงและอัตราการเกิดเพิม่ สูงขึ้นอย่างมาก สธ ม 2-14 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ธ จานวนประชากร (หนึ่งพันล ้าน) 10 8 ปี พ.ศ. 2543 มส ม 6.1 พันล ้านคน ประเทศพัฒนาน้อยกว่า 6 4 2 0 ประเทศพัฒนามากกว่า ปี พ.ศ. 2293 2343 2393 2443 2493 2543 2593 2643 2693 ภาพที่ 2.8 การคาดคะเนการเพิม่ จานวนประชากรโลกปี พ.ศ. 2513-2563 ธ ที่มา: ดัดแปลงจาก http://practicalaction.org ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 มส การเพิ่มจานวนประชากรระหว่างกลุ่มประเทศพัฒนาแลว้ (more developed country) กับกลุ่มประเทศ กาลังพัฒนา (less developed country) แตกต่างกันดังนี้ 1. ประเทศที่พัฒนาแล้ วอัตราการเพิ่มประชากรค่ อนข้ างต่า จากการคาดคะเนประชากรในอนาคตพบว่า ประเทศเยอรมนี เดนมาร์ก ญี่ป่ นุ และสิงคโปร์ มีแนวโน้มอัตราการเพิ่มประชากรเป็ นลบ เนื่องจากประเทศเหล่านี้มี มาตรฐานการดารงชีวติ สูง การศึกษาดี ฐานะดี รายได้สูง และในแต่ละวันมีภาระงานมากมาย ตลอดจนการมีลูกต้อง คิดให้รอบคอบถึงการเลี้ยงดู การให้ก ารศึ กษา การวางแผนอนาคต และประชากรต่ างมีอาชีพของตนเอง รวมทัง้ มีก ารแต่ งงานน้อยลง กราฟทานายอัต ราการเกิด ของประชากร ช่ วงปี พ.ศ. 2548-2593 แสดงเป็ น แผนภูมิแ ท่ ง ในภาพที่ 2.9 สธ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-15 รัสเซีย ธ ประเทศทีพ่ ฒ ยุโรป ั นาแล ้วอืน่ ๆ อัตราการเกิดของประชากรโลก ในช่วง ปี พ.ศ. 2548-2593 มส จีน ม สหรัฐอเมริกา อินเดีย ประเทศทีพ่ ฒ ั นาน้อย ประเทศทีพ่ ฒั นาน้อยมาก -50 0 50 100 ร้อยละอัตราการเกิด ภาพที่ 2.9 แสดงอัตราการเกิดของประชากร ช่ วงปี พ.ศ. 2548-2593 ที่มา: http://www.bio.utexas.edu ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 ธ การที่อ ตั ราการเกิด ลดลงอาจทาให้เ กิด ปัญ หาขาดแคลนแรงงาน ค่ าแรงสู งขึ้น ทาให้ต น้ ทุน การผลิตสู ง เสียเปรียบการแข่งขันในตลาดโลก พบการอพยพเขา้ มาของแรงงานต่างชาติ และเกิดปัญหาสังคมตามมา มส ในกลุ่มประเทศที่พฒ ั นาแลว้ มักประสบปัญหาเกี่ยวกับประชากรที่มีอายุยืน ขึ้นเพราะความก้าวหน้าทางการ สาธารณสุข ความเขา้ ใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ การออกกาลังกายที่ถูกต้อง ในขณะที่อตั ราการเกิดของประชากร ลดลง 2. ประเทศกาลังพัฒนามีอัตราการเพิ่มประชากรสู งอย่ างต่ อเนื่อง จากการคาดคะเนประชากรในอนาคต พบว่ า ในประเทศก าลังพัฒนา เช่ น ประเทศแถบเอเชี ย และลาติน อเมริก า ยกเว้น ทวีป แอฟริ ก า มีอ ตั ราการเพิ่ม ประชากรสู งมาก อีก ทัง้ ประเทศดัง กล่า วไม่ ค่ อยมีศ ัก ยภาพในการเลี้ย งดู ประชากรและเป็ น ประเทศขนาดเล็ก มี ทรัพยากรธรรมชาติไม่มากนัก การเพิ่ม จ านวนประชากรสู ง ท าให้ตอ้ งแสวงหาพื้น ที่ทากิน มากขึ้น ทัง้ ยังมีค วามก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี รายได้จงึ ได้จากการขยายพื้นทีเ่ พือ่ เพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ซง่ึ ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดลอ้ มอย่างรุนแรง ในประเทศกาลังพัฒนาพบว่าวัยทีอ่ ยู่ในภาวะพึง่ พิงเป็ นวัยเด็กเนื่องมาจากอัตราการเกิดสู ง โดยลักษณะของ โครงสร้างประชากรเห็นได้ชดั เจนจากพีระมิดประชากร ดังภาพที่ 2.10 สธ ม 2-16 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล ้ว ประเทศกาลังพัฒนา ปี พ.ศ. 2538 ปี พ.ศ. 2568 ปี พ.ศ. 2538 ปี พ.ศ. 2568 ธ มส ม หนึ่งพันล ้าน (คน) หนึ่งพันล ้าน (คน) หนึ่งพันล ้าน (คน) ประชากร อายุ 45 ขึ้นไป อายุ 15-44 อายุนอ้ ยกว่า 15 ภาพที่ 2.10 พีระมิดประชากร ที่มา: http://www.zo.utexas.edu ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 ธ ที่ประเทศกาลังพัฒนามีอตั ราการเพิ่มประชากรเป็ น บวก โดยอัตราการเพิ่มประชากรสู ง มีฐานของพีระมิด กว้างเพราะมีประชากรวัยตา่ กว่า 19 ปี เป็ นจานวนมากเกือบครึ่งหนึ่งของคนทัง้ ประเทศและประชากรวัยชรามีไม่มาก มส นัก ประเทศทีอ่ ตั ราการเพิม่ ประชากรสูงจะมีภาระในการเลี้ยงดูประชากรก่อนวัยทางาน ขณะที่ประเทศที่พฒ ั นาแลว้ มีอตั ราการเพิ่มประชากรเป็ น ลบ ฐานของพีระมิดแคบเพราะมีอตั ราการเกิดตา่ กว่าอัตราการตาย และประชากรในวัยสู งอายุมีจานวนมากใกลเ้ คียงกับวัยเด็ก ปรากฏการณ์เช่ นนี้สร้างภาระให้กบั สังคมของประเทศเหล่านัน้ ประเทศที่มีอตั ราการเพิ่มประชากรลดลงจะประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานในอนาคต และมีภาระเลี้ยงดูคนวัยชรามากขึ้น การฉายภาพประชากรในอนาคตจึงเป็ นเรื่องสาคัญในการวางแผนกาลังคนเพื่อการพัฒนาสังคมของประเทศ ต่อไป การกระจายตัวของทรัพยากรมนุษย์ มนุ ษย์มคี วามสามารถในการเรียนรู แ้ ละพัฒนาตนเอง ในอดีตเมื่อมนุ ษย์พบกับ ปัญหาการขาดแคลนอาหาร และทรัพยากรมนุ ษย์ได้พยายามแก้ปญ ั หาโดยการย้ายถิ่นฐาน เพื่อหาบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่ออยู่ อาศัย ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการตัง้ ถิน่ ฐานมีรายละเอียดดังนี้ 1. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ อการตั้งถิ่นฐาน การตัง้ ถิ่นฐานของมนุ ษย์มีลกั ษณะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่ กบั ปัจจัย สธ ต่างๆ ดังนี้ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-17 1.1 ปั จจัยทางกายภาพ แบ่งได้เป็ น - โครงสร้างและระดับความสูงของพื้นที่ พบว่าเขตทีร่ าบมีความเหมาะสมทีจ่ ะตัง้ ถิน่ ฐานมากกว่า ธ เขตทีส่ ูงหรือภูเขา เนื่องจากเพาะปลูกได้สะดวก ดินอุดมสมบูรณ์ ปลูกพืชได้หลายชนิด - อากาศ เนื่องจากอากาศกาหนดลักษณะดินและพืชและวิถกี ารดารงชีวติ พบว่าประชาชนจะอยู่ มส กันหนาแน่ นในเขตทีม่ อี ากาศเหมาะสม ม - นา้ เป็ นปัจจัยสาคัญ ต่อการตัง้ ถิ่นฐานเพราะประชากรมีอาชีพทาเกษตรกรรมเป็ นหลัก ในบาง แห่งทีข่ าดฝนอาจหาแหล่งนา้ อืน่ ๆ มาใช้เพือ่ การเกษตร เช่น คลองชลประทาน นา้ บาดาล ปัจจัยทางกายภาพด้านโครงสร้างและระดับความสูงของพื้นที่แสดงในภาพที่ 2.11 ธ มส ก. ทีร่ าบ ข. ภูเขา ภาพที่ 2.11 โครงสร้ างและระดับความสู งของพืน้ ที่ ที่มา: http://www.learners.in.th ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 http://thaimisc.pukpik.com/ ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 1.2 ปั จจัยทางวัฒนธรรม - ภาษา เป็ นตัวแทนของลักษณะทางวัฒนธรรมที่สบื ทอดวัฒนธรรมดัง้ เดิมจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่ รุ่นต่อๆ ไป ภาษาอาจใช้เป็ นเครื่องวัดความแตกต่างของวัฒนธรรมได้ - ศาสนา เป็ น หลัก ที่ก าหนดวิถีชีวิต ในท้อ งถิ่น และการปฏิบตั ิตามหลัก ของศาสนาทาให้เกิ ด เอกลักษณ์ของชาตินนั้ ๆ - การเมือง มีผลต่อพื้นที่ทต่ี งั้ ถิน่ ฐาน โดยเฉพาะกฎหมายเกี่ยวกับทีด่ นิ ทากิน 1.3 ปั จจัยทางเศรษฐกิจ - การเพาะปลูก การตัง้ ถิน่ ฐานของมนุ ษย์แบบถาวรเริ่มขึ้นเมื่อมนุ ษย์รูจ้ กั เพราะปลูกด้วยตนเอง สธ การตัง้ ถิน่ ฐานแบบถาวรนี้ มีบทบาทต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอ้ มมาก ม 2-18 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร - การเลี้ยงสัตว์ ส่วนใหญ่ จะทาในพื้นที่ท่ไี ม่เหมาะสมต่ อการเพาะปลู ก การเลี้ยงสัตว์แบบอยู่ เป็ นทีจ่ ะไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติมากเท่ากับการเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อน - อุตสาหกรรม เป็ นการนาผลิตผลมาดัดแปลงหรือแปรสภาพให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ ธ ใช้เนื้อทีน่ อ้ ย แต่ใช้วตั ถุดบิ และเชื้อเพลิงจานวนมาก มีการใช้แรงงาน ทาให้เกิดการรวมกลุ่มคนจานวนมาก ลักษณะ มส ดังกล่าวนี้ทาให้เกิดชุมชนขึ้น ม รู ปแบบการกระจายประชากร การกระจายประชากรมี 3 รู ป แบบ คือ เขตประชากรน้อ ย เขตประชากรปานกลาง และเขตประชากร หนาแน่ น 1. เขตประชากรน้ อย คือ บริเวณที่ประชากรอาศัยอยู่นอ้ ย เนื่องจากมีปจั จัยที่เอื้อต่ อการตัง้ ถิ่นฐานน้อย เช่น บริเวณเขตหนาว บริเวณทะเลทรายแห้งแลง้ เป็ นต้น 2. เขตประชากรปานกลาง คือ บริเวณที่ประชากรอาศัยอยู่ ปานกลาง เนื่องจากมีปจั จัยที่เอื้อต่ อการตัง้ ถิ่น ฐานที่เหมาะสม สามารถเพาะปลู ก ได้ เช่ น บริ เ วณทุ่ง หญ้า สวัน นาหรื อทุ่ง หญ้า เขตร้อ น ตอนเหนื อ ของทวีป ออสเตรเลีย เป็ นต้น 3. เขตประชากรหนาแน่ น คือ บริเวณที่ประชากรอาศัยอยู่มาก เนื่องจากมีปจั จัยที่เอื้อต่ อการตัง้ ถิ่นฐาน ธ สามารถเพาะปลู ก ได้ดี ม าก ดิ น มีค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ โดยมากมัก เริ่ ม จากเขตเกษตรกรรมและกลายเป็ น เขต อุตสาหกรรมทีม่ คี นอาศัยอยู่ หนาแน่ น เช่น นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรมอมตนคร เป็ นต้น มส กิจกรรม 2.1.2 1. จงวิเคราะห์แนวโน้มการเพิ่มประชากรในประเทศที่พฒั นาแล้ว 2. จงวิเคราะห์แนวโน้มการกระจายตัวของประชากร แนวตอบกิจกรรม 2.1.2 1. ประเทศที่ พ ัฒ นาแล้ว อัต ราการเพิ่ ม ประชากรค่ อ นข้า งต่ า เนื่ อ งจากมี ม าตรฐานการด ารง ชี วิตสู ง การศึ กษาดี ฐานะดี รายได้สูง การจะมีลูกต้องคิ ดให้รอบคอบถึ งการเลี้ยงดู การให้การศึ กษา การ วางแผนอนาคต และประชากรต่างก็มีอาชีพของตนเอง การแต่งงานน้อยลง 2. การกระจายตัวของประชากรจะมีแนวโน้มหนาแน่น ในบริ เวณที่มีปัจจัยทางกายภาพ ปั จจัยทาง เศรษฐกิจ และปัจจัยทางวัฒนธรรมที่เหมาะสม สธ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-19 เรื่องที่ 2.1.3 ความสั มพันธ์ ระหว่ างสิ่ งมีชีวติ กับสิ่ งแวดล้ อม ธ มส ม สิ่งมีชีวติ ทัง้ คน พืช สัตว์ จาเป็ นต้องอาศัยสิ่งแวดลอ้ มเป็ นปัจจัยในการดารงชีวติ ถ้าหากไม่มีส่งิ แวดลอ้ ม สิง่ มีชีวติ ก็ไม่อาจดารงชีวติ อยู่ได้ ทัง้ สิง่ มีชีวติ และสิง่ แวดลอ้ มต่างต้องพึง่ พาอาศัยกัน อิทธิพลของสิ่ งแวดล้อมต่ อมนุษย์ สิง่ แวดลอ้ มมีอทิ ธิพลต่อวิถชี ีวติ ของมนุ ษย์ดงั นี้ 1. สิ่ งแวดล้ อมเป็ นแหล่ งปั จจัยพื้นฐานในการดารงชี วิ ต มนุ ษย์ตอ้ งพึ่งพาสิ่งแวดลอ้ มเพื่อการดารงชีวิต อันได้แก่ - อาหาร การด ารงชีวิตของมนุ ษย์ตอ้ งกินอาหาร ซึ่งอาหารของมนุ ษย์ล ว้ นได้จากสิ่งแวดล อ้ มทาง ธรรมชาติทงั้ สิ้น - ที่อ ยู่ อาศัย เดิม ทีม นุ ษย์อ าศัย ตามแหล่ง ธรรมชาติ ตามหุ บเขาหรือ ถ า้ ดัด แปลงธรรมชาติเ พื่อ ธ ป้ องกันภัยธรรมชาติ ภัยจากสัตว์อ่นื รวมทัง้ ภัยจากมนุ ษย์ดว้ ยกันเอง การเลือกทาเลที่อยู่อาศัย ที่เหมาะสมจึงต้องมี ความรูเ้ รื่องสิง่ แวดลอ้ มเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ ดว้ ย มส - เครื่องนุ่ งห่ม ในยุคแรกมนุ ษย์จะนาใบไม้ และหนังสัตว์มาห่อหุม้ ร่ างกายเพื่อให้ความอบอุ่น ต่อมา จึงมีการผลิตเสื้อผ้าเครื่องนุ่ งห่มจากวัสดุทห่ี าได้ในท้องถิน่ - ยารักษาโรค มนุ ษย์เริ่มใช้พชื สมุนไพรในการรักษาโรค โดยเอา กิ่ง ก้าน เปลือก แก่ น ดอก มาต้ม กินหรือทา 2. สิ่งแวดล้ อมกาหนดการตั้งถิ่นฐานและชุมชน มนุ ษย์ตอ้ งอาศัยทรัพยากรธรรมชาติเป็ นปัจจัยในการดารงชีวติ บริเวณพื้นที่ท่อี ุดมสมบูรณ์ เช่น ที่ราบลุ่มแม่นา้ ที่ราบรอบๆ ทะเลสาบจึงมักเป็ นแหล่งชุมชนโบราณ เช่ น อียิปต์ กรี ซ โรม จีน และมักเป็ นบริเวณทีม่ ปี ระชากรหนาแน่ น 3. สิ่ งแวดล้ อ มก าหนดลั กษณะอาชี พ มนุ ษ ย์จ ะประกอบอาชีพ แตกต่ า งกัน ไปตามสภาพของพื้น ที่แ ละ ลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติ เช่ น ประชากรบริเวณที่ราบลุ่มมักจะมีอาชีพทาเกษตรกรรม บริเวณชายทะเลหรือ เกาะต่างๆ มีอาชีพทาการประมง เป็ นต้น 4. สิ่งแวดล้ อมกาหนดรู ปแบบของวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนความเชื่อและค่ านิยม ต่างๆ ลว้ นถูกกาหนดให้มรี ูปแบบทีส่ อดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ มของท้องถิ่ น และยังมีอทิ ธิพลต่อลักษณะนิสยั ใจคอ ของมนุ ษย์ดว้ ย สธ ม 2-20 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร 5. สิ่งแวดล้ อมกาหนดกิจกรรมทางด้ านการเมือง หน่ วยการเมืองกระจายอยู่ ทวั ่ โลกมักรวมตัวเป็ นหน่ วย เดียวกันได้ตอ้ งมีสภาพแวดลอ้ มทางภูมศิ าสตร์ทค่ี ลา้ ยคลึงกัน ส่วนการดาเนินกิจกรรมทางการเมืองจะเป็ นมิตรหรือ ธ ศัตรูมกั ขึ้นอยู่กบั ความกดดันทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มด้วย มส อิทธิพลของมนุษย์ ต่อสิ่ งแวดล้อม ม มนุ ษย์ทาให้สง่ิ แวดลอ้ มเปลีย่ นแปลงได้ 2 รูปแบบทีส่ าคัญ ดังนี้ 1. มนุษย์ ทาให้ ขาดแคลนทรั พยากร หมายถึง การที่มนุ ษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ไม่สามารถเกิด หรือฟื้ นฟูใหม่ได้ (non-renewable resource) หรือเกิดขึ้นไม่ทนั กับการบริโภคของมนุ ษย์และโครงการอุตสาหกรรม เช่ น ป่ าไม้ แร่ ธาตุ สัตว์นา้ เกิน ความจาเป็ น จึงทาให้เกิดการขาดแคลนทรัพยากร ซึ่งอาจทาให้ทรัพยากรหมดไป ในทีส่ ุด ในทางเศรษฐศาสตร์ถอื ว่าแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงทรัพยากรเช่นนี้เป็ นการสูญเสียทีม่ มี ูลค่ามหาศาล 2. มนุษย์ ทาให้ สิ่งแวดล้ อมเป็ นพิษ หรื อมลพิษสิ่งแวดล้ อม (pollution) หมายถึง การที่มนุ ษย์ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดลอ้ มที่ไม่พึงประสงค์ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ ชีวภาพ และความสมบู รณ์ของสิ่งมีชีวติ มีผลกระทบโดยตรงต่อ มนุ ษย์หรือผ่านมาทางนา้ ผลผลิตจากพืชหรือสัตว์ จะเห็นได้ว่าปัญหาสิ่งแวดลอ้ มเป็ นพิษเกิดจากการที่มนุ ษย์และภาคอุตสาหกรรมต่างบริโภคทรัพยากรธรรมชาติใน ปริมาณทีเ่ พิม่ มากขึ้นทุกวัน และก่ อให้เกิดของเสียที่ขบั ถ่ายออกมาสู่ส่งิ แวดลอ้ มในจานวนมากด้วยเช่ นกัน ตัวอย่าง ธ มลพิษทางนา้ และมลพิษทางอากาศ แสดงในภาพที่ 2.12 มส ก. มลพิษทางนา้ ข. มลพิษทางอากาศ ภาพที่ 2.12 ตัวอย่ างมลพิษสิ่งแวดล้ อม ที่มา: http://www.archivefire.net ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 http://specialnewsonline.files.wordpress.com ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 สธ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-21 กิจกรรม 2.1.3 ธ 1. จงอธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับมนุษย์ 2. มนุษย์ทาให้ส่ิ งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงได้อย่างไรบ้าง มส ม แนวตอบกิจกรรม 2.1.3 1. สิ่ ง แวดล้อ มให้ปั จ จัย ในการด ารงชี วิ ต ก าหนดการตั้ง ถิ่ น ฐาน อาชี พ วัฒ นธรรม และการ เมืองให้แก่มนุษย์ 2. มนุ ษย์ทาให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ ยนแปลงได้ 2 รู ปแบบ คื อ ทาให้ขาดแคลนทรัพยากร และทาให้ สิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษ ธ มส สธ ม 2-22 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ตอนที่ 2.2 การอยู่กบั ธรรมชาติอย่ างยัง่ ยืน ธ มส ม โปรดอ่านหัวเรื่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที่ 2.2 แลว้ จึงศึกษารายละเอียดต่อไป หัวเรื่อง 2.2.1 แนวทางการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักวิทยาศาสตร์ 2.2.2 แนวทางการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามแนววิถพี ทุ ธ แนวคิด 1. แนวทางการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักวิทยาศาสตร์หมายถึง การใช้ส่งิ แวดลอ้ มอย่าง ฉลาด ไม่ให้เกิดพิษภัยต่อสังคมส่วนรวม ดารงสภาพเดิมของสิ่งแวดลอ้ มไว้ รวมทัง้ หาทางกาจัด และป้ องกันมลพิษสิง่ แวดลอ้ ม 2. แนวทางการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามแนววิถพี ทุ ธ มี 2 ขัน้ ตอน ขัน้ ที่ 1 การแก้ปญั หาต้อง ธ ด าเนิ น การแบบบู ร ณาการและเป็ น องค์ร วมเพื่อ ให้เ กิ ด ภาวะสมดุ ล และขัน้ ที่ 2 การก าหนด ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคนด้วยการปรับเปลีย่ นทัศนคติต่อธรรมชาติ โดยการมีท่าทีท่ถี ูกต้อง มส ต่อธรรมชาติ การรู จ้ กั ความพอดีในการบริโภค และการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทาง สร้างสรรค์ วัตถุประสงค์ เมือ่ ศึกษาตอนที่ 2.2 จบแลว้ นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายแนวทางการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักวิทยาศาสตร์ได้ 2. อธิบายแนวทางการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามแนววิถพี ทุ ธได้ สธ ม ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 2-23 เรื่องที่ 2.2.1 แนวทางการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติตามหลักวิทยาศาสตร์ ธ มส ม สาเหตุและแหล่งทีม่ าของปัญหาสิ่ งแวดล้อม 1. สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้ อม สามารถจาแนกสาเหตุของการเปลีย่ นแปลงสิ่งแวดลอ้ มได้ 2 ประการ คือ 1.1 การเพิ่ มประชากร เนื่องจากปัจจุบนั อัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรโลกเป็ นแบบทวีคูณ จึงทาให้ มีการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติแบบทวีคูณตามไปด้วย และอาจทาให้ทรัพยากรที่ไม่ สามารถพื้นฟูได้ถูกใช้จนหมด ไปในทีส่ ุด 1.2 การขยายตัวทางเศรษฐกิ จ และความเจริ ญก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี พบว่า เมื่อมีค วามก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีและความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจมากขึ้น ส่งผลให้มาตรฐานการครองชีพ และอัตราการบริโภคต่ อหัว ประชากรเพิม่ ขึ้น จึงเป็ นเหตุให้มกี ารปล่อยมลพิษสู่สง่ิ แวดลอ้ มมากขึ้น และรบกวนสมดุลของสิง่ แวดลอ้ ม 2. แหล่ งที่มาของปั ญหาสิ่ งแวดล้ อม แหล่งที่ม าของปัญ หาสิ่งแวดล อ้ มอันน ามาซึ่งมลพิษสิ่งแวดลอ้ มใน ปัจจุบนั มีดงั นี้ ธ 2.1 การเผาไหม้ ของเชื ้อเพลิง ทัง้ จากการขนส่ ง การเดิน ทาง จากครัวเรือนและอุตสาหกรรม ลว้ น มส ก่ อให้เกิดมลพิษจากการเผาไหม้เ ชื้อเพลิงในรู ปแบบต่างๆ เช่ น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ไอระเหยของสารประกอบคาร์บอน แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของตะกัว่ และสารประกอบของโลหะหนักชนิด ต่างๆ เป็ นต้น โดยการปล่อยแก๊สพิษจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงแสดงในภาพที่ 2.13 ก. 2.2 บ้ านพักอาศัยและสถานบริ การต่ างๆ มีการปล่อยสิ่งปนเปื้ อนสู่ส่งิ แวดลอ้ มได้หลายรู ปแบบ เช่ น ปล่อยนา้ ทิ้ง ขยะมูลฝอย สารละลายของสารซักฟอกซึ่งสะสมและก่ อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดลอ้ มอย่ างรุนแรงได้ โดย ขยะมูลฝอยจากภาคครัวเรือนแสดงในภาพที่ 2.13 ข. สธ ม 2-24 วิทยาศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ธ มส ม ก. แก๊สพิษจากภาคขนส่ง ข. มูลฝอยจากภาคครัวเรือน ภาพที่ 2.13 แหล่ งทีม่ าของปัญหาสิ่งแวดล้ อม ที่มา: http://www.archivefire.net ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 http://specialnewsonline.files.wordpress.com ค้นคืนเมื่อ 11 กรกฎาคม 2555 2.3 ภาคเกษตรกรรม เป็ นอีกแหล่งหนึ่งที่มกี ารปล่อยสารปนเปื้ อนสู่ส่งิ แวดลอ้ มโดยเฉพาะยาฆ่ าแมลง ธ ยาปราบศัตรูพชื ปุ๋ย ซึง่ เป็ นสารเคมีทเ่ี ป็ นพิษต่อสิ่งแวดลอ้ มและตกค้างอยู่ในระบบเป็ นเวลานาน 2.4 ภาคอุตสาหกรรม เป็ นแหล่งสาคัญทีป่ ล่อยสารมลพิษเขา้ สู่ส่งิ แวดลอ้ มได้มากที่สุ ดแหล่งหนึ่งหาก ไม่ได้รบั การจัดการทีเ่ หมาะสม สารพิษจากภาคอุตสาหกรรมมีหลายประเภทขึ้นอยู่กบั ประเภทของอุตสาหกรรม เช่ น มส สารมลพิษจากอุตสาหกรรม ปิ โตรเคมี มักเป็ นสารจาพวกไฮโดรคาร์บอน กามะถัน และสารประกอบฟี นอลิก เป็ นต้น สิง่ แวดลอ้ มมีประโยชน์แก่มนุ ษย์หลายประการ ทัง้ ให้ทอ่ี ยู่อาศัย ให้อาหาร ให้ทท่ี ากิน และอืน่ ๆ การป้ องกัน และแก้ไขผลกระทบต่ อสิ่งแวดลอ้ มที่เกิดขึ้น จึงเปรียบเสมือนการที่มนุ ษย์แสดงความกตัญญู กตเวทีต่อ โลก และ เป็ นหน้าที่ของทุกคนที่ตอ้ งช่ วยกัน ซึ่งมีแนวทางที่สามารถปฏิบตั ิได้หลายรู ปแบบ โดยสิ่งสาคั?