แผนบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ปีการศึกษา 2566-2567 PDF
Document Details
Uploaded by ComprehensiveGroup
Tags
Summary
รายงานนี้เป็นการศึกษาการวางแผนบริการด้านสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ โดยคำนึงถึงด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม รวมถึงการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสำหรับผู้สูงอายุในอนาคต
Full Transcript
SCHOOL YEAR 2025-2026 ค้นคว้าและนำเสนอในประเด็นต่อไปนี้ (เลือกกลุ่มละ 1 ประเด็น ที่ไม่ซ้ำกัน) ออกแบบและนำเสนอระบบ/รูปแบบบริการสุขภาพ ปฐมภูมิเพื่อประชาชนทุกกลุ่มวัย กลุ่ม 5. กลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) (กลุ่ม5) ด้านสุขภาพ 1. **การประเมินและวางแผน การรักษาส่วนบุคคล**: - ก...
SCHOOL YEAR 2025-2026 ค้นคว้าและนำเสนอในประเด็นต่อไปนี้ (เลือกกลุ่มละ 1 ประเด็น ที่ไม่ซ้ำกัน) ออกแบบและนำเสนอระบบ/รูปแบบบริการสุขภาพ ปฐมภูมิเพื่อประชาชนทุกกลุ่มวัย กลุ่ม 5. กลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) (กลุ่ม5) ด้านสุขภาพ 1. **การประเมินและวางแผน การรักษาส่วนบุคคล**: - การประเมินสุขภาพเบื้องต้น - การจัดทำแผนการรักษาที่ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม สภาวะและปัญหาสุขภาพของผู้ สูงอายุแต่ละราย - ประสาน อสม. แจ้งลงพื้นที่คัด กรองเชิงรุก เป้าหมาย 100% แบ่งผู้สูงอายุเป็น 3 กลุ่ม 1.กลุ่มสุขภาพดี : คัดกรอง 9 ด้านปีละ 1 ครั้ง/ คัด เลือกผู้สูงอายุต้นแบบ 2.กลุ่มเสี่ยง : ประเมินซ้ำโดยแพทย์ นัดกลุ่มไป รพ.อำเภอ+ประสานอปท. จัดสรรรถไปรพ. 3.กลุ่มมีโรคประจำตัว : ติดตามเยี่ยมบ้านกับสห วิชาชีพ แนะนำการรับประทานยา ในกลุ่มที่ไม่ สามารถควบคุมโรคได้ -บริการ telemed 1 ครั้ง/เดือน บริการส่งยาถึงบ้าน -จัดทำไลน์กลุ่มผู้สูงอายุ “สูงวัย ใกล้แพทย์” - เพิ่มศักยภาพ CM/CG ในการดูแลผู้สูงอายุ -เพิ่มศักยภาพท้องถิ่น ให้เพียงพอกับจำนวนผู้สูงอายุ -เพิ่มสถานชีวาภิบาล/กุฏิชีวาภิบาล นำร่องภำเภอละ1ที่ -จัดรูปแบบการดูแลที่บ้าน (Home Care Model) เน้น การส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน ให้ ครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลเป็นหลัก โดยมี บุคลากรทางการแพทย์คอยติดตาม ชี้แนะ และอำนวย ความสะดวกต่าง ๆ ในการดูแล ด้านเศรษฐกิจ -กองทุนเงินออมวันละบาท/กองทุนชมรมผู้สูงอายุ/ กองทุนฌาปนกิจศพ/โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน -ส่งเสริมอาชีพเป็นวิทยากรในด้านต่างๆ ด้านสิ่งแวดล้อม -ลงเยี่ยมบ้าน จัดสิ่งแวดล้อม (เกินความสามารถ ประสานกองทุนฟื้ นฟูเข้าช่วยเหลือ/ประสาน(พม.) เข้าช่วยเหลือ -จัดหากายอุปกรณ์ให้เหมาะสมตามโรค -ประสานหน่วยงานท้องถิ่น เพื่อจัดสิ่งแวดล้อมที่เป็น มิตรต่อผู้สูงอายุ และสถานที่ออกกำลังกาย เช่น ลาน ออกกำลังกาย ห้องน้ำ ทางลาด ที่จอดรถ ด้านสังคม -จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุตามความสนใจ เช่น ชมรมไทเก๊ก ชมรมบาสโลบ -มีการจัดศึกษาดูงานนอกสถานที่ ระหว่างจังหวัด ปีละ 2 ครั้ง - เสริมพลัง ชุมชน โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วม ในการดูแลผู้สูงอายุ เช่นการจัดกิจกรรมวัน สงกรานต์ -จัดทำบ้านพักคนชรา 1 อำเภอ1 บ้านพักคนชรา ด้านนวัตกรรม -1. เทคโนโลยีช่วยดูแลสุขภาพ: มีแอปพลิเคชัน และอุปกรณ์สวมใส่ที่ช่วยตรวจวัดค่าสุขภาพ 2. เทคโนโลยีการสื่อสาร: ปกรณ์ที่ช่วยให้ผู้สูง อายุสามารถสื่อสารกับครอบครัว หรือที่อยู่ห่าง ๆ ได้ เช่น วิดีโอคอล แชท หรือแอปพลิเคชันการ สื่อสารอื่น ๆ 3. เทคโนโลยีช่วยทำงานบ้าน: มีระบบอัตโนมัติ ที่ช่วยในการทำงานบ้าน เช่น หลอดไฟปรับสีได้ ระบบอุ่นน้ำอัตโนมัติ ระบบควบคุมอุณหภูมิใน บ้าน เป็นต้น ด้านนวัตกรรม 4. เทคโนโลยีช่วยในการเดินทาง: การเดินทางที่ สะดวกสบายและปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ เช่น แอปพลิเคชันการจองรถ Uber หรือ Grab 5. เทคโนโลยีช่วยในการดูแลตัวเอง: มีอุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตัว สมาชิกกลุ่ม 1.นางกาญจนา อุ้มชูวัฒนา เลขที่1 2.น.ส.กาญจนา ศรัวิเชียร เลขที่ 4 3.น.ส. จันจิรา โบบทอง เลขที่ 10 4.น.ส.จุฑาทิพย์ ทองนอก เลขที่ 15 5.นางทิพวรรณ มากผล เลขที่ 20 6.น.ส.ธิดารัตน์ รสกำจร เลขที่ 24 7.นางนรีรัตน์ หมวดฉิม เลขที่ 26 8.นางพรรณกร กองผล เลขที่39 9.น.ส.เพีญนภา เป้ งเซ่ง. เลขที่ 42 10.น.ส.มัญธกานต์ ตันติไพศาลกิจ เลขที่ 46 11.นางศิริเพ็ญ มานะชน. เลขที่ 53 12.น.ส. สิริพร เพ็ญรัตน์ เลขที่ 58 13. นายอนุพงศ์ บุญมี เลขที่ 63 14.น.ส.อมรรัตน์ แก้วทวี เลขที่ 64