🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

3 ดวงดาวและเทคโนโลยีอวกาศ 2567.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Document Details

AmpleBoston564

Uploaded by AmpleBoston564

มหาวิทยาลัยนเรศวร

2023

Tags

space technology astronomy universe

Full Transcript

ดวงดาวและเทคโนโลยีอวกาศ จักรวาลในอดีต 1 แบบจาลองเอกภพยุคกรีก ดาวเคราะห์และ ดวงอาทิตย์โคจร รอบโลกเป็น วงกลม 2 นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus) ดาวเคราะห์โคจรรอบ ดวงอาทิตย์เป็นวงกลม 3 โย...

ดวงดาวและเทคโนโลยีอวกาศ จักรวาลในอดีต 1 แบบจาลองเอกภพยุคกรีก ดาวเคราะห์และ ดวงอาทิตย์โคจร รอบโลกเป็น วงกลม 2 นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus) ดาวเคราะห์โคจรรอบ ดวงอาทิตย์เป็นวงกลม 3 โยฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes kepler) ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี 4 จั ก รวาลหรื อ เอกภพ ปั จจุบั น ◼ กาเนิดเอกภพ จากการระเบิดใหญ่ (Big Bang) เมื่อ 13,700 ล้านปีก่อน 5 หน่ ว ยบอกระยะทางดาราศาสตร์ 6 กาแล็กซีเริ่มกาเนิดขึ้นหลังบิกแบง 1,000 ล้านปี ปัจจุบันเอกภพประกอบไปด้วยกาแล็กซีจานวนกว่าแสนล้านกาแล็กซี ในแต่ละกาแล็กซีประกอบไปด้วยดาวฤกษ์จานวนมากมายนับแสน ล้านดวงรวมถึงแหล่งกาเนิดดาวฤกษ์ที่เรียกว่า เนบิวลา 7 กาแล็กซี 8 กาแล็ ก ซี ท างช้า งเผื อ ก ระบบสุริยะอยู่ที่แขนของกาแล็กซีทางช้างเผือกห่างจากใจกลางกาแล็กซี 30,000 ปีแสง 9 ทางช้า งเผื อ กมองจากโลก 10 11 องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ และเป็นศูนย์กลางของระบบ บริวารของดวงอาทิตย์ ได้แก่ - ดาวเคราะห์ - บริวารของดาวเคราะห์ (ดวงจันทร์) - ดาวเคราะห์แคระ - ดาวเคราะห์น้อย - ดาวหาง - วัตถุขนาดเล็กอื่นๆ 12 ขนาดดวงดาว ดาวพฤหั ส บดี โลก 13 ขนาดดวงดาว ดวงอาทิ ต ย์ ดาวพฤหั ส บดี 14 มี ด าวฤกษ์ อี ก มากมายที่ ข นาดใหญ่ ก ว่ า ดวงอาทิ ต ย์ 15 ดวงดาวบนท้ อ งฟ้ า 16 โ ล ก ห ม ุน ร อ บ ต ัว เ อ ง จ า ก ท ิศ ต ะ วั น ต ก ไ ป ท า ง ทิ ศ ตะวั น ออก ทาให้ เ รา เห็ น ดวงดาวบนทรง กลมท้ อ งฟ้ า เคลื่ อ นที่ จากทิ ศ ตะวั น ออกไป ทางทิ ศ ตะวั น ตก 17 กลุ่มดาว กลุ่มดาว คือ กลุ่มของดาวฤกษ์ ที่ สามารถเชื่อมต่ อกันเป็นรูปร่างต่าง ๆ ตามแต่จินตนาการ ส่วนใหญ่แล้ว ดาว ฤกษ์ ใ นกลุ่ ม ดาวเดี ย วกั น ที่ เ ราเห็ น อยู่ กลุ่มดาวนายพราน ใกล้ กั น บนทรงกลมฟ้ า ไม่ ไ ด้ มี ค วาม เกี่ ย วข้ อ งกั น และห่ า งไกลกั น มากใน อวกาศ สหพั น ธ์ ด าราศาสตร์ ส ากล (IAU) แบ่ ง พื้ น ที่ ใ นท้ อ งฟ้ า ออกเป็ น กลุ่ ม ดาว 88 กลุ่ ม โดยก าหนดเขตแดนที่ แน่นอนและแม่นยา 18 สามารถหาตาแหน่งดาวเหนือได้จากกลุ่มดาวหมีใหญ่ ดาวเหนือ หรือ กลุ่มดาวราชินีแคสซิโอเปีย(กลุ่มดาวค้างคาว) ราชินีแคสซิโอเปีย สิงโต ดาวเหนือ (polaris) หมีใหญ่ ราชาเซเฟอุส หมีเล็ก มังกร 19 สามเหลี่ยมฤดูหนาว : ดาวสว่างสามดวงในคืนช่วงฤดูหนาว วัว สุนัขเล็ก ดาวบีเทลจุส ดาวโพซิออน นายพราน ดาวซิลิอุส สุนัขใหญ่ กระต่าย 20 สามเหลี่ยมฤดูร้อน: ดาวสว่างสามดวงในคืนช่วงฤดูร้อน ดาววีกา พิณ ดาวเดเนบ หงส์ นกอินทรีย์ ปลาโลมา ดาวอัลแตร์ 21 กลุ่มดาวจักรราศี : กลุ่มดาวที่สังเกตเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏในกลุ่มดาว เปลี่ยนไปตามแต่ละเดือน มีอยู่ 12 กลุ่ม 22 23 24 25 แผนที่ดาว : โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Stellarium 26 App Stellarium Mobile 27 Star Chart 28 ดวงจันทร์ 29 30 31 เทคโนโลยีอวกาศ (space technology) 32 อวกาศ space หมายถึง อาณาบริเวณอันกว้างใหญ่ เลยชั้นบรรยากาศของโลกออกไป เทคโนโลยีอวกาศ มีขึ้นเพื่อ การสารวจสิ่งต่างๆ ที่อยู่ นอกโลก รวมถึงการศึกษาโลกจากอวกาศ การศึกษาสิ่งต่าง ๆ ในเอกภพโดยการใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีอวกาศนั้นมีทั้งด้านการสื่อสาร การสารวจ ทรัพยากรโลก และการพยากรณ์อากาศ เป็นต้น 33 กล้องโทรทรรศน์ (telescope) ชนิดของกล้องโทรทรรศน์ 1.กล้องโทรทรรศน์ แบบหักเหแสง (Refractor) 2.กล้องโทรทรรศน์ แบบสะท้อนแสง (Reflector) 3.กล้องโทรทรรศน์ชนิดผสม (Catadioptic) 34 แบบหักเหแสง แบบสะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสสิเกรน แบบมักซูตอฟ 35 กล้ องโทรทรรศน์ วทิ ยุ (radio telescope) เป็ นกล้องโทรทรรศน์ที่สามารถรับคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่น ในช่วงคลื่นวิทยุ จากวัตถุบางชนิดจากท้องฟ้าได้ ส่ วนประกอบของกล้องโทรทรรศน์ วทิ ยุมี 3 ส่ วนคือ 1) ส่ วนรับสั ญญาณ ทาหน้ าทีร่ ับและรวมสั ญญาณไปอยู่ทจี่ ุดโฟกัสของจาน 2) ส่ วนขยายสั ญญาณ ทาหน้ าทีข่ ยายสั ญญาณทีส่ ่ งมาจากส่ วนรับสั ญญาณ 3) ส่ วนบันทึกสั ญญาณ ทาหน้ าทีแ่ ปลสั ญญาณทีถ่ ูกขยายให้ ออกมาเป็ นภาพ หรื อรหัสบนแผ่ นกระดาษ หรื อจอรับภาพเป็ นภาพ 36 กล้องโทรทรรศน์ที่ถูกสร้างขึ้นมาแล้วส่ งขึ้นไปในอวกาศ เรี ยกว่า “ กล้องโทรทรรศน์อวกาศ (Space Telescope) ” เป็ นอุปกรณ์สาหรับการ สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่อยูใ่ นอวกาศภายนอกในระดับวงโคจรของโลก เช่น กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา - เป็ นกล้องชนิดสะท้อนแสง - มีขนาดความกว้างของกระจก 2.4 m - โคจรรอบโลกทุกๆ 97 นาที -ขนาดกว้าง 4.3 m ยาว 13.3 m รวมน้ าหนัก11 ตัน - ขนส่ งโดยยานดิสคัฟเวอรี - ส่ องได้ไกลถึง 14,000 ล้านปี แสง(กล้องปกติ 2 ล้านปี แสง) - มีอายุการใช้งานนานถึง 20 ปี ปลดระวางในปี พ.ศ. 372553 การเดินทางสู่อวกาศ จะใช้ยานพาหนะอะไรจึงจะเดินทางไปได้ จะออกแบบยาน อย่างไร จะใช้พลังงานจากแหล่งใด เป็นเชื้อเพลิง ทาอย่างไร ยานพาหนะ จะเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้ ถ้ามนุษย์ออกไปในอวกาศ จะเกิดอะไรขึ้นกับร่างกาย ต้องเตรียมตัวอย่างไร 38 การใช้ประโยชน์จากจรวดในอดีต บั น ทึ ก ของชาวจี น ที่ ต่ อ สู้ กั บ ชาวมองโกลในปี พ.ศ.1775 กล่าวถึงการใช้ประโยชน์จากจรวดไว้ว่า ใช้จรวดขับดันลูกธนู พุ่งเข้าหาฝ่ายตรงข้าม บั้งไฟของไทยก็มีหลักการเดียวกับจรวดคือ แรงกิริยาจากไอ เสี ย กระท าต่ อ บั้ ง ไฟให้ พุ่ ง ออกไปข้ า งหน้ า เท่ า กั บ แรง ปฏิกิริยาจากบั้งไฟ กระทาต่อ ไอเสียให้พุ่งไปข้างหลัง 39 ในปีพ.ศ.2446 ไชออลคอฟสกี (Tsiolkovski) ชาวรัสเซีย ค้นคว้าเกี่ยวกับเชื้อเพลิงแข็งจะไม่มีแรง ขับดันสูงพอที่จะนายานอวกาศไปสู่อวกาศได้ ควรใช้เชื้อเพลิง เหลว ซึ่งแยกเชื้อเพลิง และสารที่ช่วยในการเผาไหม้ออกจาก กัน การนาจรวดมาต่อเป็นชั้นๆ จะช่วยลดมวลของจรวดลง เพราะเมื่อจรวดชั้นแรก ใช้เชื้อเพลิงหมดก็ปลดทิ้งไป และให้ จรวดชั้นต่อไปนี้ทาหน้าที่ต่อ จนถึงจรวดชั้นสุดท้ายที่ติดกับ ดาวเทียมหรือยานอวกาศ จะมีความเร็วสูงพอที่จะเอาชนะแรง ดึงดูดของโลกขึ้นสู่อวกาศได้ 40 จรวดเชื้อเพลิงเหลว จรวดเชื้อเพลิงแข็ง 41 โรเบิร์ต กอดดาร์ด ( Robert Goddard ) ในปี พ.ศ.2469 โรเบิร์ต กอดดาร์ด ( Robert Goddard ) ชาวอเมริกัน ประสบความสาเร็จในการสร้างจรวด เชื้อเพลิงเหลว โดยใช้ออกซิเจนเหลว เป็นสารที่ช่วยในการเผาไหม้อยู่ในถัง หนึ่ ง แ ละ ไฮ โด รเ จ นเ หลวเ ป็ น เชื้อเพลิงอยู่ในถังอีกถังหนึ่ง 42 ได้ มี ก ารพั ฒ นา จรวดเชื้ อ เพลิ ง เหลว มาเป็ น ล าดั บ กระทั่งสหภาพโซเวียตประสบความสาเร็จในการใช้จรวด สามท่อนสาหรับส่งยานอวกาศ หรือดาวเทียมที่มีน้าหนัก มากขึ้นสู่อวกาศ จากนั้นการศึกษาค้นคว้า ด้านอวกาศ ก็มีการพั ฒ นาอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีก ารแข่ งขันกั น ระหว่างประเทศมหาอานาจ ระหว่างรัสเซียและอเมริกา 43 ยุคสารวจอวกาศเริ่มอย่างจริงจังเมื่อปี พ.ศ. 2500 เมื่อ สหภาพโซเวียตส่ง ดาวเทียมสปุตนิก 1 ขึ้นไปในอวกาศ หลั ง จากนั้ น ในปี เ ดี ย วกั น สหภาพโซเวี ย ตก็ ส่ ง ดาวเทียม สปุตนิก 2 โดยมีสุนัขตัวเมียชื่อไลก้า ขึ้นไป ในอวกาศด้วย 44 ดาวเทียมสปุตนิค 45 ดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์1 ต่อมาสหรัฐอเมริกาจึงส่งดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์1 เข้า สู่วงโคจรของโลกในปี พ.ศ. 2501 46 12 เมษายน พศ. 2504 ยูริ กาการิน ชาวรัสเซีย เป็นมนุษย์ คนแรกที่ขึ้นสู่อวกาศ โดยยานวอสตอค 1 (Vostok 1) กากา รินขึ้นไปสูง 200 ไมล์ โคจรรอบโลก 2 รอบ ยูริ อะเลคเสเยวิช กาการิน Yuri Alekseyevich Gagarin 47 วั น ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) นั ก บิ น อวกาศ อลัน บี. เชฟเพิร์ด จูเนียร์ กลายเป็นชาวอเมริกัน คนแรกในอวกาศ จอห์น เกล็นน์ กลายเป็นชาวอเมริกันคนแรก ที่โคจรรอบ โลก เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 ยานอพอลโล 11 (16-24 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) พามนุษย์ ไปลงบนดวงจันทร์ครั้งแรก มีลูกเรือสามคน คือ นีล อาร์ม สตรอง, เอดวิน อัลดริน และ ไมเคิ้ล คอลลินส์ 48 ยานอะพอลโล 11 49 นักบินอวกาศก้าวเดินบนพื้นผิวดวงจันทร์ ในการเดินทางไปกับ ยานอะพอลโล 11 50 ระบบการขนส่งอวกาศ ระบบการขนส่งอวกาศ เป็นโครงการที่ถูก ออกแบบให้สามารถนา ชิ้นส่วนบางส่วนที่ใช้ไปแล้วกลับมาใช้ใหม่อีก เพื่อเป็นการประหยัด และมีประสิทธิภาพมากที่สุด ระบบการขนส่งอวกาศประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ 1. จรวดเชื้อเพลิงแข็ง 2. ถังเชื้อเพลิงภายนอก (สารองไฮโดรเจนเหลวและออกซิเจนเหลว) 3. ยานขนส่งอวกาศ (กระสวยอวกาศ) (space shuttle) 51 52 กระสวยอวกาศลาแรกที่ปล่อยใช้งานสู่อวกาศคือ กระสวยอวกาศโคลัมเบีย ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2524 53 การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ ดาวเที ย ม(satellite) คื อ สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า งขึ้ น แล้ว ส่งไปโคจรรอบโลก (หรือโคจร ไปในอวกาศ ซึ่ง จะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ยานอวกาศ) ดาวเทียม คือ ห้องทดลองที่บรรจุอุปกรณ์เอาไว้ ส่งขึ้น ไปโคจรรอบโลก มีรูปทรงต่างๆ ดาวเทียมมีระยะเวลา โคจรรอบโลกแตกต่างกันขึ้นอยู่กับขนาดและระยะห่างของ วงโคจร การส่ ง ดาวเที ย มขึ้ น ไปโคจรรอบโลกท าได้ 2 วิธี คือ ส่งโดยใช้ จ รวด และ ส่งโดยใช้ ยานขนส่ง อวกาศ 54 ดาวเทียม (satellite) สามารถแบ่งประเภทของดาวเทียมตามหน้าที่ต่างๆ ได้ดังนี้ (1) ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา (2) ดาวเทียมสารวจทรัพยากร (3) ดาวเทียมสื่อสาร (4) ดาวเทียมสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ (5) ดาวเทียมทางทหาร 55 ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เป็นดาวเทียมที่ทาหน้าที่ ตรวจ ความแปรปรวนของลมฟ้าอากาศ เพื่อการพยากรณ์อากาศ ได้ แ ก่ ดาวเที ย มไทรอส ทราน สิ ต นิ ม บั ส และ คอสมอส GMS, NOAA GMS 56 ดาวเทียมสารวจทรัพยากรโลก เป็นดาวเทียมที่มีอุปกรณ์สารวจแหล่งทรัพยากรที่สาคัญ นอกจากนี้ ยั ง เฝ้ า สั ง เกตสภาวะแวดล้ อ มที่ เ กิ ด บนโลก ช่วยเตือนเรื่องอุทกภัย และความแห้งแล้งที่เกิดขึ้น การ ตัดไม้ทาลายป่า การทับถมของตะกอนปากแม่น้า รวม ไปถึงแหล่งที่มีปลาชุกชุม และอื่นๆ อีกมาก ดาวเทียมธีออส (THEOS:Thailand Earth Observation System) ดาวเทียมสารวจทรัพยากรดวงแรกของไทย 57 ด า ว เ ที ย ม ส า ร ว จ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ไ ด้ แ ก่ - ดาวเทียมแลนด์แสต ( Landsat) ของสหรัฐอเมริกา - ดาวเทียม SPOT ของฝรั่งเศส และกลุ่มประเทศใน ยุโรป - ดาวเทียม MOS-1 ของประเทศญี่ปุ่นเป็นต้น 58 ดาวเทียมสื่อสาร เป็นดาวเทียมที่มีอุปกรณ์สื่อสารติดตั้งอยู่ เช่น ดาวเทียมอินเทลแซท ดาวเทียมชุดนี้อยู่ในวงโคจรรอบโลก 3 แห่ง คือ 1. เหนือมหาสมุทรอินเดีย เพื่อการติดต่อระหว่างทวีป เอเซียกับทวีป ยุโรป 2. เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก เพื่อการติดต่อระหว่างทวีปเอเซียกับทวีป อเมริกา 3. เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก เพื่อการติดระหว่างทวีปอเมริกากับ ทวีปยุโรป เมื่อรวมทั้งระบบจึงสามารถติดต่อกันได้ทั่วโลก 59 60 ดาวเทียมสื่อสารของไทย ชื่อไทยคม สร้างโดยบริษัท ฮิวจ์ แอร์ คราฟท์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ส่งขึ้นสู่อวกาศโดยบริษัทแอเรียน สเปซ ประเทศฝรั่งเศส จากฐานส่งที่เมืองคูรู ดินแดนเฟรนช์เกียนา ดาวเทียมไทยคมช่วยการติดต่อสื่อสารได้ทั่วประเทศไทยและประเทศ ในแถบอินโดจีนไปจนถึงเกาหลีและญี่ปุ่น รวมทั้งชายฝั่งทะเลด้าน ตะวันออกของจีน เป็นดาวเทียมสื่อสารที่ประเทศไทยให้บริการสื่อสารโทรคมนาคม ด้านต่างๆ เช่น การถ่ายทอดโทรทัศน์ วิทยุ โทรศัพท์ และระบบ ถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์สู่เสาอากาศของผู้รับในบ้านได้ โดยตรง 61 62 อินเตอร์เน็ตดาวเทียม 63 อินเตอร์เน็ตดาวเทียม ดาวเทียมสตาร์ลิงก์ (Starlink) ที่ปฏิบัติภารกิจอยู่บนอวกาศ ข้อมูลเมื่อเดือน พฤศจิกายน 2022 พบว่ามีจานวนมากถึง 3,271 ดวง ในจานวนนี้มี 3,236 ดวง ที่กาลังให้บริการปล่อยสัญญาณอินเทอร์เน็ต บริษัท สเปซเอ็กซ์ (SpaceX) ได้รับอนุญาตให้ทาการติดตั้งดาวเทียมสตาร์ ลิงก์ (Starlink) Gen2 จานวน 7,500 ดวง จากคายื่นขอติดตั้งของบริษัท สเปซเอ็กซ์ (SpaceX) จานวนมากถึง 29,988 ดวง เป็นเพียงการอนุมัติ บางส่วนเท่านั้น เนื่องจากการส่งดาวเทียมหลายหมื่นดวง ทาให้มีข้อกังวล เกี่ยวกับปัญหาขยะบนอวกาศที่เกิดขึ้นจากดาวเทียมที่หมดอายุ รวมไปถึงการ สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์จากกล้องโทรทรรศน์บนพื้นโลกที่ถูกดาวเทียม สตาร์ลิงก์ (Starlink) รบกวนการมองเห็นและบันทึกภาพทางดาราศาสตร์ 64 ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ เป็ น ดาวเที ย มที่ มี ก ล้ อ งโทรทรรศน์ แ ละอุ ป กรณ์ ด าราศาสตร์ สาหรับศึกษาวัตถุท้องฟ้า ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ทีทั้งประเภทที่โคจรอยู่รอบโลก และประเภทที่โคจรผ่านไปใกล้ดาวเคราะห์ หรือลงสารวจดาว เคราะห์ ซึ่งเรียกอีก อย่างหนึ่งว่ายานอวกาศ เช่น ยานอวกาศวอยเอเจอร์ ที่ เดิ นทางผ่านเฉียดดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน เป็นต้น 65 ยานอวกาศวอยเอเจอร์ 66 ยานอวกาศ Cassini 67 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ยานขนส่งอวกาศดิสคัฟเวอรีนากล้องโทรทรรศน์ มูลค่า 1,500 ล้านเหรียญสหรัฐ ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 25 เม.ย พ.ศ. 2533 มีอายุการใช้งานนานถึง 20 ปี ปลดระวางในปี พ.ศ. 2553 เพื่อเป็นเกียรติแก่ เอ็ดวิน ฮับเบิล นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกา ผู้ศึกษาค้นคว้าเรื่องราวของกาแล็กซีต่างๆ กล้องโทรทรรศน์ กล้องนี้จึงได้ชื่อว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล หรือเรียก สั้นๆว่ากล้องฮับ-เบิล 68 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล 69 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องบนพื้นโลกส่องสังเกตวัตถุท้องฟ้าได้ไกลราว 2 พันล้านปีแสง กล้องฮับเบิลส่องเห็นไปได้ไกลถึง 14,000 ล้านปีแสง ข้อมูลที่ได้จากกล้องอับเบิลให้เห็นรายละเอียดต่างๆ ของ - วัตถุท้องฟ้า - ส่วนประกอบในระบบสุริยะ - การกาเนิดของดาวฤกษ์ - โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงของกาแล็กซี - วิวัฒนาการของเอกภพ 70 ภาพมุมลึกจากกล้องฮับเบิล ในเดือนธันวาคมปี 1995 71 กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ (James Webb Space Telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย องค์การนาซา องค์การอวกาศยุโรป (ESA) และองค์การ อวกาศแคนาดา (CSA) มีเป้าหมายเพื่อสืบทอดภารกิจของ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในการเป็นภารกิจฟิสิกส์ดารา ศาสตร์หลักของนาซา กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ ถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 2021 ความ คมชัดและความไวแสงมากกว่ากล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล 72 กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ 73 ภาพจากกล้องเจมส์ เวบบ์ 74 ภาพจากกล้องเจมส์ เวบบ์ 75 ดาวเทียมทางทหาร ระบบ แจ้งตาบลที่อยู่ พิกัด ตาแหน่งบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมนั้น เป็ นโครงการของกระทรวงกลาโหมสหรั ฐ อเมริก า ที่ ได้ ด าเนิ น โครงการ Global Positioning System หรือ "GPS" ขึ้น ระบบ GPS จะใช้ดาวเทียมจานวนทั้งหมด 24 ดวง โคจรอยู่ใน ระดับสูงที่พ้นจากคลื่นวิทยุรบกวนของโลก วิธีการที่สามารถให้ความถูกต้องเพียงพอที่จะใช้ชี้บอกตาแหน่งได้ ทุกแห่งบนโลกตลอดเวลา 24 ชั่วโมง 76 ดาวเทียม GPS GPS คือ ระบบระบุตาแหน่งบนพื้นโลก ส่วนอวกาศประกอบด้วย เครือข่ายดาวเทียมหลัก 3 ค่าย คือ อเมริกา ยุโรป รัสเซีย ของอเมริกา ชื่อ NAVSTAR (Navigation Satellite Timing and Ranging GPS) มีดาวเทียม 28 ดวง ใช้งานจริง 24 ดวง อีก 4 ดวง เป็นตัวสารอง ยุโรป ชื่อ Galileo มี 27 ดวง รัสเซีย ชื่อ GLONASS หรือ Global Navigation Satellite ในขณะนี้ภาคประชาชนทั่วโลกสามารถใช้ข้อมูลจากดาวเทียมของทางอเมริกา (NAVSTAR) ได้ฟรี เนื่องจากนโยบายสิทธิการเข้าถึงข้อมูลและข่าวสาร สาหรับประชาชนของรัฐบาลสหรัฐ จึงเปิดให้ประชาชนทั่วไปสามารถใช้ ข้อมูลดังกล่าวในระดับความแม่นยาที่ไม่เป็นภัยต่อความมันคงของรัฐ 77 ดาวเทียม GPS ดาวเทียม GPS (Navstar) ประกอบด้วยดาวเทียม 24 ดวง โดย แบ่งเป็น 6 รอบวงโคจร ในลักษณะสานกันคล้ายลูกตะกร้อแต่ละ วงโคจรมีดาวเทียม 4 ดวง ดาวเทียมแต่ละดวงใช้เวลาในการโคจร รอบโลก 12 ชั่วโมง GPS ทางานโดยการรับสัญญาณจากดาวเทียมแต่ละดวง โดย สัญญาณดาวเทียมนี้ประกอบไปด้วยข้อมูลที่ระบุตาแหน่งและเวลาขณะ ส่งสัญญาณ ตัวเครื่องรับสัญญาณ GPS จะต้องประมวลผลความ แตกต่างของเวลาในการรับสัญญาณเทียบกับเวลาจริง ณ ปัจจุบัน เพื่อแปรเป็นระยะทางระหว่างเครื่องรับสัญญาณกับดาวเทียมแต่ละดวง 78 ดาวเทียม GPS (Navstar) 79 การใช้ระบบ GPS ในชีวิตประจาวัน ทุกวันนี้มีการใช้อุปกรณ์ GPS กันอย่างกว้างขวาง รวมถึงมีระบบ เชื่อมโยงข้อมูลในรูปแบบของดิจิตอล เช่น ในรถยนต์จะพบอุปกรณ์ GPS เพื่อหลีกเลี่ยงเส้นทางที่มีการจราจรคับคั่ง หรือการขับรถเพื่อ ท่องเที่ยวก็จะมีการแนะนาเส้นทางท่องเที่ยวพร้อมสถานที่น่าสนใจต่างๆ เช่น ร้านอาหาร ที่พัก จุดชมวิว แหล่งท่องเที่ยว เป็นต้น และนัก เดินทางก็มักจะพกอุปกรณ์ GPS ในรูปแบบ PND หรือ Smart Phone ที่ลง Application Software สาหรับการนาทาง เช่น Google Map แทนการพกพาสมุดแผนที่อย่างในอดีต ปัจจุบันนี้ระบบ GPS สามารถ ค้นหาถึงระดับบ้านเลขที่หรือเบอร์โทรศัพท์และนาทาง ไปสู่เป้าหมายได้อย่างถูกต้อง 80

Use Quizgecko on...
Browser
Browser