รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการใหม่ PDF

Summary

เอกสารนี้ครอบคลุมหัวข้อ รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการใหม่ มีการอธิบายวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกรูปแบบธุรกิจ ตลอดจนรูปแบบการจัดตั้งธุรกิจตามโครงสร้างทางธุรกิจ และข้อดี ข้อเสีย ของแต่ละรูปแบบธุรกิจ นอกจากนั้น ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจเจ้าของคนเดียว และลักษณะของผู้ที่เหมาะสมในการประกอบธุรกิจเจ้าของคนเดียว

Full Transcript

รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจสาหรับ ผู้ประกอบการใหม่ ผศ.ดร.นวลละออง อรรถรังสรรค์ คณะการบัญชีและการจัดการ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ 1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจความสาคัญและเรียนรู้ทางเลือกของรูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ สาหรับผู้ประกอบการใหม่รวมถึงข้อจากัดของแต่ละทางเลือ...

รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจสาหรับ ผู้ประกอบการใหม่ ผศ.ดร.นวลละออง อรรถรังสรรค์ คณะการบัญชีและการจัดการ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ 1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจความสาคัญและเรียนรู้ทางเลือกของรูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ สาหรับผู้ประกอบการใหม่รวมถึงข้อจากัดของแต่ละทางเลือกเหล่านั้น 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทเรียนในการวางแผนแนวคิดทางธุรกิจ ของตน ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกรูปแบบธุรกิจ 1. ความยากง่ายของการก่อตั้ง 2. ขอบเขตของความรับผิดชอบในหนี้ 3. ความคล่องตัวในการดาเนินงาน 4. ความสามารถในการเพิ่มทุนขยายกิจการ 5. สิทธิในการควบคุมการดาเนินงานของธุรกิจ ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกรูปแบบธุรกิจ 6. การรักษาความลับ 7. ความมีอิสระจากการควบคุมโดยรัฐ 8. ปัจจัยด้านกฎหมาย 9. ความมั่นคงและความต่อเนื่องของการดาเนินงาน 10. ปัจจัยด้านภาษี รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจตามโครงสร้างทางธุรกิจ แบ่งออกได้ 5 รูปแบบ ประกอบด้วย 1. กิจการเจ้าของคนเดียว 2. ห้างหุ้นส่วน 3. บริษัท 4. สหกรณ์ 5. รัฐวิสาหกิจ รูปแบบองค์กรธุรกิจ เป็นนิติบุคคล ไม่เป็นนิติบุคคล (จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย) (จดทะเบียนตามพ.ร.บ.พาณิชย์) 1. ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน 2. ห้างหุ้นส่วนจากัด กิจการร้านค้าเจ้าของคนเดียว บริษัทจากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ บริษัทมหาชนจากัด องค์การธุรกิจจัดตั้งหรือจดทะเบียนภายใต้ กฎหมายเฉพาะ 1. กิจการ  กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorship) เจ้าของคน เป็นธุรกิจที่มีขนาดเล็กถึงปานกลาง (Small and Medium Enterprise (SME)) เดียว มีต้นทุนการบริหารงานค่อนข้างต่า มีข้อจากัดในการเติบโตของบุคลากรในองค์กร ลักษณะองค์กรธุรกิจที่เป็นกิจการเจ้าของคนเดียว ไม่มีความซับซ้อน ไม่ต้องจัดทา บัญชี และไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ หากกิจการ มีรายรับก่อนหักค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่เกินปีละ 1.8 ล้านบาท จะเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ข้อดีและข้อเสียของธุรกิจเจ้าของคนเดียว ข้อดี ผลประโยชน์ของกิจการเป็นของเจ้าของแต่เดียงผู้เดียว เป็นอิสระและยืดหยุ่น คล่องตัวในการบริหาร ตัดสินใจได้รวดเร็ว ผลประโยชน์ทางด้านภาษี ง่ายต่อการจัดตั้งและเลิกกิจการ ต้นทุนในการจัดตั้งต่า ผลตอบแทนทางจิตใจเมื่อธุรกิจประสบความสาเร็จ เก็บรักษาความลับในการดาเนินงานได้ดี ข้อดีและข้อเสียของธุรกิจเจ้าของคนเดียว ข้อเสีย มีข้อจากัดในการจัดหาทรัพยากร เช่น เงินลงทุน เจ้าของต้องรับผิดชอบต่อความล้มเหลว และภาระหนี้สินไม่จากัดจานวน ความสามารถในการบริหารจัดการมีจากัด ความเสี่ยงต่อความล้มเหลวสูง ขาดพนักงานที่มีความสามารถ ขาดความต้องเนื่องในการดาเนินธุรกิจ ขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจเจ้าของคนเดียว 1. การจดทะเบียนผู้ประกอบการ ภายใน 30 วัน 2. การแสดงป้ายชื่อ หากธุรกิจมีรายได้ปีละ 1,800,000 3. การยื่นขอบัตรประจาตัวผู้เสียภาษี บาทขึ้นไป* อย่าลืมไปจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่มนะคะ 4. การยื่นเสียภาษี ที่มา: กรมสรรพากร http://www.rd.go.th/publish/7060.0.html ลักษณะของผู้ที่จะดาเนินธุรกิจเจ้าของคนเดียว ต้องการความสาเร็จ มุ่งมั่นตั้งใจ และพยายาม เชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้าทา เต็มใจที่จะเสี่ยงอย่างมีเหตุผล กระตือรือร้น ค้นหาสิ่งใหม่ อัตราการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2567 เงินได้สุทธิ (บาท) อัตราภาษี 0-150,000 ได้รับการยกเว้น 150,001-300,000 5% 300,001-500,000 10% 500,001-750,000 15% 750,000 – 1,000,000 20% 1,000,001-2,000,000 25% 2,000,001-5,000,000 30% 5,000,001 ขึ้นไป 35% ธุรกิจที่มีเจ้าของตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป กิจการที่มีเจ้าของคนเดียว เมื่อมีการขยายตัวมากขึ้น จนเจ้าของผู้เดียว มีทรัพยากร ไม่เพียงพอในการดาเนินธุรกิจ เจ้าของคนเดียว อาจจาเป็นต้องมีการร่วมทุนกันในการก่อสร้างธุรกิจ ซึ่งอาจเป็นการลงทุนร่วมกันในเฉพาะแต่เงิน หรือลงทุนร่วมกันในทรัพยากรอื่นๆ ได้แก่ เครื่องมือ แรงงาน หรืออื่นๆ สามารถแบ่งรูปแบบขององค์กรตามทรัพยากรที่นามาลงทุนร่วมกัน ดังนี้ การลงทุนร่วมกันโดยใช้เงินและสิ่งของอื่นๆ ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจากัด บุคคล 1. การลงทุนร่วมกันโดยใช้เงินและสิ่งของอื่นๆ o ผู้ที่เป็นหุ้นส่วนกันทุกคนนาสิ่งใดสิ่งหนึ่งมาลงหุ้นร่วมกัน o เงิน ทรัพย์สินสิ่งอื่น หรือเป็นแรงงาน o หากไม่มีข้อตกลงใดๆ ไว้ ให้ถือว่าเงิน ทรัพย์สิน หรือแรงงานที่ลงร่วมกันนั้นมีมูลค่า เท่ากัน o ซึ่งถือได้ว่าการร่วมหุ้นกันนี้ เป็นลักษณะองค์กรธุรกิจ “ประเภทห้างหุ้นส่วน” 1.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnership) เป็นองค์กรธุรกิจที่จดทะเบียนต่อกระทรวงพาณิชย์ ไม่ได้เป็นนิติบุคคล หุ้นส่วนมีอานาจจัดการในงานขององค์กร โดยให้หุ้นส่วนแต่ละคนเป็น 1 เสียง และความรับผิดของ หุ้นส่วนนั้น ไม่มีกาหนดระยะเวลา ห้างหุ้นส่วนสามัญ ไม่ต้องจัดทาบัญชีเช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา การเสียภาษีของห้างหุ้นส่วนสามัญเป็นการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยแยกออกจากการเสีย ภาษีของหุ้นส่วน แต่อย่างไรก็ตามหาก ห้างหุ้นส่วนสามัญมีรายรับก่อนหักรายจ่าย เกินกว่าปีละ 1.8 ล้านบาท จะต้องทาการจดทะเบียนและเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เว้นแต่จะได้รับการยกเว้นตามกฎหมาย 1.2 ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล (Ordinary Registered Partnership) ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เป็นห้างหุ้นส่วนที่ได้จดทะเบียนเป็น นิติบุคคลต่อกระทรวงพาณิชย์ มีหน้าที่จัดทาบัญชีของธุรกิจ ตามมาตรฐานทางการบัญชี ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล หากห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล มีรายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ เกินกว่า 1.8 ล้านบาท ต้องจดทะเบียน และเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เว้นแต่จะได้รับการยกเว้นตามกฎหมาย ความรับผิดของหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียนนั้น มีเพียง 2 ปีนับแต่หุ้นส่วนผู้นั้นออกจาก ความเป็นหุ้นส่วน อัตราการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.3 ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnership) ห้างหุ้นส่วนจากัด จะต้องมีการจดทะเบียนนิติบุคคลต่อกระทรวงพาณิชย์ มีหน้าที่ในฐานะนิติบุคคลตามที่กฎหมายกาหนด ได้แก่ การชาระบัญชีเมื่อมีการเลิกกิจการ เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล การจดทะเบียน และเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ข้อปฏิบัติในการบริหารงาน และประโยชน์ทางธุรกิจ จะแตกต่างกันตามประเภทของหุ้นส่วน คือ ▪ หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด สามารถนาชื่อหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดนี้ออกเป็นชื่อ ห้างได้ และหุ้นส่วนประเภทนี้เท่านั้นที่มีอานาจจัดการงานได้ ▪ หุ้นส่วนจากัดความรับผิด หมายถึง การที่หุ้นส่วนนั้นจากัดความรับผิดในหนี้สินของกิจการไม่ เกินจานวนเงินค่าหุ้นที่ยังชาระไม่ครบเท่านั้น การเลิกห้างหุ้นส่วน การเลิกห้างหุ้นส่วนโดยข้อสัญญา การเลิกห้างหุ้นส่วนโดยบทบัญญัติของกฎหมาย การเลิกห้างหุ้นส่วนโดยคาสั่งศาล นิติบุคคล บุคคลที่กฎหมายกาหนดขึ้น ไม่ใช่บุคคลที่มีชีวิตจิตใจ ประกอบไปด้วยบุคคลธรรมดาหลายคนที่ เข้ามารวมกันเพื่อที่จะกระทากิจการอันใดอันหนึ่ง ก่อตั้งเป็นนิติบุคคลตามวิธีการที่กฎหมายกาหนด จะมีสิทธิและหน้าที่ต่างๆ ภายใต้กรอกวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ ข้อดีและข้อเสียของห้างหุ้นส่วน ข้อดี ข้อเสีย การก่อตั้งเรียบง่ายไม่ซับซ้อน ความรับผิดในหนี้สินจานวนไม่จากัด ความสามารถในการเติบโต การระดมทุน อาจมีปัญหาในการจัดการและปัญหาในความ ความรู้และความสามารถ และความคิดที่มี ขัดแย้งภายในระหว่างหุ้นส่วน ความหลากหลายในการตัดสินใจทางธุรกิจ มีความต่อเนื่องของกิจการ กระจายความเสี่ยง มีข้อยุ่งยากในการเปลี่ยนหรือโอนความเป็นเจ้าของ การบริหารมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ข้อแตกต่างห้างหุ้นส่วนสามัญกับห้างหุ้นส่วนจากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจากัด 1. มีผู้เป็นหุ้นส่วนเพียงประเภทเดียวคือประเภทไม่ 1. มีผู้เป็นหุ้นส่วน 2 ประเภท คือประเภทที่ไม่จากัด จากัดความรับผิดชอบในหนี้สิน ความรับผิดชอบ และประเภทที่จากัดความรับผิดชอบ 2. ผู้เป็นหุ้นส่วนมีสิทธิ์เข้าจัดการกับห้างหุ้นส่วนได้ 2. ผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดชอบไม่มี สิทธิเข้าจัดการกับห้างหุ้นส่วน 3. ทุนที่นามาเป็นเงินสด สินทรัพย์ต่างๆ 3. หุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดชอบลงทุน และแรงงานได้ เป็นแรงงานไม่ได้ ข้อแตกต่างห้างหุ้นส่วนสามัญกับห้างหุ้นส่วนจากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจากัด 4. จดทะเบียนหรือไม่จดทะเบียนก็ได้ 4. ต้องจดทะเบียน และมีสถานภาพเป็นนิติบุคคล 5. เจ้าหนี้มีสิทธิ์เรียกร้องให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใช้หนี้จาก 5. เจ้าหนี้ไม่มีสิทธิเรียกร้องให้ใช้หนี้จากสินทรัพย์ สินทรัพย์ส่วนตัวได้ ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทจากัดความ รับผิดชอบ 6. เมื่อหุ้นส่วนผู้ใดถึงแก่ความตาย หรือลาออกจากห้าง 6. หุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดชอบ ตาย หุ้นส่วน หรือล้มละลาย สัญญาเข้าเป็นหุ้นส่วนเป็นอัน ลาออก หรือล้มละลาย ไม่ต้องเลิกกิจการ สิ้นสุดต้องเลิกกิจการ การลงทุนร่วมกันโดยใช้เงินเพียงอย่างเดียว บริษัทจากัด บริษัท มหาชน จากัด การลงทุนร่วมกันโดยใช้เงินเพียงอย่างเดียว o การลงทุนร่วมกันโดยใช้เงินเพียงอย่างเดียว o เพื่อให้เกิดความชัดเจน และง่ายต่อการจัดการระหว่างหุ้นส่วนโดยเฉพาะในเรื่อง ผลตอบแทน o แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามขนาดของจานวนหุ้น ดังนี้ 2.1 บริษัทจากัด (Limited Company) / บริษัทเอกชน บริษัทเอกชน ที่มีผู้ร่วมกันก่อตั้งบริษัท (ผู้เริ่มก่อการ) อย่างน้อย 2 คน องค์กรธุรกิจ จะแบ่งทุนที่ต้องใช้ในการดาเนินธุรกิจออกเป็นหุ้นที่มีมูลค่าเท่ากัน โดยหุ้นส่วนจะถือหุ้นตามที่ตนเองต้องการ และมีความรับผิดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ยัง ค้างส่งชาระมูลค่าหุ้นตามที่ตนเองถือไว้ เมื่อบริษัทจดทะเบียนถูกต้องเรียบร้อยแล้ว อานาจในการจัดการงานขององค์กร เป็นของกรรมการบริษัท หากแต่เป็นอานาจเฉพาะ ตามวัตถุประสงค์ในหนังสือบริคณห์สนธิ ระเบียบซึ่งถูกกาหนดในข้อบังคับบริษัท และมติของ ที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น หากกรรมการกระทาการใดๆ เกินกว่าอานาจในข้างต้นย่อมไม่ผูกพัน บริษัท ลักษณะสาคัญของบริษัทจากัด คณะผู้ก่อตั้งตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แต่ไม่ถึง 100 คน ชื่อบริษัทต้องมีคาว่า “จากัด” ท้ายชื่อ ออกหุ้นได้เฉพาะหุ้นทุนและทุนเรือนหุ้น ซึ่งต้องไม่ต่ากว่าหุ้นละ 5 บาท ผู้ถือหุ้นแต่ละคนรับผิดชอบเพียงจานวนเงินมูลค่าหุ้นที่คงค้างอยู่ เมื่อชาระ ครบเต็มจานวนมูลค่าหุ้น ถือว่าผู้ถือหุ้นไม่ต้องรับผิดชอบใดๆอีก อย่าลืม การจดหนังสื อ เข้าชื่อกันเพื่อทาหนังสื อ “บริคณห์ สนธิ” บริคณห์ สนธิและ และกระทาการอย่างอื่นตามบทบัญญัติแห่ง จัดตั้งบริษัทภายใน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ วันเดียวกัน รูปแบบการระดมทุน บริษัทจากัดระดมทุนผ่าน “หุ้น” หุ้น หมายถึง สิทธิ์แสดงความเป็นเจ้าของที่ออกให้แก่ผู้ถือหุ้นในบริษัทจากัด ผู้ถือหุ้นจะได้รับ ส่วนแบ่งกาไรจากการดาเนินงานในรูปแบบ “เงินปันผล” หุ้นทุนแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ หุ้น หมายถึงเงินทุนทีผ่ ู้ถือหุ้น เอามาให้ บริษัทใช้ ในการ ดาเนินงาน หุ้น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ์ ได้เงินปันผลตามอัตรากาไร ได้รับเงินปันผลในอัตราตายตัว มีสิทธิ์ในการออกเสียงเกี่ยวกับการดาเนินงาน ไม่มีสิทธิ์ออกเสียงเกี่ยวกับการดาเนินงาน ได้รับเงินปันผลและการคืนทุนหลังผู้ถือหุ้นบุริม ได้รับเงินปันผลและการคืนทุนก่อนผู้ถือหุ้นสามัญ สิทธิ์ การจัดการในบริษัท ผู้ถือหุ้น กรรมการบริหาร ผู้บริหารบริษัท บริษัทที่จัดตั้งแล้วการเรียกประชุ ม ใหญ่ ต้องลงพิมพ์โฆษณาใน หนังสื อพิมพ์อย่ างน้ อยหนึ่งครั้ง และ ต้ องส่ งทางไปรษณีย์ตอบรับด้ วย ข้อดีและข้อเสียของบริษัทจากัด ข้อดี ข้อเสีย การจากัดความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้น ต้นทุนในการดาเนินงานจะสูงกว่าองค์การ เสี่ยงเท่าที่ตนเองลงทุน ธุรกิจในรูปแบบอื่น มีความต่อเนื่องในการดาเนินกิจการ มีการเรียกเก็บภาษีซ้าซ้อน มีความได้เปรียบในการเพิ่มทุนและ อาจมีข้อขัดแย้งระหว่างผู้บริหารและผู้ถือ ขยายกิจการ หุ้นเกี่ยวกับการดาเนินงาน โอนหรือขายหุ้นขอนตนให้ผู้อื่นได้ง่าย บริษัทมีการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ และมีความต่อเนื่อง 2.2 บริษัทมหาชนจากัด (Public Limited Company) บริษัทมหาชนจากัด มีลักษณะการดาเนินการคล้ายกับบริษัทจากัด แต่ มีข้อแตกต่าง คือ (1) มีจานวนผู้เริ่มจัดตั้งไม่น้อยกว่า 15 คน (2) หนังสือบริคณห์สนธิจะต้องระบุวัตถุประสงค์ที่จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน (3) หลังจากจดทะเบียนต่อสานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทแล้ว ต้องขออนุญาตเสนอขายหุ้น ต่อประชาชนจากคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (4) เมื่อมีผู้จองหุ้นครบตามจานวนที่กาหนดไว้ในเอกสารหรือหนังสือชี้ชวน เกี่ยวกับการเสนอ ขายหุ้นต่อประชาชน ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของจานวนหุ้นที่กาหนดไว้ในหนังสือ บริคณห์สนธิ ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทสามารถประชุมผู้จองหุ้นเพื่อจัดตั้งบริษัทได้ 2.2 บริษัทมหาชนจากัด (Public Limited Company) o การบริหารงานของบริษัทมหาชนจากัด จะดาเนินการโดยคณะกรรมการ เช่นเดียวกับบริษัทจากัด o มีคณะกรรมการ ต้องมีไม่น้อยกว่า 5 คน และไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งต้องเป็นผู้ที่มีถิ่นที่อยู่ใน ประเทศไทย o หากเป็นบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ จะต้องมีกรรมการที่เป็นกรรมการ อิสระอย่างน้อย 2 คน ซึ่งแต่ละคนจะต้องไม่ถือหุ้นเกินร้อยละ 5 และจะเป็นพนักงานบริษัท ไม่ได้ o การบริหารงานของคณะกรรมการบริษัทมหาชนจากัด ต้องอยู่ภายใต้ความครอบงาของที่ ประชุมใหญ่ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ซึ่งจะต้องจัดให้มีภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบบัญชีของ บริษัท 2.2 บริษัทมหาชนจากัด (Public Limited Company) o การเสียภาษีของบริษัทมหาชนจากัด ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล o ถ้าประกอบกิจการในข้อบังคับของกฎหมายที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม o และภาษีธุรกิจเฉพาะอื่นๆ ต้องดาเนินการตามกฎหมายกาหนด o ในส่วนของผู้ถือหุ้นนั้น ผู้จ่ายเงินปันผลต้องหักภาษีเงินได้ ณ.ที่จ่ายร้อยละ 10 เช่นเดียวกับ บริษัทจากัด o บริษัท สามารถออกหุ้นได้ทั้งหุ้นทุน และหุ้นกู้ หุ้นกู้ หมายถึง หุ้นที่บริษัทออกจาหน่ายแก่ประชาชนทั่วไป ที่ต้องการถือครองหุ้นของบริษัท โดยผู้ถือหุ้นจะมีฐานะเป็น เจ้าหนี้ของบริษัท ไม่มีสิทธิ์ออกเสียงในการดาเนินงาน ความแตกต่างระหว่างบริษัทจากัดและบริษัทมหาชนจากัด ลักษณะ บริษัทจากัด บริษัทมหาชนจากัด จานวนผู้ริเริ่ม 2 คน 15 คน จานวนผู้ถือหุ้น 2-99 คน 100 คนขึ้นไป หนังสือชี้ชวน ห้ามออก ออกแจกจ่ายประชาชนทั่วไปได้ ทุนจดทะเบียน ไม่กาหนด ชาระเป็นเงินสดไม่ต่ากว่า 5 ล้านบาท กรรมการ เลือกจากบุคคลภายนอกได้ ต้องเลือกจากผู้ถือหุ้นเท่านั้น มูลค่าหุ้น ไม่ต่ากว่าหุ้นละ 5 บาท - การชาระค่าหุ้น แบ่งชาระได้ และครั้งแรก ต้องชาระครั้งเดียวให้หมดและต้องชาระผ่าน ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 ธนาคาร การออกหุ้นกู้ ออกไม่ได้ ออกได้ สหกรณ์ (COOPERATIVE) สหกรณ์ : เป็นรูปแบบธุรกิจอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีคณะบุคคลตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ที่มีอาชีพความต้องการ ความสนใจที่คล้ายคลึงร่วมกันจัดตั้งขึ้น และจดทะเบียนถูกต้อง ตามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ในปัจจุบันมี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมอาชีพ การครองชีพของ สมาชิกและครอบครัวให้มีฐานะความเป็อยู่ที่ดีขึ้น ซึ่งเป็นวิธีที่ให้ประโยชน์ทั้งต่อสมาชิกของ สหกรณ์ และต่อส่วนรวม สหกรณ์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 มาตรา 7) ได้แก่ 1. สหกรณ์จากัด เป็นสหกรณ์ที่สมาชิกมีความรับผิดชอบจากัด เพียงไม่เกินจานวนค่าหุ้น ที่ยังใช้ไม่ครบมูลค่าหุ้นที่ตนถือ 2. สหกรณ์จากัด เป็นสหกรณ์ที่สมาชิกทุกคนมีความรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อหนี้ทั้งปวงของสหกรณ์ ไม่จากัด 5. รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) เป็นองค์กรของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐบาล เป็นเจ้าของร่วมทั้งบริษัท หรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลที่ส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ โดยมีหุ้นเกินกว่าร้อยละ 50 มีระบบการบริหารงาน อยู่ระหว่างราชการและเอกชน รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) วัตถุประสงค์ที่สาคัญในการจัดตั้งดังนี้ 1. เพื่อความมั่นคงของประเทศ เพราะกิจการบางอย่างมีความจาเป็นที่ต้องใช้ในยามฉุกเฉิน เช่น การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย 2. เพื่อประโยชน์ของสังคมในการให้บริการประชาชน ซึ่งส่วนใหญ่ 3. เพื่อหารายได้เข้ารัฐ เนื่องจากธุรกิจบางประเภทมีผลกาไรเป็นจานวนมาก เช่น สานักงาน สลากกินแบ่งรัฐบาล 4. เพื่อควบคุมสินค้าบางชนิดที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคม เชJน โรงงานสุรา โรงงานยาสูบ 5. เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ชื่อเสียงของประเทศให้เป็นที่รู้จักของชาวต่างประเทศพร้อม กับเชิญชวนมาให้ท่องเที่ยวในประเทศไทย เช่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย รัฐวิสาหกิจ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. รัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคล เป็นองค์กร และหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้น มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย มีการดาเนินงานที่ แยกออกจากผู้ถือหุ้น หรือเจ้าของกิจการโดยเฉพาะ เช่น การสื่อสารแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย องค์การสวนสัตว์ธนาคารแห่ง ประเทศไทย บริษัทขนส่ง เป็นต้น 2. รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นนิติบุคคล เป็นกิจการบางอย่างของรัฐที่จัดตั้งขึ้นโดยใช้ทุนดาเนินการของรัฐทั้งหมด สังกัด หน่วยงาน ราชการที่เป็นผู้ก่อตั้งขึ้น แต่ไม่มีฐานะเป็นนนิติบุคคล เช่น โรงงานยาสูบ และสานักงานสลากกิน แบ่งรัฐบาล ซึ่งสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นต้น รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจประเภทอื่น ระบบแฟรนไชส หมายถึง กระบวนการทางธุรกิจที่ องค์กรธุรกิจ หนึ่ง ๆ ได้พัฒนาวิธีการและรูปแบบ จนได้รับการพิสูจน์ ด้ ว ย ร ะ ย ะ เ ว ล า แ ล้ ว ว่ า ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ในการประกอบการ และการจัดการธุรกิจในระดับหนึ่ง แล้วได้ถ่ายทอดสิทธิ์ในการประกอบธุรกิจ ตามวิธีการ และรู ป แบบดั ง กล่ า ว พร้ อ มกั บ ตั ว สิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร ใ ห้ กั บ บุ ค ค ล ห รื อ ก ลุ่ ม บุ ค ค ล อื่ น ภ า ย ใ ต้ ต ร า หรือเครื่องหมายการค้า และบริการอันหนึ่งอันใด ระบบแฟรนไชส์ แฟรนไชส์เซอร์ (Franchisor) หรือเจ้าของธุรกิจแฟรนไชส์ แฟรนไชส์ซี (Franchisee) หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์ คือ ผู้รับสิทธิ์ในการดาเนินธุรกิจ มีคาถามไหม? ค่ะ ใบงานที่ 2 โจทย์ จากเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ที่ถามว่า “ธุรกิจที่นิสิตอยากทาในอนาคต คือ ธุรกิจใด” ในสัปดาห์นี้ (1) นิสิตจะตัดสินใจดาเนินธุรกิจในรูปแบบใด (2) เหตุผลในการตัดสินใจเลือก รูปแบบธุรกิจนั้นเพราะอะไร มีข้อดี/ข้อเสียอย่างไร

Use Quizgecko on...
Browser
Browser