Chapter 02 รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ_YE PDF

Document Details

WorkableMoldavite9915

Uploaded by WorkableMoldavite9915

Mahasarakham Business School

Tags

business models business structures entrepreneurship business plans

Summary

This document discusses different business structures, specifically focusing on the advantages and disadvantages of single proprietorship business models. It also explores business models, particularly the various aspects of setting up a business.

Full Transcript

บทที่ 2 รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจสาหรับผู้ประกอบการใหม่ รายวิชา 0043004 ผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ วัตถุประสงค์... 1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจความสาคัญและเรียนรู้ทางเลือกของรูปแบบ การจัดตั้งธุรกิจ รวมถึงข้อจากัดของธุรกิจแต่ละรูปแบบ 2.เพื่อให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ความรู้ในการวางแผนแ...

บทที่ 2 รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจสาหรับผู้ประกอบการใหม่ รายวิชา 0043004 ผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ วัตถุประสงค์... 1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจความสาคัญและเรียนรู้ทางเลือกของรูปแบบ การจัดตั้งธุรกิจ รวมถึงข้อจากัดของธุรกิจแต่ละรูปแบบ 2.เพื่อให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ความรู้ในการวางแผนแนวคิดทางธุรกิจ ของตนเอง รูปแบบการจัดตั้งธุ รกิจ การประกอบธุ ร กิ จมี ด้ ว ยกั น หลายประเภท แต่ ละรู ปแบบมี ข้ อ ดี และข้อเสียแตกต่างกัน ดังนั้นผู้ที่จะประกอบธุรกิจ ควรจะต้องศึกษา และเลื อ กรู ปแบบที่ จ ะด าเนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ต รงกั บ ความต้ อ งการและ เหมาะสมกั บภาวะแวดล้ อมต่ าง ๆ ให้มากที่ สุด เพื่อให้ ธุรกิ จที่ ต้ั งขึ้น เจริญก้าวหน้าและประสบความสาเร็จตรงตามเป้าหมาย ปัจจัยทีต ่ ้องพิจารณาในการเลือกรูปแบบธุรกิจ 1. ความยากง่ายของการก่อตั้ง: กิจการเจ้าของคนเดียว มีความไม่ซับซ้อน ก่อตั้งง่าย อัตราค่าธรรมเนียม ต่างๆน้อยกว่าธุรกิจประเภทอื่น 2. ขอบเขตความรับผิดชอบในหนี้: แต่ละธุรกิจความรับผิดชอบหนี้ไม่เท่ากัน: ธุรกิจเจ้าของคนเดียว รับผิดชอบหนี้คนเดียว, ธุรกิจผู้ประกอบการหลายคน ร่วมกันรับผิดชอบหนี้ 3. ความคล่องตัวในการดาเนินงาน: เจ้าของคนเดียว คล่องตัวสูง, บริษัท การดาเนินงานซับซ้อน ประชุม ระหว่างหุ้นส่วน 4. ความสามารถในการเพิม ่ ทุนขยายกิจการ: การให้เครดิตจะพิจารณาจากรูปแบบธุรกิจ: นิติบุคคลมีความ น่าเชื่อถือสูง การเพิม ่ ทุนได้ง่าย 5. สิทธิในการควบคุมการดาเนินงานของธุรกิจ:ธุรกิจเจ้าของคนเดียว มีสท ิ ธิในการดาเนินงานมาก บริษัท การจ้างผู้บริหารงานแทนผู้ถือหุน ้ 6. การรักษาความลับ: ธุรกิจเจ้าของคนเดียว สามารถเก็บความลับได้ดี ปัจจัยทีต ่ ้องพิจารณาในการเลือกรูปแบบธุรกิจ 7. ความมีอิสระจากการควบคุมโดยรัฐ ธุรกิจแบบเจ้าของคนเดียว มีอิสระจากการควบคุมของรัฐมาก ที่สุด, บริษัท อิสระน้อยเพราะเกี่ยวข้องกับคนจานวนมาก,รัฐวิสาหกิจ รัฐถือหุ้นใหญ่ 8. ปัจจัยด้านกฎหมาย ธุรกิจบางอย่างมีข้อจากัดเรื่องกฎหมาย เช่น ธุรกิจการขุดเจาะน้ามันต้องใน รูปบริษัทจากัด เท่านั้น รูปแบบอื่นไม่สามารถขอขุดเจาะน้ามันได้ 9. ความมั่นคงและความต่อเนื่องของการดาเนินงาน: แต่ละธุรกิจจะมีความต่อเนื่องและความมั่นคง ต่างกัน ธุรกิจเจ้าของคนเดียวความมั่นคงน้อย 10. ปัจจัยด้านภาษี: ธุรกิจแบบบริษัทต้องเสียภาษีทก ุ ครึ่งปี(นิติบุคคล), ธุรกิจเจ้าของคนเดียว เสีย แบบเงินได้บุคคลธรรมดา รูปแบบการจัดตั้งธุ รกิจตามโครงสร้างทางธุ รกิจ แบ่งกิจการตาม...ลักษณะโครงสร้างทาง ธุรกิจหรือจานวนของเจ้าของธุรกิจ ดังนี้ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว 2. ห้างหุ้นส่วน 3. บริษัท 4. สหกรณ์ 5. รัฐวิสาหกิจ 1.กิจการเจ้าของคนเดียว (Single/Sole Proprietorship) กิจการที่จัดตั้ง มีผู้ลงทุนหรือเจ้าของเพียงบุคคลคนเดียว การดาเนินของกิจการอยู่ภายใต้ การควบคุมดูแลของบุคคลเพียงคนเดียว การจัดตั้งกิจการเป็นไปอย่างง่าย ไม่ซับซ้อน เจ้าของดาเนินการเองเกือบทั้งหมด เป็น กิจการขนาดเล็ก เช่น ร้านค้าขายปลีก เจ้าของจะเป็นผู้รับกาไร/ขาดทุนทั้งหมดแต่เพียงผูเ้ ดียว ในทางกฎหมายกิจการเจ้าของ คนเดียวถือว่า เป็นบุคคลธรรมดาไม่ได้เป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากผู้เป็นเจ้าของ ส่วนได้ส่วนเสียในกิจการเจ้าของคนเดียว เรียกว่า “ส่วนของผู้เป็นเจ้าของ” หรือ “ทุน” ข้อดีของกิจการของเจ้าของคนเดียว ข้อเสียของกิจการเจ้าของคนเดียว 1. เจ้ากิ จจการเจ้ ของกิ าของคนเดี การมีอิสระ และความคล่ องตัวในการ ย1.วอัต(Single/Sole ราความล้มเหลวมีสงู เนื่องจากเป็นกิจการที่การ Proprietorship) บริหารหรื อดาเนินการต่าง ๆได้เต็มที่ ตัดสินใจเอง บริหารขึ้นอยู่กับเจ้าของกิจการเพียงผู้เดียว หาก เจ้าของกิจการขาดความรู้ความสามารถในการบริหาร ก็จะทาให้ธุรกิจไม่ประสบความสาเร็จ 2. การจัดตั้ง-การเลิกกิจการ สามารถทาได้ง่ายและ 2. การจัดหาเงินทุนในการขยายกิจการค่อนข้าง สะดวก ยาก เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีอัตราความล้มเหลว สูง ขาดความน่าเชื่อถือ และไม่สามารถขายหุ้นได้ 3. ได้รับรายได้/กาไร ในการประกอบการเพียงคน 3. ต้องรับผิดชอบหนี้สินไม่จากัด เนื่องจากกฎหมาย เดียว ถือว่าเจ้าของกิจการและธุรกิจเป็นบุคคลคนเดียว หาก ทรัพย์สินของกิจการไม่พอชาระหนื้ ต้องนาทรัพย์สิน ส่วนตัวมาชาระหนี้ทั้งหมด กิจการเจ้าของคนเดียว (Single/Sole ข้อดีของกิจการของเจ้าของคนเดียว ข้อเสียของกิจการเจ้าของคนเดียว Proprietorship) 4. การเสียภาษี กฎหมายถือว่าเจ้าของ 4. อ า ยุ ก า ร ด า เ นิ น กิ จ ก า ร จ ะ ขึ้ น อ ยู่ กั บ กิจการและธุรกิจเป็นบุคคลคนเดียวกัน จึง เ จ้ า ข อ ง กิ จ ก า ร ถ้ า เ จ้ า ข อ ง กิ จ ก า ร เสียภาษีแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (เสีย ตาย หรือไม่มีความสามารถ ส่งผลให้ธุรกิ จ ภาษี โดยถือเอารายได้เป็นเครื่องวัดตาม จะสิน ้ สุดลงในเวลาอันรวดเร็ว ความสามารถของบุคคล) 5. สามารถรักษาความลับของกิจการได้ ดี เพราะไม่มข ี ้อบังคับทางกฎหมายทีจ ่ ะต้อง เปิดเผยข้อมูลแก่บุคคลอื่น 2.ห้างหุ้นส่วน (Partnership) กิจการทีม ี ารจัดตั้งโดยบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกันลงทุน ทาสัญญา ่ ก ตกลงร่วมกั น ที่จะดาเนินกิจการเป็นหุ้นส่วนกัน เพื่อหวั งผลกาไรจากกิจการที่ ทาร่วมกัน โดยทั่วไปห้างหุ้นส่วนจะมีขนาดใหญ่กว่ากิจการเจ้าของคนเดียวและสิทธิ ส่วนได้ส่วนเสียของหุน ้ ส่วนทุกคนในกิจการ เรียกว่า “ส่วนของผูเ้ ป็นหุน ้ ส่วน” 2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnership) 2.2 ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnership) 2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnership) คือ ห้างหุ้นส่วนที่ทุกคนต้องร่วมกันรับผิดในหนี้ของกิจการ โดยไม่จากัดจานวน เรียกว่า หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด สามารถจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหรือไม่ก็ได้ 2.1.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญที่ ไม่ได้ จดทะเบียน กิจการจะมีสภาพเป็นคณะบุคคล ธรรมดา ( ไม่เป็นนิติบุคคล ) หุ้นส่วนจะต้องเสียภาษี เงินได้บุคคลธรรมดาตามอัตรา ของบุคคลธรรมดา 2.1.2 ห้ า งหุ้ น ส่ ว นสามั ญ ที่ จ ดทะเบี ย น กิ จ การจะมี ส ภาพเป็ น นิ ติ บุ ค คลตาม กฎหมาย มีช่ ือเรียกเฉพาะ มีคานาหน้าชื่อ “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล” เมื่อเป็นนิติ บุคคล กิจการประเภทนีต ้ ้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามอัตราที่ภาครัฐกาหนด 2.2 ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnership) 1. หุ้นส่วนจากัดความรับผิด คือ มีผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลายคน ซึ่งจากั ดความรับผิดในหนี้สินของห้างหุ้นส่วนเพียงจานวนที่ตนเอง ลงทุ น เท่ า นั้ น โดยการลงทุน จะลงทุน ด้ ว ยเงิ น สด หรื อ สิ น ทรั พ ย์ อ่ ื น เท่านั้น 2. หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด คือ ผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลาย คน ซึ่งรับผิดในหนี้สินทั้งหมดของห้างหุ้นส่วน โดยไม่จากัดจานวน ข้อดีของห้างหุ้นส่วน ข้อเสียของห้างหุ้นส่วน 1. ถ้าหุ้นส่วนแต่ละคนมีความสามารถ ความ 1. ถ้าผู้ถือหุ้นส่วนบางคนทีไ่ ม่สุจริต หรือทา ชานาญ และมีประสบการณ์ในแต่ละด้านจะทา การโดยประมาทเลินเล่อ จะทาให้ผู้ถือหุ้นส่วน ให้การบริหารธุรกิจสาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี อื่นเสียหายไปด้วย 2. การจัดหาเงินทุนทาได้ง่ายกว่ากิจการ 2. มีความล่าช้าในการตัดสินใจและอาจเกิด เจ้าของคนเดียว เพราะมีหุ้นส่วนหลาย ความขัดแย้งกันได้ง่าย เนื่องจากมีผู้ถือหุ้น คน สถาบันทางการเงินจึงให้กู้ง่ายกว่า หลายคน 3. จัดตั้งได้ง่ายกว่าการจัดตั้งบริษัทจากัด 3. มีหนีส ้ ินไม่จากัด หากไม่สามารถชาระหนี้ เพราะ ข้อจากัดทางกฎหมายมีไม่มาก ของกิจการได้หมด เจ้าหนีส ้ ามารถเรียกร้อง ทรัพย์สินส่วนตัวของหุ้นส่วนแต่ละคนได้ 4. ถอนทุนคืนได้ยาก เพราะมีขอ ้ จากัดตาม ข้อตกลงในสัญญาและกฎหมาย บริษัท (Company Limited or Corporation) คือ กิจการหรือธุรกิจ ที่สามารถระดมทุนจากบุคคลภายนอก ผู้ลงทุน รับผิดเพียงเงินที่ลงทุนเท่านั้น บริหารงานโดยผู้ชานาญ/มีประสบการณ์, โครงสร้างขององค์กรสามารถขยายขนาดกิจการ, การจัดตั้งกิจการจะแบ่ง เงินทุนออกเป็นหน่วยย่อยเรียกว่า “หุ้น (Share)” 1. บริษัทเอกชนจากัด หรือบริษัทจากัด (Private Company Limited) 2. บริษัทมหาชนจากัด (Public Company Limited) บริษัทเอกชนจากัด หรือบริษัทจากัด (Private Company Limited) ต้องมีผู้รว่ มลงทุน(ก่อตั้ง) อย่างน้อย 3 คน แบ่งทุนออกเป็นหุน ้ และมีมูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน มูลค่าของหุ้นจะต้องไม่ต่ากว่า 5 บาท ห้ามขายหุ้นในราคาต่ากว่ามูลค่าที่ต้ังไว้และมิให้ช้ช ี วนให้ประชาชนซื้อหุ้น ความรับผิดของผู้ถือหุ้นมีจากัด เฉพาะจานวนเงินค่าหุ้นที่ยังส่งใช้ไม่ครบ บริษัทเอกชนจากัด จึงมีสถานะเป็น นิติบุคคล บริษัทมหาชนจากัด (Public Company Limited) ชื่อบริษัท จะต้องมีคาว่า “จากัด (มหาชน)” ไว้ท้ายชื่อเสมอ ต้องมีผู้ร่วมลงทุน (ก่อตั้ง) อย่างน้อย 15 คน แบ่งทุนออกเป็นหุ้น และมีมูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน จะต้องกาหนดมูลค่าหุ้นขั้นต่าตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งปท. มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอขายหุ้นต่อประชาชน ความรับผิดของผู้ถือหุ้นมีจากัด เฉพาะจานวนเงินค่าหุ้นที่ยังส่งใช้ไม่ครบ ข้อดีของบริษัทจากัด ข้อเสียของบริษัทจากัด 1. การจัดการมีประสิทธิภาพ เนื่องจากบริษัทมักจะ 1. การจัดตั้งยุ่งยากและเสียค่าใช้จ่ายสูง เนื่องจากมี ใช้ผู้บริหารมืออาชีพและมีระบบการทางานที่ดีกว่า ข้อจากัดทางกฎหมายและหน่วยงานของรัฐดูแลอย่าง ธุรกิจรูปแบบอื่น ๆ เข้มงวด 2. ผู้ถือหุน ้ รับผิดชอบจากัด เฉพาะค่าหุน ้ ที่ตนยังค้าง 2. ไม่สามารถปกปิดความลับของกิจการได้ จ่ายแก่บริษัทเท่านั้น ถ้าบริษัทมีหนี้สน ิ ใดๆผู้ถือหุน ้ ไม่ ทั้งหมด เพราะต้องเปิดเผยข้อมูลแก่รัฐตามที่กฎหมาย ต้องรับผิดชอบ กาหนด 3. โอน หรือขาย หรือขยายกิจการได้ง่าย เนื่องจาก 3. ถ้าผ่ายบริหารไม่ใช้ผู้ถือหุน ้ อาจบริหารงานไม่ บริษัทจากัด มีความน่าเชื่อถือในกลุ่มของบุคคลและ รอบคอบทาให้ธุรกิจล้มเหลวได้ สถาบันทางการเงิน 4. มีความมั่นคงถึงแม้จะมีการเปลี่ยนแปลงเจ้าของ 4. ผู้ประกอบการต้องเสียภาษีซ้าซ้อน คือ ภาษีเงินได้ บริษัท เช่น ผู้ถือหุน ้ เสียชีวิต ล้มละลาย หรือศาลให้ นิติบุคคล และ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นผู้ไร้ความสามารถ กิจการไม่ต้องล้มเลิกไป 4. สหกรณ์ (Cooperative) รู ปแบบธุรกิจซึ่งมีคณะบุคคลตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ที่มีอาชีพความต้องการ ความ สนใจที่คล้ายคลึง ร่วมกันจัดตั้งสหกรณ์ข้น ึ สหกรณ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมอาชีพ การครองชีพของสมาชิกและครอบครัว ให้มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน ซึ่งเป็นวิธีที่ให้ประโยชน์ท้ังต่อสมาชิกของสหกรณ์ และต่อส่วนรวม สหกรณ์จากัด และสหกรณ์ไม่จากัด ข้อดีของสหกรณ์ ข้อเสียของสหกรณ์ 1. กฎหมายให้การสนับสนุนช่วยเหลือ เช่น ไม่ 1. สมาชิกที่เป็นผู้ผลิตไม่สามารถตั้งราคาขาย ต้องเสียภาษีเงินได้สาหรับผู้บริโภค ผลผลิตของตนเองได้ตามใจชอบ เพราะสหกรณ์ จะเป็นผู้กาหนด 2. เป็นการรวมสมาชิกเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและ 2. หากสมาชิกไม่เข้าใจหลักและวิธีการของ กัน สหกรณ์ดีพอ สหกรณ์อาจไม่เจริญก้าวหน้า เท่าที่ควร 3. ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของสหกรณ์ถูก 3. สหกรณ์ขาดเครื่องจูงใจ คือ กาไร ที่น้อยกว่า กว่าธุรกิจประเภทอื่น ธุรกิจประเภทอื่นๆ 4. ได้รับผลประโยชน์ท่ัวถึงในหมู่สมาชิก 4. มีทุนจากัด จึงมีผลต่อการบริหารจัดการ เพราะถ้าหากทาธุรกิจกับสหกรณ์ได้มากก็จะ ได้รับประโยชน์สูง 5.รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) คือ องค์กรของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐบาล เป็นเจ้าของร่วม ทั้งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ ส่วนราชการหรือรัฐวิ สาหกิ จมีหุ้นเกิ นกว่ าร้อยละ 50 มีร ะบบการบริ หารงานอยู่ระหว่ างราชการและ เอกชน รัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคล รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นนิติบุคคล ระบบแฟรนไชส์ Franchises คื อ กระบวนการทางธุ ร กิ จ ที่ อ งค์ ก รธุ ร กิ จ หนึ่ ง ๆ ได้ พั ฒ นาวิ ธี ก ารและรู ป แบบ จนได้ รั บ การ พิสูจน์แล้วว่าประสบความสาเร็จ มี ก ารถ่ า ยทอดสิ ท ธิ์ ใ นการประกอบธุ ร กิ จ ตามวิธีการและรู ปแบบดังกล่าว พร้อมกับตัวสินค้า หรือบริการ ให้กับบุ คคลหรือกลุ่มบุ คคลอื่น ภายใต้ ตราหรือเครื่องหมายการค้า และบริการอันหนึ่งอัน ใด ระบบแฟรนไชส์ Franchises ค่าธรรมเนียมเริ่มต้น (Initial Franchise Fee) บางที่เรียกว่า ค่าสิทธิ์แรกเข้า (Entrance Fee) เงินรายงวด/ค่าธรรมเนียมการจัดการ /ค่ารอยัลตี้ (Royalty Fee) ซึ่งเป็นค่าสิทธิต่อเนื่องบนรายได้ ที่แฟรนไชส์ซี ได้รับจากการดาเนินธุรกิจรายเดือน โดยคิดคานวณจากสัดส่วนของยอดขายสุทธิในแต่ ละเดือน แฟรนไชส์ซอร์และแฟรนไชส์ซี คืออะไร? แฟรนไชส์ เ ซอร์ (Franchisor) หรื อ เจ้ า ของธุ ร กิ จ แฟรนไชส์ คื อเจ้ าของธุ ร กิ จซึ่ งอนุญ าตให้ผู้อ่ ื นได้ ใ ช้ สิ ท ธิ์ ใ นการด าเนิ น ธุ รกิ จ ภายใต้ ช่ ื อของตน หรื อ ผู้ขายแฟรนไชส์น่น ั เอง แฟรนไชส์ ซี (Franchisee) หรื อ ผู้ ซ้ ื อแฟรนไชส์ คื อ ผู้รับสิทธิ์ในการดาเนินธุรกิ จ ทาตามระบบที่เจ้าของ สิ ท ธิ์ ไ ด้ จั ด เตรี ย มไว้ รวมทั้ งได้ ใ ช้ ช่ ื อทางการค้ า เครื่องหมายการค้าเดียวกัน ข้อเสียเปรียบของแฟรนไชส์ ต้องสูญเสียอิสระภาพในการดาเนินธุรกิจ ด้านการสูญเสียการควบคุมโดยตรง สามารถเกิดขึ้นได้หากระบบ ต่าง ๆ ของแฟรนไชส์ไม่ดีพอ หรือปฏิบัติได้ยาก แฟรนไชซีจะเสีย ประโยชน์มาก ค่าใช้จ่ายสูง แฟรนไชซีจาเป็นจะต้องเสียค่าใช้จ่ายล่วงหน้าเพื่อการ ได้มาซื้อสิทธิในการประกอบกิจการ ระบบตัวแทนจาหน่าย DROPSHIP ธุรกิจออนไลน์ 1. Website ขายสินค้า 2. Website เพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์ 3. Website ข่าวสารในวงเฉพาะ หรือเล่าเรื่องแบบมี Theme 4. Blog เพื่อการ รีวิว และโปรโมทสินค้า 5. สร้าง Marketplace เช่น Shopee, Lazada 6. เป็นส่วนหนึ่งของ Marketplace งานท้ายบท ใบงานที่ 1 ให้นิสิตศึกษาตัวอย่างกิจการที่มีอยู่จริงในปัจจุบันมา 1 กิจการ และทา การวิเคราะห์รายละเอียดลงในใบงานที่ 1 (GG classroom)

Use Quizgecko on...
Browser
Browser