การวัดผลการดำเนินงาน (กำไร) PDF
Document Details
Uploaded by FresherNephrite8960
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
Tags
Related
- Financial Accounting for the Hospitality, Tourism, Leisure and Event Sectors PDF
- MANAGERIAL ACCOUNTING Course Guide PDF
- B.Com 1 Financial Accounting Textbook PDF
- Financial Accounting Ratios PDF
- CBSE Class 12 Accounting for Not-for-Profit Organizations Notes PDF
- UNIT 1 Introduction to Financial Accounting PDF
Summary
เอกสารนี้กล่าวถึงแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับการวัดผลกำไรในธุรกิจ รวมถึงการคำนวณกำไรทางเศรษฐศาสตร์และการเปรียบเทียบกับกำไรทางบัญชี
Full Transcript
แนวคิดการวัดผลกาไร ผลกำไร ผลกำไร (Income) เป็ นข้อมูลทำงบัญชี ซึ่ งผูใ้ ช้งบกำรเงินใช้ในกำรตัดสิ นใจเชิง เศรษฐกิจ เช่น ตัดสิ นใจลงทุน จ่ำยเงินปั นผล และจ่ำยภำษีเงินได้ แนวคิดในกำรวัดผลกำไรที่แตกต่ำงกันย่อส่ งผลให้ตวั เลขกำไรแตกต่ำงกันไปด้วย วัตถุประสงค์ ของกำรวัดผลกำไร ใช้ผลกำไรในกำ...
แนวคิดการวัดผลกาไร ผลกำไร ผลกำไร (Income) เป็ นข้อมูลทำงบัญชี ซึ่ งผูใ้ ช้งบกำรเงินใช้ในกำรตัดสิ นใจเชิง เศรษฐกิจ เช่น ตัดสิ นใจลงทุน จ่ำยเงินปั นผล และจ่ำยภำษีเงินได้ แนวคิดในกำรวัดผลกำไรที่แตกต่ำงกันย่อส่ งผลให้ตวั เลขกำไรแตกต่ำงกันไปด้วย วัตถุประสงค์ ของกำรวัดผลกำไร ใช้ผลกำไรในกำรคำดคะเนเหตุกำรณ์ทำงเศรษฐกิจ และผลกำไรในอนำคตที่ คำดว่ำจะเกิดขึ้น ใช้ผลกำไรในกำรประเมินผลกำรบริ หำรงำนและกำรจัดกำรของผูบ ้ ริ หำร ของกิจกำร ใช้ผลกำไรในกำรตัดสิ นใจว่ำควรขำย หรื อควรถือเงินลงทุนในกิจกำรนั้น ต่อไป ใช้ผลกำไรในกำรกำหนดนโยบำยทำงกำรเงิน และกำรจัดกำรที่สำคัญ เช่น นโยบำยกำรจ่ำยเงินปันผล กำรจ่ำยภำษีเงินได้ เป็ นต้น ข้ อควำมพิจำรณำในกำรวัดผลกำไรของกิจกำร รำยกำรใดควรรับรู ้ในงบกำไรขำดทุนเพื่อคำนวณหำผลกำไรสำหรับงวด บัญชี แนวคิดในกำรวัดผลกำไรที่แตกต่ำงกัน จะสำมำรถตอบสนองควำมต้องกำร ของผูใ้ ช้งบกำรเงินทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องได้หรื อไม่ แนวคิดในกำรวัดผลกำไรแนวคิดใดที่ให้ผลกำไรใกล้เคียงกับกำไรทำง เศรษฐศำสตร์ และสำมำรถใช้แนวคิดในกำรวัดผลกำไรทำงเศรษฐศำสตร์มำ ทดแทนแนวคิดกำรวัดผลกำไรทำงบัญชีได้หรื อไม่ ควำมหมำยของกำรวัดผลกำไร 1. กำไรทำงเศรษฐศำสตร์ ➔ ส่ วนที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ำของสิ นค้ำหรื อบริ กำร เนื่องจำกกำรขำย ดังนั้น กำไรทำงเศรษฐศำสตร์ = รำยได้จำกกำรขำยหรื อให้บริ กำร - ต้นทุน ขำยหรื อให้บริ กำร = กำไรขั้นต้น 2. กำไรของกิจกำร ➔ กำไรที่เกิดจำกกำรดำเนินงำนของกิจกำร กำไรดังกล่ำวใช้วดั ประสิ ทธิภำพในกำรดำเนินงำน ดังนั้น กำไรในควำมหมำยนี้จึงเป็ นของเจ้ำของ เจ้ำหนี้ และรัฐ กำไรของกิจกำร = กำไรขั้นต้น – ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำยและบริ หำร = กำไรจำกกำรดำเนินงำน = กำไรก่อนดอกเบี้ยและภำษี ควำมหมำยของกำรวัดผลกำไร 3. กำไรของผูล้ งทุน ➔ กำไรส่ วนที่เป็ นของเจ้ำหนี้และเจ้ำของ กำไรของผูล้ งทุน = กำไรจำกกำรดำเนินงำน – ภำษีเงินได้ = กำไรของกิจกำร – ภำษีเงินได้ 4. กำไรของผูถ้ ือหุน้ ➔ กำไรของกิจกำรหักด้วยดอกเบี้ยและภำษีเงินได้ กำไรจึง เป็ นของผูถ้ ือหุน้ สำมัญและผูถ้ ือหุน้ บุริมสิ ทธิ กำไรของผูถ้ ือหุน้ = กำไรของผูล้ งทุน – ดอกเบี้ยจ่ำย = กำไรสุ ทธิ 5. กำไรของผูถ้ ือหุน้ สำมัญ กำไรของผูถ้ ือหุน้ สำมัญ = กำไรของผูถ้ ือหุน้ – เงินปันผลจ่ำยของผูถ้ ือหุน้ บุริมสิ ทธิ หน่ วย:บำท ผู้รับประโยชน์ รำยได้จำกกำรขำยหรื อให้บริ กำร 10,000,000 ต้นทุนขำยหรื อให้บริ กำร 6,000,000 (1) กำไรขั้นต้ น = กำไรทำงเศรษฐศำสตร์ 4,000,000 เจ้ ำของ เจ้ ำหนี้ รัฐ บุคคลทัว่ ไป ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำยและบริ หำร 1,200,000 บุคคลทัว่ ไป (2) กำไรจำกกำรดำเนินงำน = กำไรของกิจกำร 2,800,000 เจ้ ำของ เจ้ ำหนี้ รัฐ ภำษีเงินได้ 600,000 รัฐ (3) กำไรก่อนดอกเบีย้ จ่ ำย แต่ หลังภำษีเงินได้ = กำไรของผู้ลงทุน 2,200,000 เจ้ ำของ เจ้ ำหนี้ ดอกเบี้ยจ่ำย 800,000 เจ้ำหนี้ (4) กำไรสุ ทธิ = กำไรของผู้ถือหุ้น 1,400,000 เจ้ ำของ เงินปั นผลจ่ำยของหุ น้ บุริมสิ ทธิ 900,000 ผูถ้ ือหุน้ บุริมสิ ทธิ (5) กำไรของผู้ถือหุ้นสำมัญ 500,000 ผู้ถือหุ้นสำมัญ แนวคิดในกำรวัดผลกำไร ➔ พิจำรณำจำกสำเหตุทที่ ำให้ กำรวัดผล กำไรแตกต่ ำงกัน 1. แนวคิดทำงกำรบัญชี 2. แนวคิดทำงเศรษฐศำสตร์ 3. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม 4. แนวคิดเกี่ยวกับกำไรภำยใต้ควำมไม่แน่นอน 1. แนวคิดทำงกำรบัญชี เกิดจำกโครงสร้ำงกำรบัญชี ควำมหมำยของกำไรทำงบัญชี คือ ผลต่ำงระหว่ำงรำยได้ที่เกิดขึ้น ในงวดบัญชีกบั ต้นทุนและค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ซึ่ งเป็ นผลมำจำก 1. ข้อสมมติข้ น ั มูลฐำนทำงกำรบัญชี ➔หลักกำรเกิดขึ้นของรำยได้ หลักรำคำทุน หลักกำรจับคู่ รำยได้กบั ค่ำใช้จ่ำย และหลักรอบเวลำ 2. รำยกำรและเหตุกำรณ์ทำงบัญชีที่เกิดขึ้นแล้ว ➔พิจำรณำจำกหลักกำรดำเนินงำนต่อเนื่อง คือ กิจกำรไม่มีเจตนำ หรื อมีควำมจำเป็ นที่จะเลิกกิจกำรหรื อลดขนำดกำรดำเนินงำนอย่ำงมี นัยสำคัญ วิธีกำรวัดผลกำไรทำงกำรบัญชี แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 1. กำรวัดผลกำไรจำกรำยกำรและเหตุกำรณ์ทำงบัญชี ➔ เป็ นรำยกำรที่เกิดขึ้นกับทั้งภำยนอก และภำยในกิจกำร (ข้อดี คือ กิจกำรสำมำรถแสดงรำยละเอียดของกำไรได้หลำยรู ปแบบ กิจกำรสำมำรถแสดงกำไรตำมสำเหตุของกำรเกิดผลกำไร) 2. กำรวัดผลกำไรจำกกิจกรรม ➔พิจำรณำจำกกิจกรรมในกำรดำเนินธุรกิจ (กำรผลิต กำรขำย กำรเก็บเงินค่ำขำย) ข้อดีคือ กิจกำรสำมำรถวัดผลกำไรตำมวัตถุประสงค์ของกำรดำเนินงำน 2. แนวคิดทำงเศรษฐศำสตร์ มีดงั นี้ 1. แนวคิดเกีย่ วกับควำมหมำยของกำไร กำไร หมำยถึง กำรเพิ่มขึ้นของเศรษฐทรัพย์ หรื อทุน ซึ่ งประเมินจำกฐำนะของเศรษฐ ทรัพย์หรื อทุน ณ วันปลำยงวดเทียบกับทุน ณ วันต้นงวด กำไรทำงเศรษฐศำสตร์ หมำยถึง กำรบริ โภคบวกกำรออม ส่ วนกำรออม หมำยถึง ทุนที่ เพิ่มขึ้น ดังสมกำร Y = C + S หรื อ Y = C + (kt – k1- t) กำไรทำงเศรษฐศำสตร์ มีควำมแตกต่ำงจำกกำไรทำงบัญชี แต่มีลกั ษณะคล้ำยกับกำไร ขั้นต้น ซึ่ งกำไรทำงบัญชี หมำยถึง กำไรสุ ทธิ คือ รำยได้หกั ค่ำใช้จ่ำย 2. แนวคิดเกีย่ วกับทุนและกำรรักษำระดับทุน แนวคิดนี้พิจำรณำเฉพำะมูลค่ำที่เป็ นตัวเงินเท่ำนั้น ไม่คำนึงถึงกำรเปลี่ยนแปลงใน ระดับรำคำ ดังนั้นจึงเกิดปั ญหำในเรื่ องต่ำง ๆ ได้แก่ กำรตั้งรำยจ่ำยขึ้นเป็ นทุน กำรวัด มูลค่ำตลำด มูลค่ำเงินสดเทียบเท่ำในปั จจุบนั รำคำทุนเดิม รำคำปั จจุบนั ในกำรจัดหำ กำรรักษำระดับควำมสำมำรถในกำรผลิต และอำนำจซื้ อคงที่ แนวคิดเกีย่ วกับทุนและกำรรักษำระดับทุน 1. กำรตั้งรำยจ่ำยขึ้นเป็ นทุน (Capitalization) ั ของกระแสเงินสดที่กิจกำรต้องจ่ำย เป็ นวิธีกำรวัดมูลค่ำโดยกำรคำนวณมูลค่ำปั จจุบน ให้แก่เจ้ำของตลอดอำยุกำรดำเนินธุรกิจและเมื่อเลิกกิจกำร ดังนั้น สู ตรในกำรคำนวณ มูลค่ำปัจจุบนั คือ 𝑅𝑡 𝑃𝑡−1 = σ𝑛𝑡−1 (1+𝑖)𝑡 𝑅𝑡 𝑃𝑡 = σ𝑛𝑡−2 (1+𝑖)𝑡−1 กำไรเท่ำกัน 𝐼𝑡 = 𝑃𝑡 - 𝑃𝑡−1 + 𝑅𝑡 ตัวอย่ ำง- กำรตั้งรำยจ่ ำยขึน้ เป็ นทุน กิจกำรแห่งหนึ่งประมำณว่ำต้นทุนของเงินทุนเท่ำกับ 5% และจำนวนเงินที่ตอ้ งจ่ำยให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในอนำคต เป็ นดังนี้ ปี ที่ (t) จำนวนเงิน (R) 1 10,000 2 30,000 3 20,000 ให้ หำ: มูลค่ำปั จจุบนั ของกำไร ณ สิ้ นปี ที่ 1 ทุน ณ วันต้นปี (P0) = 10,000(0.9524) + 30,000( 0.9070) + 20,000(0.8936) = 54,006 บำท ทุน ณ วันปลำยปี (P1) = 10,000 + 30,000(0.9524) + 20,000(0.9070) = 56,712 บำท กำไรปี ที่ 1 = 56,712 – 54,006 + 10,000 = 12,706 บำท แนวคิดเกีย่ วกับทุนและกำรรักษำระดับทุน 2. กำรวัดมูลค่ำตลำด (Market Valuation) เป็ นวิธีกำรวัดมูลค่ำโดยคำนวณจำกจำนวนหุ น ้ ทั้งหมดของกิจกำรที่ออกจำหน่ำยคูณ ด้วยรำคำตลำดของหุน้ นั้น (วัดมูลค่ำที่กำหนดโดยผูล้ งทุน) พิจำรณำจำกควำมเต็มใน กำรลงทุนซื้อหุน้ ของกิจกำร ตัวอย่ ำง กิจกำรออกหุน้ สำมัญ 10,000 หุน้ รำคำตำมมูลค่ำหุน้ ละ 10 บำท ณ วันสิ้ นงวด รำคำ ตลำดของหุน้ ำมัญเท่ำกัน 15 บำท ดังนั้น มูลค่ำตลำอของหุน้ เท่ำกัน 10,000*15 = 150,000 บำท แนวคิดเกีย่ วกับทุนและกำรรักษำระดับทุน 3. มูลค่ำเงินสดเทียบเท่ำในปั จจุบนั (Current Cash Equivalent) เป็ นวิธีวดั มูลค่ำของทุนที่คำนวณจำกมูลค่ำสุ ทธิของสิ นทรัพย์ที่ขำยได้ (รำคำตลำดของสิ นทรัพย์ หักด้วยรำคำตลำดของหนี้สิน) วิธีน้ ีตอ้ งอำศัยควำมเห็นของผูเ้ ชี่ยวชำญ ที่ตอ้ งปรับด้วยควำมเสี่ ยง ควำมไม่แน่นอนและปั จจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้งกับสิ นทรัพย์และหนี้สินแต่ละรำยกำร 4. รำคำทุนเดิม (Historical Input Price) วิธีน้ ี กำไรเกิดจำกกำรดำเนิ นงำนและกำไรที่เกิดจำกกำรถือสิ นทรัพย์ไว้เฉพำะส่ วนที่ เกิดขึ้นแล้ว 5. รำคำปัจจุบนั ในกำรจัดหำ (Current Input Price) รำคำปั จจุบน ั ในกำรจัดหำเป็ นรำคำที่ได้มำจำกกำรพิจำรณำว่ำ หำกกิจกำรต้องจัดหำ สิ นทรัพย์ที่มีอยูใ่ นกิจกำรขณะนั้น กิจกำรต้องจ่ำยเงินเป็ นจำนวนเท่ำใด วิธีน้ ี กำไรเกิดจำกกำรมีกรรมสิ ทธิ์ ในสิ นทรัพย์ท้ งั ส่ วนที่เกิดขึ้นแล้วและส่ วนที่ยงั ไม่เกิดขึ้น แนวคิดเกีย่ วกับทุนและกำรรักษำระดับทุน 6. กำรรักษำระดับควำมสำมำรถในกำรผลิต (Productive Capacity Maintenance) วิธีน้ ี กำไรเกิดขึ้นเมื่อกำลังกำรผลิตที่กิจกำรผลิตได้จริ งเมื่อสิ้ นรอบระยะเวลำบัญชี สู งกว่ำกำลังกำรผลิตเมื่อเริ่ มรอบระยะเวลำบัญชี ตัวอย่ำง กิจกำรมีสินทรัพย์สุทธิ ณ วันต้นงวด 10,000 บำท สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันปลำย งวด 18,000 บำท และมีมูลค่ำสิ นทรัพย์ตำมรำคำตลำดหรื อมูลค่ำของสิ นทรัพย์ที่ทำให้ กิจกำรสำมำรถผลิตสิ นค้ำด้ ณ วันสิ้ นงวดเท่ำกับ 15,000 บำท ดังนั้น กำไรของกิจกำร ซึ่ งวัดจำกมูลค่ำที่เป็ นจำนวนเงิน คือ กำไร = 18,000 – 10,000 = 8,000 บำท กำไรของกิจกำร ซึ่ งวัดจำกควำมสำมำรถในกำรผลิต คือ กำไร = 15,000 – 10,000 = 5,000 บำท แนวคิดเกีย่ วกับทุนและกำรรักษำระดับทุน 7. อำนำจซื้ อคงที่ (Constant Purchasing Power) เป็ นวิธีที่พิจำรณำกำรเปลี่ยนแปลงในอำนวจซื้ อ โดยปรับมูลค่ำสิ นทรัพย์ ณ วันต้น งวดและสิ นทรัพย์ ณ วันปลำยงวดด้หวยอำนำจซื้ อก่อนเพื่อนำไปเปรี ยบเทียบหำ กำไร จำกตัวอย่ำงก่อน หำกดัชนีรำคำสิ นค้ำเพิ่มขึ้น 10% กำไรของกิจกำร ซึ่ งวัดจำกมูลค่ำเป็ นตัวเงิน คือ กำไร = 18,000 – (10,000*1.10) = 7,000 บำท กำไรของกิจกำร ซึ่ งวัดจำกควำมสำมำรถในกำรผลิต คือ กำไร = 15,000 – (10,000*1.10) = 4,000 บำท **ข้อจำกัดของแนวคิดนี้ กิจกำรไม่สำมำรถแสดงรำยละเอียดของรำยกำรที่เกิดขึ้น ทำให้ไม่ ทรำบว่ำกำไรหรื อขำดทุนของกิจกำรมำจำกรำยกำรใดบ้ำง 3. แนวคิดเกีย่ วกับพฤติกรรม แนวคิดเกี่ยวกับกำรวัดผลกำไรตำมพฤติกรรม เกิดจำกกำรนำผลกำไรไปใช้ใน กระบวนกำรตัดสิ นใจของผูท้ ี่เกี่ยวข้อง เช่น - ใช้ผลกำไรเพื่อคำดคะเนเหตุกำรณ์ในอนำคต เช่น เงินปันผลที่กิจกำรจะจ่ำย ในอนำคต รำคำตลำดของหุน้ ในอนำคต - ใช้ผลกำไรในกำรตัดสิ นใจด้ำนกำรบริ หำรงำน เช่น กำรใช้ผลกำไรในกำร วำงแผนและควบคุมงำนในอนำคต - ใช้ผลกำไรในกำรประมำณกำร เช่น ประมำณกำรกระแสเงินสด ประมำณ กำรอัตรำผลตอบแทนจำกกำรลงทุน **แนวคิดนี้จะเห็นว่ำกำรวัดผลกำไรด้วยรำคำทุนปัจจุบนั ย่อมตอบสนองควำม ต้องกำรของผูใ้ ช้ขอ้ มูลได้ดีกว่ำกำรวัดผลกำไรจำกข้อมูลในอดีต 4. แนวคิดเกีย่ วกับกำไรภำยใต้ ควำมไม่ แน่ นอน กำรดำเนิ นธุรกิจอำจต้องประสบกับควำมไม่แน่นอน ดังนั้น กำไร หมำยถึง กำร เปลี่ยนแปลงในทุนของกิจกำรสำหรับช่วงระยะเวลำหนึ่ง ไม่รวมเงินทุนที่ได้รับจำก เจ้ำของ หรื อกำรแบ่งปันส่ วนทุนให้เจ้ำของ ดังนั้น กำไรจึงขึ้นอยูก่ บั 1. มูลค่ำของกำไร คำว่ำ มูลค่ำ โดยทัว่ ไปหมำยถึง มูลค่ำทำงเศรษฐศำสตร์ ซึ่งอำจ ไม่จำเป็ นต้องวัดมูลค่ำเป็ นจำนวนเงินก็ได้ แต่ กิจกำรต้องวัดมูลค่ำของกำไรเป็ น จำนวนเงิน ซึ่งอำจต้องวัดจำกรำคำทุนเดิมหรื อรำคำทุนปัจจุบนั 2. เกณฑ์กำรวัดมูลค่ำทำงบัญ ➔ สำมำรถวัดได้จำกจำนวนเงิน ณ จุดที่เกิดรำยกำร โดยไม่คำนึงถึงอำนำจซื้อ ได้แก่ 1. ระบบเงินในนำม ➔ เป็ นระบบที่ไม่คำนึงถึงกำรเปลี่ยนแปลงค่ำของเงินใน ระยะเวลำที่ต่ำงกัน นิยมใช้กนั ทัว่ ไปตำมหลักกำรบัญชี 2. ระบบเงินคงที่ ➔ เป็ นระบบที่คำนึงถึงค่ำของเงินในเวลำต่ำงกัน ซึ่งกิจกำรจะ ปรับรำยกำรและเหตุกำรณ์ทำงบัญชีดว้ ยดัชนีรำคำที่เปลี่ยนแปลงไป 4. แนวคิดเกีย่ วกับกำไรภำยใต้ ควำมไม่ แน่ นอน 3. แนวคิดเกี่ยวกับทุนสิ นทรัพย์สุทธิ (ทุนทำงกำรเงินและทุนทำงกำรผลิต) ประกอบด้วย 2 แนวคิด ดังนี้ 1. ทุนทำงกำรเงิน ➔ ทุนซึ่งวัดจำกมูลค่ำของสิ นทรัพย์สุทธิ หรื อส่ วนที่เจ้ำของ นำมำลงทุนในรู ปของสิ นทรัพย์ ดังนั้น กำไรทำงกำรเงิน หมำยถึง จำนวนเงินที่กิจกำร ได้รับนอกเหนือจำกส่ วนที่เจ้ำของนำมำลงทุน (สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำ บัญชี สู งกว่ ำ สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันต้นรอบระยะเวลำบัญชี ) 2. ทุนทำงกำรผลิตหรื อทุนทำงกำยภำพ ➔ ทุนซึ่งวัดจำกควำมสำมำรถของกิจกำร ในกำรจัดกำรสิ นค้ำและบริ หำร ดังนั้น กำรวัดมูลค่ำของทุนจึงวัดจำกกำลังกำรผลิต ซึ่ง อำจแสดงในรู ปของทรัพยำกรหรื อทุนที่ตอ้ งจ่ำยเพือ่ ให้ได้กำลังกำรผลิตนั้น (กำไรเกิดขึ้น เมื่อกำลังกำรผลิตที่กิจกำรสำมำรถใช้ในกำรผลิต หรื อที่ใช้ผลิตจริ ง ณ วันสิ้ นรอบ ระยะเวลำบัญชี สู งกว่ำ กำลังกำรผลิต ณ วันต้นรอบระยะเวลำบัญชี) วิธีกำรวัดผลกำไร 1. กำรเปรี ยบเทียบมูลค่ำของสิ นทรัพย์ในช่วงเวลำต่ำงกันตำมแนวทำงของบุคคล (Balance Sheets Approach) อำจทำได้ 2 วิธี ดังนี้ กำรเปรี ยบเทียบทุนหรื อสิ นทรัพย์สุทธิ ท้ งั หมดของกิจกำร เกิดจำกแนวคิดเกี่ยวกับ ทุนและกำรรักษำระดับทุน วัดจำกมูลค่ำที่เพิม่ ขั้นของสิ นทรัพย์ตำมระยะเวลำที่ถือ ครองสิ นทรัพย์น้ นั (มูลค่ำในกำรจัดหำ หรื อ มูลค่ำในกำรจำหน่ำย) กำรวัดมูลค่ำเพิม ่ เป็ นกำรตีรำคำที่พิจำรณำมูลค่ำในกำรจำหน่ำยที่เพิม่ ขึ้นจำก มูลค่ำในกำรจัดหำ เช่น สิ นค้ำคงเหลือในงบกำรเงินแสดงด้วยรำคำทุน แต่ขำยสิ นค้ำ ได้ในรำคำตลำด หรื อมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับ (วิธีน้ ีเหมำะสำหรับกำรตีรำคำสิ นทรัพย์ เฉพำะอย่ำง) 2. กำรเปรี ยบเทียบรำยได้และค่ำใช้จ่ำยตำมแนวทำงของงบกำไรขำดทุน (Income Statement Approach) เป็ นวิธีกำรวัดผลกำไรโดยใช้หลักเกณฑ์ควำมเกี่ยวพันระหว่ำง ต้นทุนที่เกิดขึ้นกับรำยได้ที่เกิดจำกรำยกำรเดียวกัน นอกจำกนั้นยังมีแนวคิดในกำรวัดผลกำไรที่แตกต่ ำงกัน ดังนี้ 1. นักบัญชีกลุ่มดั้งเดิม (Classical School) ➔ กำรวัดผลกำไรตำมวิธีกำไรทำง บัญชี ซึ่งเรี ยกกันทัว่ ไปว่ำ “กำรบัญชีรำคำทุน (Historical Cost Accounting) เนื่องจำก ยึงถือข้อสมมติในกำรจัดทำและนำเสนองบกำรเงินและมำตรฐำนกำร รำยงำนทำงกำรเงิน 2. นักบัญชีกลุ่มใหม่ (Neoclassical School) ➔ สนับสุ นแนวคิดในเรื่ องอำนำจ ซื้อจึงทำให้เกิดกำรวัดผลกำไรทำงบัญชี ซึ่งปรับด้วยดัชนีรำค 3. นักบัญชีกลุ่มพัฒนำ (Radical School) ➔ สนับสุ นกำรวัดผลกำไร 2 วิธี 1. วิธีกำรบัญชีตำมรำคำทุนปัจจุบนั (Current Cost Accounting) 2. วิธีกำรบัญชีตำมรำคำทุนปัจจุบนั ที่ปรับด้วยดัชนีรำคำ (General Price Level Adjusted Current Cost Accounting) รำยกำรทีใ่ ช้ ในกำรคำนวณกำไร แนวคิดผลกำรดำเนิ นงำนในปั จจุบน ั ➔เน้นถึงประโยชน์ของตัวเลขกำไร คือ กำไรจำกกำรดำเนินกิจกรรมภำยใต้สถำนกำรณ์ตำมปกติของกิจกำร ➔ วัด ประสิ ทธิภำพของกิจกำรในกำรใช้ทรัพยำกรที่มีอยู่ (ที่ดิน แรงงำน ทุน และ ผูบ้ ริ หำร) แนวคิดรวมหมดทุกอย่ำง ➔แนวคิดนี้ กำไรที่มีประโยชน์ต่อผูใ้ ช้ขอ้ มูลมำก ที่สุด ควรรวมรำยกำรต่ำง ๆ ที่มีผลกระทบต่อกำรเพิ่มหรื อกำรลดในส่ วนของ เจ้ำของ (ยกเว้นกำรจ่ำยเงินปันผล และรำยกำรเกี่ยวกับทุน) แนวคิดนี้ทำให้ กิจกำรคำนวณกำไรจำกส่ วนที่เปลี่ยนแปลงทั้งหมดในส่ วนของ เหตุกำรณ์ ทำงบัญชีทเี่ กีย่ วข้ องกับกำรคำนวณกำไร รำยกำรพิเศษที่เกี่ยวกับงวดปั จจุบน ั (ปัจจุบนั ยกเลิกแนวคิดนี้) กำไรขำดทุนที่มีสำระสำคัญ เช่น กำรตัดจำหน่ำยบัญชีลูกหนี้ กำไรขำดทุนจำก อัตรำแลกเปลี่ยน เป็ นต้น กำรแก้ไขและปรับปรุ งรำยกำรปกติหรื อรำยกำรและเหตุกำรณ์ทำงบัญชีที่เกิดขึ้น ใหม่ เช่น กำรเปลี่ยนแปลงอำยุกำรใช้งำนของเครื่ องจักร กำรเปลี่ยนแปลง ประมำณกำรทำงบัญชี เป็ นต้น กำรปรับปรุ งรำยกำรที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีก่อน เหตุกำรณ์ ทำงบัญชีทเี่ กีย่ วข้ องกับกำรคำนวณกำไร ั จึงสรุ ปเหตุกำรณ์ทำงบัญชีที่เกี่ยวข้องกับกำร จำกแนวคิดที่กล่ำวมำ ในปั จจุบน คำนวณกำไรได้ ดังนี้ 1. กำรดำเนินงำนตำมปกติ 2. รำยกำรพิเศษ 3. กำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรทำงบัญชี กำรบัญชีสำหรับรำยได้และค่ำใช้จ่ำย ความหมายของรายได้ Paton และ Littleton (1940) ➔ รำยได้ หมำยถึง ผลิตผลของกิจกำร ซึ่ งสำมำรถวัดได้ จำกจำนวนสิ นทรัพย์ของกิจกำรที่เพิ่มขึ้น และ รำยได้ ประจำงวด หมำยถึง มูลค่ำรวมที่ สำมำรถจัดสรรให้ตำมงวดรำยได้จะเกิดขึ้นเมื่อจำนวนรำยได้สำมำรถกำหนดมูลค่ำได้ แน่นอน ซึ่ งเกิดจำกกำรตกลงของบุคคลทั้งสองฝ่ ำย The American Accounting Association (AAA) (1957) ➔ จำนวนที่อธิ บำยได้จำกรำคำ รวมของสิ นค้ำหรื อบริ กำร ซึ่ งกิจกำรโอนไปให้ลูกค้ำภำยในงวดระยะเวลำหนึ่ง กรอบแนวคิดสำหรับกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ➔ กำรเพิ่มขึ้นของสิ นทรัพย์หรื อกำร ลดลงของหนี้สินที่ทำให้ส่วนของเจ้ำของเพิ่มขึ้นที่ไม่ใช่รำยกำรเกี่ยวกับกำรสมทบจำก ผูถ้ ือสิ ทธิ เรี ยกร้องส่ วนของเจ้ำของ TFRS 15 ➔ รำยได้ หมำยถึง กำรเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบ ระยะเวลำบัญชีในรู ปของ กระแสรับเจ้ำของสิ นทรัพย์หรื อกำรเพิ่มขึ้นของสิ นทรัพย์ หรื อกำรลดลงของหนี้สิน ซึ่ งส่ งผลให้ส่วน ของเจ้ำของเพิม่ ขึ้น โดยไม่รวมถึงส่ วนทุน ที่ได้รับจำกผูม้ ีส่วนร่ วมในส่ วนของเจ้ำของ รำยกำรทีค่ วรถือเป็ นรำยได้ The American Institute of Certified Public Accountants (AICPA) ➔ รำยได้รวมถึงรำยกำรกำไรจำกกำรขำยและรำยกำรกำไรจำกกำรแลกเปลี่ยน สิ นทรัพย์อื่น (นอกเหนือจำก สิ นค้ำ ดอกเบี้ยรับ และเงินปันผลรับ กำรเพิ่ม ทุน ผลได้สุทธิจำกกำรลงทุน) The American Accounting Association (AAA) ➔ รำยได้ รวมรำยกำร กำไรจำกกำรขำยและรำยกำรกำไรจำกกำรแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์ (นอกเหนือจำก สิ นค้ำและรำยกำรกำไรจำกกำรได้รับประโยชน์จำกกำรยก หนี้ ซึ่ง AAA สนับสนุนแนวคิด “รวมหมดทุกอย่ำง” กรอบแนวคิดสำหรับกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ➔ รำยได้ตอ้ งเป็ นไปตำมคำ นิยำมของรำยได้ตำมที่ระบุในกรอบแนวคิดฯ ซึ่งรวมถึงรำยกำรกำไร (หรื อ ผลกำไร) และรำยได้ที่เกิดจำกกำรดำเนินกิจกรรมตำมปกติของกิจกำร กำรรับรู้ รำยได้ กำรรับรู ้รำยได้ หมำยถึง กำรรวบรวมรำยได้เข้ำเป็ นส่ วนหนึ่ งในงบกำไร ขำดทุน แนวคิดของกำรรับรู ้รำยได้ มีพฒ ั นำกำรมำอย่ำงต่อเนื่อง ดังนี้ 1. ควำมเห็นของ Sprouse และ Moonitz ➔ รำยได้จะเกิดขึ้นเมื่อกิจกรรม หลักสิ้ นสุ ดลง และเกณฑ์ในกำรวัดมูลค่ำสำมำรถกำหนดได้แน่นอน 2. ควำมเห็นของ Hendriksen ➔ เห็นด้วยกับแนวคิดของ Sprouse และ Moonitz ที่วำ่ รำยได้ควรรับรู ้เมื่อกิจกรรมหลัก หรื องำนส่ วนใหญ่ได้สำเร็ จ ลง และกำรวัดมุลค่ำของกิจกรรมนั้นไม่มีควำมลำเอียง และมีหลักเกณฑ์ อย่ำงสมเหตุสมผล กำรรับรู้ รำยได้ แนวคิดของกำรรับรู ้รำยได้ มีพฒ ั นำกำรมำอย่ำงต่อเนื่อง ดังนี้ (ต่อ) 3. ควำมเห็นของ AAA ➔ ยึดหลักกำรเกิดขึ้นแล้ว ซึ่งเห็นว่ำมูลค่ำที่เพิ่มขึ้น ควรมีกำรจัดสรรออกไปหลำย ๆ จุด หรื ออำจกล่ำวได้วำ่ รำยได้น้ นั มิได้เกิดขึ้น ณ จุดใดจุดหนึ่ง 4. ควำมเห็นตำมกรอบแนวคิดฯ ➔ รับรู ้รำยได้กต็ ่อเมื่อ ➔ มีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ที่ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคต เพิ่มขึ้น (เนื่องมำจำกกำรเพิ่มขึ้นของสิ นทรัพย์ หรื อกำรลดลงของหนี้สิน) ➔ มูลค่ำของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคตนั้นสำมำรถวัดได้อย่ำง น่ำเชื่อถือ กำรวัดมูลค่ ำของรำยได้ เป็ นมูลค่ำที่มีกำรแลกเปลี่ยนสิ นค้ำหรื อบริ กำรที่กำหนดจำกจำนวนที่ตกลง ระหว่ำงผูซ้ ้ือและผูข้ ำย ซึ่งอำจวัดได้จำกเงินสดที่ได้รับในปัจจุบนั หรื อจำนวนที่ จะได้รับในอนำคต ดังนั้น มูลค่ำของรำยได้ คือ จำนวนเงินสด หรื อรำคำเทียบเท่ำเงินสดที่กิจกำร ได้รับหรื อค้ำงรับนัน่ เอง กำรรำยงำนรำยได้ รำยได้จะแสดงเป็ นรำยกำรแต่ละบรรทัด พร้อมจำนวนเงินในงบกำไร ขำดทุน ต้องเปิ ดเผยลักษณะและจำนวนของรำยได้ที่รวมในกำรคำนวณกำไรหรื อ ขำดทุนจำกกำรดำเนินงำนตำมปกติแยกต่ำงหำก กำรรับรู้ รำยได้ รำยได้จำกสัญญำที่ทำกับลูกค้ำ (TFRS 15) 1) ระบุสญ ั ญำที่ทำกับลูกค้ำ 2) ระบุภำระที่ตอ้ งปฏิบตั ิในสัญญำ 3) กำหนดรำคำของรำยกำร 4) ปันส่ วนรำคำของรำยกำรให้กบั ภำระที่ตอ้ งปฏิบตั ิที่รวมอยูใ่ นสัญญำ 5) รับรู ้รำยได้เมื่อหรื อขณะที่กิจกำรปฏิบตั ิตำมภำระที่ตอ้ งปฏิบตั ิเสร็ จสิ้ น ประเภทของรำยได้ รำยได้สำหรับธุรกิจทัว่ ไป รำยได้จำกกำรขำยสิ นค้ำ จะรับรู ้รำยได้เมื่อเข้ำเงื่อนไขทุกข้อต่อไปนี้ 1. กิจกำรได้โอนควำมเสี่ ยง และผลตอบแทนที่เป็ นสำระสำคัญของควำมเป็ น เจ้ำของในสิ นค้ำนั้นให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว 2. กิจกำรไม่เกี่ยวข้องในกำรบริ หำรสิ นค้ำอย่ำงต่อเนื่องในระดับที่เจ้ำของพึง กระทำหรื อไม่ได้ควบคุมสิ นค้ำที่ขำยไปแล้วทั้งทำงตรงและทำงอ้อม 3. กิจกำรสำมรถวัดมูลค่ำของจำนวนรำยได้ได้อย่ำงน่ำเชื่อถือ 4. มีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ที่กิจกำรจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของ รำยกำรบัญชีน้ นั 5. กิจกำรสำมำรถวัดมูลค่ำของต้นทุนที่เกิดขึ้นหรื อที่จะเกิดขึ้น อัน เนื่องมำจำกรำยกำรบัญชีน้ นั ได้อย่ำงน่ำเชื่อถือ ประเภทของรำยได้ รำยได้สำหรับธุรกิจทัว่ ไป (ต่อ) รำยได้จจำกกำรให้บริ กำร ➔ จะรับรู ้รำยได้เมื่อสำมำรถประมำณผลของ รำยกำรบัญชีน้ นั ได้อย่ำงน่ำเชื่อถือ ตำมขั้นควำมสำเร็ จของงำนนั้น รำยได้ดอกเบี้ย ค่ำสิ ทธิ และเงินปั นผล รำยได้ดอกเบี้ย ➔ รับรู ้ตำมสัดส่ วนแวลำ ค่ำสิ ทธิ ➔ รับรู ้รำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำง (เมื่อทำสัญญำแล้วมีสิทธิ์ได้รับ ค่ำตอบแทน) เงินปั นผล ➔ รับรู ้เมื่อมีสิทธิได้รับเงินปั นผล ประเภทของรำยได้ รำยได้สำหรับธุรกิจเฉพำะ รำยได้จำกกำรให้เช่ำซื้ อ (TFRS 15) รำยได้จำกสัญญำเช่ำ (TFRS 16) รำยได้จำกสัญญำก่อสร้ำง (TFRS 15) รำยได้จำกธุ รกิจอสังหำริ มทรัพย์ (TFRS 15) แนวคิดเกีย่ วกับค่ ำใช้ จ่ำย ควำมหมำยของค่ำใช้จ่ำย AAA ➔ ค่ำใช้จ่ำย หมำยถึง ค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนิ นงำนและรำยกำรขำดทุน Sprouse และ Moonitz ➔ ค่ำใช้จ่ำย หมำยถึง กำรลดลงของสิ นทรัพย์สุทธิ ซึ่งเป็ นผลมำจำกกำรใช้บริ กำรทำงเศรษฐศำสตร์ เพื่อก่อให้เกิดรำยได้ หรื อ เพื่อให้เป็ นไปตำมกฎหมำยข้อบังคับของภำษีอำกร ศัพบัญชี ➔ ค่ำใช้จ่ำย หมำยถึง ต้นทุนส่ วนที่หกั ออกจำกรำยได้ในรอบ ระยะเวลำกำรดำเนินงำนหนึ่ง ๆ กรอบแนวคิดสำหรับกำรรำยงนทำงกำรเงิน ➔ กำรลดลงของประโยชน์เชิง เศรษฐกิจในรอบระยะเวลำบัญชีในรู ปกระแสออก หรื อกำรลดค่ำของ สิ นทรัพย์ หรื อกำรเพิ่มขึ้นของหนี้สิน อันส่ งผลให้ส่วนของเจ้ำของลดลง ทั้งนี้ไม่รวมถึงกำรแบ่งปันส่ วนทุนให้กบั ผูม้ ีส่วนร่ วมในส่ วนของเจ้ำของ กำรรับรู้ ค่ำใช้ จ่ำย 1. มีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ที่ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคตลดลง เนื่องจำกกำรลดลงของสิ นทรัพย์ หรื อกำรเพิม่ ขึ้นของหนี้สิน 2. เมื่อกิจกำรสำมำรถวัดมูลค่ำของค่ำใช้จ่ำยได้อย่ำงน่ำเชื่อถือ การวัดมูลค่าของค่าใช้จ่าย รำคำทุนเดิม รำคำทุนปั จจุบน ั กำรรำยงำนค่ ำใช้ จ่ำย งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จต้องแสดงค่ำใช้จ่ำยเป็ นรำยกำรแต่ละบรรทัดพร้อม จำนวนเงินและต้องนำค่ำใช้จ่ำยทุกรำยกำรที่รับรู ้ในระหว่ำงงวดมำรวม คำนวณเพื่อหำกำไรหรื อขำดทุนสุ ทธิ กำรรำยงำนค่ำใช้จำยในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จสำมำรทำไร 2 ลักษณะคือ 1. ค่ำใช้จ่ำยตำมลักษณะ 2. ค่ำใช้จ่ำยตำมหน้ำที่ งำนเดีย่ ว ให้นกั ศึกษำหำนโยบำยบัญชีเกี่ยวกับกำรรับรู ้รำยกำรและกำรวัดมูลค่ำของบริ ษท ั จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนี้ รำยได้จำกกำรขำยสิ นค้ำ รำยได้จำกกำรให้บริ กำร ดอกเบี้ย ค่ำสิ ทธิ และเงินปั นผล รำยได้ธุรกิจเฉพำะ ให้นกั ศึกษำหัวตัวอย่ำงกำรแสดงงบกำไรขำดทุนที่จำแนกค่ำใช้จ่ำยตำมลักษณะ และตำมหน้ำที่ ของบริ ษทั จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Q&A