ธุรกิจบริการท่องเที่ยวและมัคคุเทศก์ - PDF
Document Details
![DaringEquation](https://quizgecko.com/images/avatars/avatar-6.webp)
Uploaded by DaringEquation
Tags
Summary
หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงธุรกิจบริการการท่องเที่ยวและมัคคุเทศก์ในประเทศไทย โดยให้ภาพรวมของรูปแบบธุรกิจต่างๆ ตัวแทนการท่องเที่ยว และบทบาทสำคัญของมัคคุเทศก์ รวมถึงคุณสมบัติที่จำเป็นในการให้บริการนักท่องเที่ยวอย่างมีคุณภาพ
Full Transcript
หน่ วยที่ 3 ธุรกิจบริการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์ ประวัติความเป็ นมาของธุรกิจ 1. บริการการท่องเที่ยว ต้ นกําเนิดการจัดนํ าเที่ ยวยังไม่ทราบแน่ ชดั ว่าเกิดขึ้นในสมัยใด หากศึกษาจาก ประวัติวิวฒั นาการ คมนาคมขนส่ง ซึ่งมนุษย์ได้สร้างถนนไว้ เช่น ในปร...
หน่ วยที่ 3 ธุรกิจบริการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์ ประวัติความเป็ นมาของธุรกิจ 1. บริการการท่องเที่ยว ต้ นกําเนิดการจัดนํ าเที่ ยวยังไม่ทราบแน่ ชดั ว่าเกิดขึ้นในสมัยใด หากศึกษาจาก ประวัติวิวฒั นาการ คมนาคมขนส่ง ซึ่งมนุษย์ได้สร้างถนนไว้ เช่น ในประเทศจีนมี ถนนหนทางตัง้ แต่ 1,000 ปี ก่ อนคริตกาล และชาวโฟนิเชี ย ช่ วงระหว่ าง 1200- 1800 ปี ก่อนคริตกาลและชาวกรีกใช้ เรือเป็ นพาหนะในการค้า การทําสงคราม ยังล่องเรือทองเที่ยวอีกด้วย 46 2. บริษทั นําเที่ยวและตัวแทนการท่องเที่ยว ธุรกิจบริษทั นํ าเที่ ยวถือกําเนิดขึ้น ใน ค.ศ. 1841 โดยในประเทศ อังกฤษมี บริษัท โทมัส คุก แอนด์ ซัน และในสหรัฐอเมริกามี บริษัท อเมริกนั เอ็กซ์เพรส คอมปานี 47 บริษทั นําเที่ยว (Tour operator) ความหมายบริษทั นําเที่ยว (Tour operator) การจัดทัวร์ (Tour) หมายถึง การจัดรายการท่องเที่ ยวไว้ ล่วงหน้ าโดยมีเส้นทางและจุดหมาย ปลายทาง กําหนดไว้ ก่อนโดยชัดแจ้ง (pre arrange journey and itinerary) จาก จุดเริ่มต้ น (departure point) ไปยังจุดหมายปลายทาง (destination) อย่างน้ อย 1 จุดหมาย หรือมากกว่า 48 ตัวแทนการท่องเที่ยว (Travel Agency) ตัว แทนการท่ อ งเที่ ย ว หมายถึ ง ธุร กิ จ ค้ า ปลี ก ที่ ไ ด้ ร บั อนุ ม ตั ิ จ าก ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ธุ ร กิ จ ข า ย ส่ ง บริ ก ารท่ อ งเที่ ย วให้ เ ป็ นตัว แทน การขายสินค้ าทางการท่ องเที่ ย ว เช่ น โปรแกรมทัว ร์ สายการบิ น สายการเดิ นเรื อ บริ ษั ท รถไฟ สถานที่พกั แรม สปา ร้านอาหาร 49 ตัวอย่างบริษทั นําเที่ยวในไทย 50 3. รูปแบบธุรกิจ ท่องเที่ยว รูปแบบธุรกิจท่องเที่ยวในปัจจุบนั มี 4 รูปแบบ ดังนี้ 51 1. ธุรกิจการนําเที่ยว (Tour operator) หมายถึ ง ธุรกิจที่ ทําหน้ าที่ จัดการนํ าเที่ ยว เริ่มตัง้ แต่ การออกแบบโปรแกรม ท่องเที่ ยว จัดหามัคคุเทศก์ จัดหาที่ พกั จัดการเดินทาง ไม่ว่าจะเป็ นรถยนต์ รถไฟ เรือ เครื่องบิน 52 2. ธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว (Travel Agency) หมายถึง ธุรกิจที่ มีหน้ าที่ จดั จําหน่ าย หรือเป็ นตัวแทนจําหน่ ายบริการด้าน การท่องเที่ยว ส่วนใหญ่มีสถานะเป็ น ธุ ร กิ จตั ว แทนท่ องเที่ ยว ( Travel Agency) เช่ น Thaifly Travel, Unithai Travel, Thai Travel center 53 หมายถึ ง ธุ ร กิ จที่ เ ป็ นผู้ ร วบรวม สิ น ค้ า และบริ ก ารการท่ อ งเที่ ย ว จากหลาย ๆ ผู้ป ระกอบการ โดย 3. ลู ก ค้ า ส่ ว น ใ ห ญ่ ข อ ง Travel ธุรกิจขายส่งบริการท่องเที่ยว Wholesaler จะเป็ น Travel Agency (Travel wholesaler) มากกว่านักท่ องเที่ ยวโดยตรง เช่ น Zego Travel, Go Holiday 54 4. ธุ ร กิ จบริ ห ารจัด การจุ ด หมายปลายทาง (Destination management services : DMC) หมายถึง ธุรกิจท่องเที่ยวที่มี บ ริ ก า ร ห ล า ก ห ล า ย ใ น จุด หมายปลายทางหนึ่ ง ๆ ไม่ ว่ า จะเป็ นโปรแกรมทัว ร์ ที่ พั ก ส ปา กา รเ ดิ น ทา ง ร้านอาหาร โดยมีลูกค้าเป็ น ธุรกิจนําเที่ยวเป็ นหลัก 55 มัคคุเทศก์กบั 4. อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ได้มีปรับประเภทใบอนุญาตเป็ นมัคคุเทศก์จากเดิม 2 ประเภท 10 ชนิด ได้ แ ก่ มัค คุ เ ทศก์ ป ระเภททั ว่ ไป มี 2 ชนิ ด คื อ มัค คุ เ ทศก์ ท ั ว่ ไป (ต่างประเทศ) บัตรสีบรอนซ์เงิน มัคคุเทศก์ทวไป ั ่ (ไทย) บัตรสีบรอนซ์ ทอง และมัคคุเทศก์ประเภทเฉพาะ มี 8 ชนิด 56 มัคคุเทศก์มีทงั ้ แบบทํางานประจํา (Full time) ทํางานบางเวลา (Part Time) และทํางานแบบ Freelance มัคคุเทศก์ส่ว นใหญ่ ใ นไทยจะเป็ น มัค คุเ ทศก์ภ าษาอัง กฤษ หากเป็ นมัค คุเ ทศก์ ภาษาอื่น ๆ โดยเฉพาะภาษาที่ ขาดแคลนอย่าง ภาษาจี น ที่ มี นักท่ อ งเที่ ย วเขามาจํา นวนมาก ค่าตัว ของมัคคุเทศก์มกั จะสูงตามไปด้วย 57 5. บุคลิกและคุณสมบัติ ของมัคคุเทศก์ มัคคุเทศก์เป็ นผู้ทําหน้ าที่ ดูแลนั กท่ องเที่ ยวอย่าง ใกล้ชิดเกื อบตลอดเวลาของการนํ าเที่ ยวในแต่ ละ ครัง้ ดัง นั ้น ในการปฏิ บัติ ง านของมัค คุเ ทศก์ จะ เป็ นไปโดยธรรมชาติ ไ ม่ มี ก ารฝื นปฏิ บ ตั ิ หรื อ ทํา หน้ าที่ หวังเพียงเฉพาะค่าตอบแทน มัคคุเทศก์ที่ดี ต้องมีคณ ุ สมบัติ 5 ประการ 58 1. มนุษยสัมพันธ์ดี 2. บุคลิกภาพดี Position A 3. มีความรู้ดี 4. มีความรักงาน 5. มีศิลปะในการพูด 59 6. สิ่งที่มคั คุเทศก์พึงปฏิบตั ิ และไม่พึงปฏิบตั ิ การวางตัว หมายถึง พฤติกรรม การปฏิบตั ิ การทํา ตัว ที่ แ สดงออกให้ เ ห็น ฉะนั ้น มารยาทและ การ วางตัวของมัคคุเทศก์คือ กิริยา วาจา ท่ าทาง การ แสดงออก ข้ อ ควรประพฤติ แ ละไม่ ค วรประพฤติ ของมัค คุ เ ทศก์ เพื่ อ ดํ า รงไว้ ซึ่ ง เกี ย รติ ภู มิ ของ สถานภาพแห่งวิชาชีพมัคคุเทศก์ 60 หลักที่ควรประพฤติและเป็ นคุณสมบัติที่มคั คุเทศก์ควรปฏิบตั ิ มีประเด็นที่สาํ คัญ ๆ ดังนี้ 1. มัคคุเทศก์ ต้องผสมผสานระหว่างมารยาทไทยกับมารยาทต่างประเทศให้ได้ในลักษณะที่ สอดคล้อง กลมกลืน ไม่ขดั กัน 2. พูดจาสุภาพ ไม่เกรีย้ วกราดกับนักท่องเที่ยว พยายามเก็บอารมณ์ โกรธ จะได้ไม่ทาํ ให้งานเสีย 3. ไม่พดู คุยเรื่องทุกข์ร้อนหรือเรื่องส่วนตัวให้นักท่องเที่ยวฟั ง เพื่อขอความเห็นอกเห็นใจ 61 4. ให้ปฏิบตั ิ ในการพูดกับนักท่องเที่ยวทัง้ กลุ่มอย่างเท่าเทียม 5. ปฏิบตั ิ ตนให้นักท่องเที่ยวเกิดความไว้วางใจ และรู้สึกอบอุ่นใจในการเดินทางท่องเที่ยว 6. ไม่แสดงความสนิทสนมกับนักท่องเที่ยวจนเกินสมควรโดยเฉพาะในด้านชู้สาว 62