พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันการทุจริต พ.ศ. 2561 PDF

Summary

เอกสารฉบับนี้สรุปเกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ซึ่งครอบคลุมถึงหน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. รวมถึงมาตรการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปราบปรามการทุจริต และหลักเกณฑ์ต่างๆ ทางกฎหมาย

Full Transcript

พระราชบั ญ ญั ต ิ ประกอบรัฐธรรมนูญว‹าดŒวยการป‡องกัน และปราบปรามการทุจร ต พ.ศ. 2561 1 การกำหนดกรอบระยะเวลาในการไต‹สวนทีม่ คี วามชัดเจนยิง ข น ซึ งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตŒองไต‹สวนและมีความเห็นหรือวินิจฉัยใหŒแลŒวเสร็จภายใน กำหนดเวลา อาจขยายเวลาไดŒตามทีจ่ ำเปš...

พระราชบั ญ ญั ต ิ ประกอบรัฐธรรมนูญว‹าดŒวยการป‡องกัน และปราบปรามการทุจร ต พ.ศ. 2561 1 การกำหนดกรอบระยะเวลาในการไต‹สวนทีม่ คี วามชัดเจนยิง ข น ซึ งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตŒองไต‹สวนและมีความเห็นหรือวินิจฉัยใหŒแลŒวเสร็จภายใน กำหนดเวลา อาจขยายเวลาไดŒตามทีจ่ ำเปšน ซึง ตŒองไม‹เกินสองป‚นบั แต‹วนั เริม ดำเนินการไต‹สวน แต‹รวมแลŒวตŒองไม‹เกินสามป‚เวŒนแต‹เรื่องที่จำเปšนตŒองไต‹สวนในต‹างประเทศ 2 การกำหนดใหŒเจŒาหนŒาทีข่ องรัฐตŒองยืน่ บัญชีทรัพยสนิ และหนีส้ นิ ต‹อหัวหนŒาส‹วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน‹วยงานของรัฐที่ตนสังกัดหรือปฏิบัติงานอยู‹ ทั้งน ้ ตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา (มาตรา 130) 3 การกำหนดรอบการยืน่ บัญชีทรัพยสนิ และหนีส้ นิ ทีล่ ดภาระ กับผูŒมีหนŒาที่ยื่นบัญชีฯ มีเพียง 2 ประเภท ไดŒแก‹ (1) ตำแหน‹งที่ตŒองยื่นเมื่อเขŒารับตำแหน‹ง และพŒนจากตำแหน‹ง (มาตรา 105 (1)) (2) ตำแหน‹งที่ตŒองยื่นเมื่อเขŒารับตำแหน‹งและเมื่อพŒนจากการเปšนเจŒาหนŒาที่ของรัฐ และทุกสามป‚ตลอดเวลาที่ยังดำรงตำแหน‹งเปšนเจŒาหนŒาที่ของรัฐ (มาตรา 105 (2)) 4 กรณีทเ่ี จŒาพนักงานของรัฐผูŒ ใดไดŒรบั แต‹งตัง้ ใหŒดำรงตำแหน‹งอืน่ ใดทีม่ หี นŒาทีต่ อŒ งยืน่ บัญชีทรัพยสนิ และหน ส้ นิ ดŒวย เจŒาพนักงานของรัฐ ผูŒนั้นไม‹ตŒองยื่นบัญชีทรัพยสินและหน ้สินใหม‹ (มาตรา 105 วรรคหŒา) 5 การจัดตัง้ กองทุนป‡องกันและปราบปรามการทุจร ตแห‹งชาติ เพื่อสนับสนุนการมีส‹วนร‹วมของประชาชนในการตรวจสอบการใชŒอำนาจรัฐและสนับสนุน ภาคเอกชนในการเผยแพร‹ประชาสัมพันธ หรือรณรงคในการป‡องกันการทุจริต รวมถึง เปšนค‹าใชŒจา‹ ยในการจัดใหŒมมี าตรการคุมŒ ครองช‹วยเหลือและค‹าทดแทน รวมทัง้ เงินรางวัล (มาตรา 162) 6 การเพ ม อำนาจในการป‡องปรามการทุจร ต ในกรณ ทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มีเหตุอนั ควรสงสัยว‹ามีการดำเนินการอย‹างใดในหน‹วยงาน ของรัฐอันอาจนำไปสู‹การทุจริตหรือส‹อว‹าอาจมีการทุจริต ใหŒคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดำเนินการตรวจสอบโดยเร็ว ถŒาผลการตรวจสอบปรากฏว‹ากรณ มีเหตุอันควรระมัดระวัง 7 คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจมีมติดวŒ ยคะแนนเสียงไม‹นอŒ ยกว‹าสองในสามของกรรมการทัง้ หมดเท‹าทีม่ อี ยู‹ มีหนังสือ แจŒงใหŒหน‹วยงานของรัฐดังกล‹าวและคณะรัฐมนตรีทราบ พรŒอมดŒวยขŒอเสนอแนะแนวทาง การแกŒไขหน‹วยงานของรัฐดังกล‹าวและคณะรัฐมนตรีทราบ พรŒอมดŒวยขŒอเสนอแนะแนวทาง การแกŒไข (มาตรา 35) 8 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ เหตุผล ได้บัญญัติหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในการจัดให้มี มาตรการหรือแนวทางที่จะทําให้การปฏิบัติหน้าที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดความรวดเร็ว สุจริต และเที่ยงธรรม รวมทั้งได้ เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม ตลอดจนวาระการดํารงตําแหน่งไว้ อีกทั้งได้บัญญัติให้รัฐมีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และ ให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและ ประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและ กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและ ขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวดตามมาตรา ๖๓ ของรัฐธรรมนูญ ลําดับ ประเด็น หลักต้องจํา หมายเหตุ 1. “เจ้าพนักงานของรัฐ” หมายความว่า 1. เจ้าหน้าที่ของรัฐ อย่ า จํ า สลั บ กั บ เจ้ า ที่ 2. ผู้ดาํ รงตําแหน่งทางการเมือง ห น้ า ที่ ข อ ง รั ฐ 3. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เจ้าพนักงานคํารวม 4. ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ และ คณะกรรมการ ป.ป.ช. 2. “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า 1. ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น 2. ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐหรือใน รัฐวิสาหกิจ 3. ผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่น และสมาชิกสภา ท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. เจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วย ลักษณะปกครองท้องที่ หรือเจ้า พนักงานอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ 5. อนุกรรมการ 6. ลูกจ้างของส่วนราชการ หน่วยงานของ รัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ และบุคคลหรือ คณะบุคคลบรรดาซึ่งมีกฎหมาย กําหนดให้ใช้อํานาจ 7. รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐ 3. “ผูด้ ํารงตําแหน่งทางการเมือง” (๑) นายกรัฐมนตรี (๒) รัฐมนตรี หมายความว่า (๓) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (๔) สมาชิกวุฒิสภา (๕) ข้าราชการการเมืองอื่นตามกฎหมายว่า ด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง (๖) ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตาม กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภา 4. “ผูด้ ํารงตําแหน่งระดับสูง” 1. ผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้าส่วนราชการ หมายความว่า ระดับกระทรวง กรมหรือส่วนราชการที่ มีฐานะเป็นนิติบุคคล 2. ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการ ทหารสูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพ สําหรับข้าราชการทหาร และผู้ บัญชาการตํารวจแห่งชาติ และให้ หมายความรวมถึงผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดกรุงเทพมหานคร 3. กรรมการและผู้บริหารสูงสุดของ รัฐวิสาหกิจ 4. หัวหน้าหน่วยงานขององค์กรอิสระตาม รัฐธรรมนูญ 5. “ผู้ถกู กล่าวหา” หมายความว่า ผู้ซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติให้ดําเนินการไต่ สวน ไม่ว่าจะในฐานะเป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือ ผูส้ นับสนุนในการกระทํา ความผิดดังกล่าว 6. “ไต่สวน” หมายความว่า การแสวงหา รวบรวม และการดําเนินการอื่นใด หรือตามกฎหมายอืน่ เพื่อให้ได้มา ซึ่งข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน 7. “ทุจริตต่อหน้าที”่ หมายความว่า 1. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดใน ตําแหน่งหรือหน้าที่ 2. หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่าง ใดในพฤติการณ์ทอี่ าจทําให้ผอู้ นื่ เชือ่ ว่า มีตาํ แหน่งหรือหน้าทีท่ ั้งทีต่ นมิได้มี ตําแหน่งหรือหน้าที่นนั้ 3. หรือใช้อํานาจในตําแหน่งหรือหน้าที่ เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดย ชอบสําหรับตนเองหรือผู้อื่น 4. หรือกระทําการอันเป็นความผิดต่อ ตําแหน่งหน้าที่ราชการหรือความผิดต่อ ตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรมตาม ประมวลกฎหมายอาญา 8. “ร่ํารวยผิดปกติ” หมายความว่า การมีทรัพย์สินมากผิดปกติ หรือมีทรัพย์สิน เพิ่มขึ้นมากผิดปกติ หรือการมีหนี้สินลดลงมาก ผิดปกติ หรือได้ทรัพย์สินมาโดยไม่มีมูลอันจะ อ้างได้ตามกฎหมายสืบเนื่องมาจากการปฏิบัติ ตามหน้ า ที่ ห รื อ ใช้ อํ า นาจในตํ า แหน่ ง หน้ า ที่ รวมทั้งกรณีมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติสืบเนื่อง จากการเปรี ย บเที ย บบั ญ ชี แ สดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินด้วย 9. มาตรา ๕ 1. ในกรณีกฎหมายมิได้กําหนดไว้เป็นอื่น การแจ้ง ยืน่ หรือส่งหนังสือหรือ 2. การใดทีก่ ําหนดให้แจ้ง ยื่น หรือส่งหนังสือ เอกสารให้บคุ คลใด หรือเอกสาร 3. ถ้าได้ส่งหนังสือให้บุคคลนั้น ณ ภูมิลําเนา หรือตามหลักฐานทางทะเบียน 4. ให้ถือว่าได้แจ้ง ยื่น หรือส่งโดยชอบ 10. มาตรา ๖ 1. ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการ 2. ต้องให้ความร่วมมือและความช่วยเหลือ ป.ป.ช. ต้องให้ความร่วมมือและ องค์กรอิสระทุกองค์กร ความช่วยเหลือ องค์กรอิสระทุก 3. ในกรณีที่เห็นว่าการอันไม่ชอบด้วย องค์กร กฎหมายอันอยู่ในหน้าที่และอํานาจของ องค์กรอิสระอื่น 4. ให้ มีหนังสือแจ้งองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้อง เพื่อดําเนินการตามหน้าที่และอํานาจต่อไป โดยไม่ชักช้า 11. มาตรา ๗ 1. ในการดําเนินคดีอาญาตามพระราชบัญญัติ จําเลยหลบหนีไปในระหว่างถูก ประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ดําเนินคดีหรือระหว่างการพิจารณา 2. ถ้าผู้ถูกกล่าวหาหรือจําเลยหลบหนีไปใน ของศาล มิให้นับระยะเวลาที่ผู้ถูก ระหว่างถูกดําเนินคดีหรือระหว่างการ กล่าวหา หรือจําเลยหลบหนี พิจารณาของศาล 3. มิให้นับระยะเวลาที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือ จําเลยหลบหนีรวมเป็นส่วนหนึ่งของอายุ ความ 4. และเมื่อได้มีคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษ จําเลย 5. ถ้าจําเลยหลบหนีไปในระหว่างต้องคํา พิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษ 6. มิให้นําบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา ๙๘ มาใช้บังคับ ส่วนที่ ๒ หน้าทีแ่ ละอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตาม พรป.ประกอบรัฐธรรมนูญ ลําดับ ประเด็น เงื่อนไขที่ทํา จุดหักมุม 1. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ หน้าที่และอํานาจ ปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ มี 1. ไต่สวน หน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ 2. และมีความเห็นกรณีมีการกล่าวหา (ชุดที่ 1 กลุ่มคนใหญ่) (1) ผู้ดาํ รงตําแหน่งทางการเมือง (2) ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (3) ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ (4) หรือผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน พฤติกรรม 1. ผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ 2. ทุจริตต่อหน้าที่ 3. หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อํานาจขัดต่อ บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย 4. หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทาง จริยธรรมอย่างร้ายแรง ตามรัฐธรรมนูญหรือ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 2. คณะกรรมการป้องกันและ หน้าที่และอํานาจ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมี 1. ไต่สวน หน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ 2. และวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ พฤติกรรม 1. ผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ 2. กระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ 3. กระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการ ยุติธรรมเพื่อดําเนินการต่อไปตาม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ลําดับ ประเด็น เงื่อนไขที่ทํา จุดหักมุม 3 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ กําหนดให้ ปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ มี 1. ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง หน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ 2. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 3. ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ 4. ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน 5. และเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน (1) ของตน (2) คู่สมรส (3) และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิตภิ าวะ (4) รวมทั้งตรวจสอบและเปิดเผยผลการ ตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน มาตรา ๒๙ ให้ ป.ป.ช. รายงานผลการตรวจสอบและผล การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน การบัติหน้าที่พร้อมข้อสังเกตต่อรัฐสภาทุกปี ประจําปี มาตรา ๓๐ ให้ ร วมถึ ง การดํ า เนิ น การกั บ บุ ค คลอื่ น ซึ่ ง เป็ น การดําเนินการของ ป.ป.ช. นอกจาก ตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน รวมทั้งผู้ให้ ผู้ขอให้ เอาตัวหลักแล้วยังต้องรวมไปถึง หรือรับว่าจะให้หรือนิติบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการ ให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด เพื่อจูงใจให้ กระทําการ ไม่กระทําการ หรือประวิงการกระทํา อันมิชอบด้วยกฎหมายด้วย มาตรา ๓๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ ของ ป.ป.ช. ที่จะต้องจัดให้มี ปฏิบัติหน้าที่ ของ ป.ป.ช. มาตรการหรื อ แนวทางที่ จ ะทํ า ให้ ก ารปฏิ บั ติ จะต้องจัดให้มีมาตรการหรือแนวทาง หน้าที่มีประสิทธิภาพ เกิดความรวดเร็ว สุจริต อย่างไร และเที่ยงธรรม มาตรา ๓๒ (๑) ปรับปรุงการปฏิบัติราชการ แผนงาน ตรงไหนทําไม่ได้ให้แจ้ง ป.ป.ช. มีหน้าที่และอํานาจเสนอ โครงการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ปัญหาและอุปสรรคต่อ มาตรการความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อป้องกันหรือปราบปรามการทุจริต คณะกรรมการ ป.ป.ช. รัฐสภา ศาล องค์กรอิสระ หรือ (๒) จัดให้มีมาตรการและกลไกที่มี ทราบต่อไป ทั้งนี้ ไม่ องค์กรอัยการในเรื่องอะไรได้บ้าง ประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและ เกินเก้าสิบวันนับแต่ ประพฤติมิชอบ ได้รับแจ้งจาก (๓) เสนอแนะให้มีการปรับปรุงกฎหมาย คณะกรรมการ ป.ป.ช. (๔) ในการจัดทํามาตรการ ความเห็น และ ข้อเสนอแนะอาจจัดให้รับฟังความคิดเห็นด้วย ลําดับ ประเด็น เงื่อนไขที่ทํา จุดหักมุม มาตรา ๓๓ (๑) การส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกัน โดยให้ผู้แทนจาก เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมและให้ ต่อต้าน หรือชี้เบาะแส โดยได้รบั ความคุม้ ครอง ภาคเอกชนและภาค ความร่วมมือในการป้องกันและ รวมทั้งจัดให้มีช่องทางการแจ้งข้อมูล ต้องมี ประชาสังคม และ ปราบปรามทุจริตให้ดําเนินการใน วิธีการที่ง่าย สะดวก ไม่มีขั้นตอนยุ่งยาก และไม่ ผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการ เรื่องดังต่อไปนี้ ก่อผลร้ายกับผู้แจ้งเพื่อป้องกันการทุจริต ดํารงตําแหน่งคราวละ ตลอดจนเสริมสร้างทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับ สามปี ให้เลขาธิการ ความซื่อสัตย์สุจริต เป็นกรรมการและ (๒) ให้ความช่วยเหลือหน่วยงานของรัฐ เลขานุการ จัดให้มีกลไกการแจ้งเตือนพฤติการณ์ที่ส่อว่าอาจ มีการทุจริตในหน่วยงานของตน (๓) ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมี ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอันตรายของ การทุจริต (๔) รับฟังข้อเสนอแนะจากประชาชน หรือหน่วยงานของรัฐเพื่อนําไปปรับปรุงการ ปฏิบัติหน้าที่ มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเพื่อให้คําเสนอแนะ ช่วยเหลือ และร่วมมือกันดําเนินการ ประกอบด้วย กรรมการโดยตําแหน่ง 1.ประธานกรรมการเป็นประธาน กรรมการ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย จํานวนหนึ่งคน 2.เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ 3.ประธานกรรมการการอุดมศึกษา 4.ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ กรรมการที่สรรหา 1.ผู้แทนจากภาคเอกชนและภาค ประชาสังคมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตไม่เกินสี่คน 2.และผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสามคน ซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่งตั้งเป็นกรรมการ ลําดับ ประเด็น เงื่อนไขที่ทํา จุดหักมุม มาตรา ๓๔ (๑) มีคําสั่งให้ข้าราชการ มาให้ถ้อยคําหรือ ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม ส่งมอบเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องมา พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เพือ่ ประโยชน์ในการไต่สวน นี้ ให้คณะกรรมการ (๒) ให้บุคคลใดมาให้ถ้อยคํา หรือส่งบัญชี ป.ป.ช. มีอํานาจ ดังต่อไปนี้ เอกสาร หรือหลักฐานใด ๆ มาเพื่อประโยชน์ใน การไต่สวน (๓) ดําเนินการขอให้ศาลทีม่ ีเขตอํานาจ ออกหมายเพือ่ เข้าไปในเคหสถาน สถานทีท่ ําการ หรือสถานทีอ่ นื่ ใด รวมทั้งยานพาหนะของบุคคล ใด ๆ ในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ขนึ้ และพระ อาทิตย์ตก หรือในระหว่างเวลาที่มีการประกอบ กิจการ เพื่อตรวจสอบ ค้น ยึด หรืออายัด เอกสาร ทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐานอื่นใดซึ่ง เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ไต่สวน และหากยังดําเนินการ ไม่แล้วเสร็จในเวลาดังกล่าวให้สามารถดําเนินการ ต่อไปได้จนกว่าจะแล้วเสร็จ (๔) มีคําสัง่ ให้หน่วยราชการ อํานวยความ สะดวก หรือให้ความช่วยเหลือในการปฏิบัติ หน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (๕) จ้างที่ปรึกษาหรือผู้เชี่ยวชาญในการ ตรวจสอบหาข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือหนี้สิน มาตรา ๓๕ ถ้าผลการตรวจสอบปรากฏว่ากรณีมีเหตุอันควร เมื่อได้รับต้อง ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ระมัดระวัง คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจมีมติดว้ ย ดําเนินการพื่อป้องกันมิ มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าในหน่วยงาน คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสองในสามของกรรมการ ให้เกิดการทุจริตหรือ ของรัฐใดทําอะไรอันอาจนําไปสู่การ ทั้งหมดเท่าทีม่ ีอยู่ มีหนังสือแจ้งให้หน่วยงานของ เกิดความเสียหายเร็ว ทุจริตหรือส่อว่าอาจมีการทุจริต ให้ รัฐดังกล่าวและคณะรัฐมนตรีทราบ พร้อมด้วย และถ้าไม่เกี่ยวกับ ดําเนินการ ตรวจสอบโดยเร็ว ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไข ความลับของทาง ราชการให้เปิดเผยให้ ประชาชนทราบเป็น การทั่วไป มาตรา ๓๖ (๑) ในชั้นก่อนการไต่สวน ห้ามเปิดเผยชื่อผู้ ห้ามมิให้มีการเปิดเผย คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเปิดเผย ถูกร้อง หรือเผยแพร่ข้อมูล ข้อมูลซึ่งมีลักษณะเป็นข้อมูลเฉพาะ (๒) เมื่อได้ดําเนินการไต่สวนหรือไต่สวน รายงานและสํานวน ของบุคคล บรรดาที่ได้มาจากการ เบื้องต้นแล้วมีพยานหลักฐานพอสมควรก่อนที่ การตรวจสอบ หรือไต่ ปฏิบตั หิ น้าทีม่ ิได้ เว้นแต่การเปิดเผย คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะพิจารณาวินิจฉัย สวนเบื้องต้นที่อยู่ ข้อมูลอืน่ ใดเพือ่ ให้สาธารณชนได้ (๓) เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. มี ระหว่างการดําเนินการ ทราบ และมีเหตุอันจําเป็นเพือ่ ความเห็นหรือวินิจฉัยว่าผู้ถูกกล่าวหามีพฤติการณ์ จนกว่าคณะกรรมการ ลําดับ ประเด็น เงื่อนไขที่ทํา จุดหักมุม ประโยชน์ ในการไต่สวนหรือไต่สวน การกระทําความผิด ให้เปิดเผยความเห็นหรือคํา ป.ป.ช. จะได้พจิ ารณา เบือ้ งต้น และได้รับอนุญาตจาก วินิจฉัยได้ เว้นแต่จะเปิดเผยชือ่ ผูก้ ล่าวหา ผูแ้ จ้ง และมีมติ คณะกรรมการ ป.ป.ช. แล้วดังนี้ เบาะแสและผูซ้ ึ่งเป็นพยานมิได้ และต้องไม่ เว้นแต่จะเป็นการ กระทบต่อรูปคดีหรือความปลอดภัยในชีวติ หรือ เปิดเผยเพื่อประโยชน์ ทรัพย์สินของบุคคลที่เกีย่ วข้อง ในการไต่สวนหรือไต่ สวนเบื้องต้น ทั้งนี้ ให้ ถือว่าเป็นความลับของ ทางราชการ มาตรา ๓๗ หากตรวจสอบพบให้ดําเนินการทางวินยั ในกรณีที่มีการเปิดเผยข้อมูลให้ แก่ผทู้ ี่เปิดเผยข้อมูล เลขาธิการดําเนินการตรวจสอบเพื่อ 1. หากเป็นกรณีที่กระทําโดยจงใจให้ถอื ว่า หาตัวผู้เปิดเผยข้อมูลโดยเร็ว เป็นความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรง 1. หากเลขาธิการไม่ดําเนินการตรวจสอบให้ ถือว่าเป็นความบกพร่องของเลขาธิการ และให้คณะกรรมการ ป.ป.ช.พิจารณา ดําเนินการตามควรแก่กรณี มาตรา ๓๙ หากมีเหตุอันควรเชื่อว่าผู้ถูกกล่าวหาจะหลบหนี ในระหว่างการไต่สวนหรือเมื่อ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจดําเนินการ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลว่าผู้ใด ขอให้ศาลที่มีเขตอํานาจออกหมายจับและ กระทําความผิดและความผิดนั้นมี ควบคุมตัวผู้ถูกกล่าวหาไว้ โทษทางอาญา 1. ในการจับ จะมอบหมายพนักงาน เจ้าหน้าที่พนักงานฝ่ายปกครองหรือ ตํารวจ หรือพนักงานสอบสวนดําเนินการ แทนก็ได้ 2. ในกรณีที่มีการกระทําความผิดฐานทุจริต ต่อหน้าที่ เกิดขึ้นในลักษณะความผิดซึ่ง หน้า ให้กรรมการ พนักงานไต่สวนที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย และ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจชั้น ผู้ใหญ่มีอํานาจจับกุมตัวผูก้ ระทําความผิด ได้โดยไม่ตอ้ งมีหมายของศาล และเมื่อ จับได้แล้วให้ส่งมอบให้พนักงานสอบสวน ควบคุมตัว