เซลล์ PDF

Summary

เนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างเซลล์และออร์แกเนลล์ต่างๆในเซลล์ มีภาพประกอบและข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง เหมาะสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา

Full Transcript

10 m Human height 1m Length of some nerve and Light microscope muscle cells 0.1 m Chicken egg 1 cm Frog egg 1 mm Electron microscope 100 µm...

10 m Human height 1m Length of some nerve and Light microscope muscle cells 0.1 m Chicken egg 1 cm Frog egg 1 mm Electron microscope 100 µm Most plant and Animal cells 10 µ m Nucleus Most bacteria Mitochondrion 1µm Electron microscope 100 nm Smallest bacteria Viruses 10 nm Ribosomes Proteins Lipids 1 nm Small molecules 0.1 nm Atoms CELL Robert Hoock เป็ นผู้ประดิษฐ์ กล้ อง จุลทรรรศน์ ชนิดเลนส์ ประกอบ และใช้ ส่ องดูเซลล์ ไม้ คอร์ ค เห็นเป็ นช่ องเล็กๆ จึงตั้งชื่ อแต่ ละห้ องว่ า Cell ทฤษฎีเซลล์ (Cell theory) “เซลล์ คือหน่ วยพืน้ ฐานทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดของสิ่ งมีชีวติ ทีม่ กี ารจัดระบบ และสิ่ งมีชีวติ ทั้งหลาย ย่ อมประกอบไปด้ วยเซลล์ ” Amoeba Bacteria Nerve Cell เซลล์ เซลล์ (Cell) เซลล์ คือหน่ วยทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดของสิ่ งมีชีวติ ทีส่ ามารถดารงกิจกรรมต่ างๆ ได้ เซลล์ มี หลายชนิดและหลายรู ปร่ างขึน้ อยู่กบั ตาแหน่ งทีอ่ ยู่และหน้ าทีข่ องเซลล์ โดยเซลล์ สามารถแบ่ งออกได้ 2 ประเภทตามการมีนิวเคลียส คือ Eukaryotic cells และ Prokaryotic cell โครงสร้ าง โปรคาริโอต ยูคาริโอต (Prokaryote) (Eukaryote) เยื่อหุ้มนิวเคลียส ไม่มี มี ขนาด Ribosome 70S 70S, 80S สารพันธุกรรม DNA อยูเ่ ดี่ยวๆ อยูร่ ่ วมกับโปรตีน Histone Organelle มีเพียง Ribosome, Flagellum มีหมดทุกชนิด ผนังเซลล์ (ถ้ ามี) แบคทีเรี ย : เพปติโดไกลแคน พืช : เซลลูโลส อาร์เคีย (Archaea) : ไกลโคโปรตีน ฟังไจ : ไคติน ตัวอย่ างสิ่ งมีชีวติ แบคทีเรี ยและสาหร่ ายสี เขียวแกม ฟังไจ โพรทิสต์ พืช สัตว์ น้ าเงิน เซลล์ องค์ ประกอบของเซลล์ องค์ ประกอบของเซลล์ เซลล์ ของสิ่ งมีชีวติ ทุกชนิดจะต้ องประกอบไปด้ วย องค์ ประกอบทีส่ าคัญ 4 ส่ วน ได้ แก่ ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) สารพันธุกรรม (Nucleic acid) ไรโบโซม (Ribosome) โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์ ส่ วนทีห่ ่ อหุ้มเซลล์ ผนังเซลล์ (Cell wall) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์ ส่ วนทีห่ ่ อหุ้มเซลล์ ผนังเซลล์ (Cell wall) : ทาหน้ าที่ให้ ความแข็งแรงและป้ องกันอันตรายให้ แก่ เซลล์ ทาให้ เซลล์ คงรู ปร่ างอยู่ได้ พบในพืช สาหร่ าย ฟังไจ (เห็ด-รา) และแบคทีเรียบาง ชนิด แต่ ไม่ พบในเซลล์สัตว์ โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) : พบในทุกเซลล์ ทยี่ งั มีชีวติ มีคุณสมบัตเิ ป็ น เยื่อเลือกผ่ าน มีคาร์ โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เป็ นองค์ ประกอบที่สาคัญ องค์ ประกอบของเซลล์ โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์ โปรโทพลาซึม (Protoplasm) โปรโทพลาสซึมคือส่ วนทีอ่ ยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ ท้งั หมด ประกอบไปด้ วย นิวเคลียสและไซโทพลาซึม โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์ นิวเคลียส (Nucleus) มีลกั ษณะค่ อนข้ างกลม เป็ น โครงสร้ างของเซลล์ ทเี่ ห็นชัดอยู่ตรงกลาง เซลล์ ทาหน้ าทีเ่ ป็ นศูนย์ ควบคุมกิจกรรม ต่ างๆ ภายในเซลล์ เช่ น การแบ่ งเซลล์ รวม ไปถึงลักษณะทางพันธุกรรม มี องค์ ประกอบแบ่ งเป็ น 2 ส่ วนใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ The nucleus and the envelope Chromatin สารพันธุกรรม ทาหน้ าทีถ่ ่ ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม Nucleolus Nucleolus มีลกั ษณะเป็ นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส ในหนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่งหรื อสอง เม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่ มีการแบ่ งตัวหน้ าที่ สร้ าง ribosome (rRNA + protein) โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์ โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์ ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ไซโทพลาสซึมคือส่ วนทีอ่ ยู่ระหว่ างนิวเคลียสและเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่ งเป็ น 2 ส่ วน คือ ส่ วนที่เป็ นของเหลว (Cytosol) และส่ วนที่เป็ นของแข็ง (Organelle) โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์ ออร์ แกแนลล์ (Organelle) : เรียกได้ ว่า เป็ นอวัยวะของเซลล์ มีหลายชนิด กระจายอยู่ ตามตาแหน่ งต่ าง ๆ ในไซโทพลาซึม โดยสามารถแบ่ งออร์ แกเนลล์ ตามจานวนชั้นเยื่อ หุ้ม โดยทีเ่ ยื่อหุ้มเหล่ านั้นจะมีโครงสร้ างคล้ ายเยื่อหุ้มเซลล์ องค์ ประกอบของเซลล์ โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์ ออร์ แกแนลล์ (Organelle) : เรียกได้ ว่า เป็ นอวัยวะของเซลล์ มีหลายชนิด กระจายอยู่ ตามตาแหน่ งต่ าง ๆ ในไซโทพลาซึม โดยสามารถแบ่ งออร์ แกเนลล์ ตามจานวนชั้นเยื่อ หุ้ม โดยทีเ่ ยื่อหุ้มเหล่ านั้นจะมีโครงสร้ างคล้ ายเยื่อหุ้มเซลล์ ออร์ แกเนลล์ ทไี่ ม่ มเี ยื่อห้ ุม ไรโบโซม (ribosome) : แหล่ งสั งเคราะห์ โปรตีนเป็ นออร์ แกเนลล์ ทไี่ ม่ มเี ยื่อหุ้ม รู ปร่ างเป็ นก้ อน ทาหน้ าทีส่ ั งเคราะห์ โปรตีนประกอบด้ วยหน่ วยย่ อย 2 หน่ วย คือ หน่ วยย่ อยขนาดเล็กและหน่ วยย่ อย ขนาดใหญ่ ออร์ แกเนลล์ ทไี่ ม่ มเี ยื่อห้ ุม Ribosome ออร์ แกเนลล์ ทไี่ ม่ มเี ยื่อห้ ุม เซนทริโอ (centriole) : โครงร่ างทาให้ โครมาทิด แยกออกจากกันในสิ่ งมีชีวติ บางชนิด เป็ นออร์ แกเนลล์ ที่ไม่ พบในเซลล์พืชและพวกเห็ด รา เป็ นบริเวณที่ยดึ เส้ นใยสปิ นเดิลช่ วยในการ เคลื่อนทีข่ องโครโมโซม และแยกโครมาทิดแต่ ละคู่ ออกจากกันขณะเซลล์แบ่ งตัว ออร์ แกเนลล์ ทไี่ ม่ มเี ยื่อห้ ุม ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) : โครงร่ างทีค่ า้ จุน เป็ นโครงร่ างทีค่ า้ จุนเซลล์ แบ่ งได้ เป็ น 3 ชนิด ไมโครทิวบูล เกิดจากโปรตีนทีเ่ รียกว่ า ทูบูลนิ (tubulin) เรียงต่ อกันเป็ นสาย อินเทอร์ มีเดียทฟิ ลาเมนท์ (intermediate filaments) ไมโครฟิ ลาเมนท์ (microfilament) หรื อแอกทินฟิ ลาเมนท์ (actin filaments) ออร์ แกเนลล์ ทไี่ ม่ มเี ยื่อห้ ุม ออร์ แกเนลล์ ทไี่ ม่ มเี ยื่อห้ ุม ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น เอนโดพลาสมิกเรคูลมั (edoplasmic reticurum : ER) : โรงงานผลิตและลาเลียงสารใน เซลล์ อยู่ล้อมรอบนิวเคลียส แบ่ งได้ 2 ชนิด คือ เอนโดพลาสมิกเรติคูลมั แบบผิวขรุขระ (rough endoplasmic reticulum : RER) มีหน้ าที่สังเคราะห์ โปรตีน เอนโดพลาสมิกเรติคูลมั แบบผิวเรียบ (smooth endoplasmic reticulum : SER) ทาหน้ าที่สังเคราะห์ สารสเตรอยด์ ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น RER SER ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น กอลจิคอมเพล็กซ์ (Golgi complex หรื อ Golgi bodies) : แหล่ งรวบรวมบรรจุและขนส่ ง มีลกั ษณะเป็ นถุงกลมแบน กอลจิคอมเพล็กซ์ มักพบอยู่ใกล้ กบั ER ไม่ พบในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ โตเต็มทีแ่ ล้ วของสั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนม ทาหน้ าทีเ่ ติม กลุ่มคาร์ โบไฮเดรตให้ กบั โปรตีนหรื อลิพดิ ทีส่ ่ งมา จาก ER ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น The Golgi apparatus ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น การทางานร่ วมกันระหว่ าง ER กับ Golgi complex ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น ไลโซโซม (lysosome) : ผู้ขนส่ งเอนไซม์ ภายใน มีเอนไซม์ ทาลายสิ่ ง แปลกปลอม เช่ น ไลโซโซมในเซลล์ตับ โดย ไปรวมกับเวสิ เคิลที่มีสารแปลกปลอม เมื่อ เซลล์ ได้ รับอันตรายหรื อจะตาย ไลโซโซม จะปล่อยเอนไซม์ ออกมาสู่ ไซโทพลาสซึม เพื่อย่ อยสลายเซลล์ ท้งั หมด ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น Lysosomes in a white blood cell Lysosomes in a white blood cell ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น The formation and functions of lysosomes Peroxisome เป็ นถุงทีม่ เี ยื่อหุ้มชั้นเดียว ภายในเป็ นที่รวมของ เอนไซม์ ย้อมติดสี เข้ มเอนไซม์ ชนิดต่ างๆทาหน้ าที่ เกีย่ วข้ องกับการสร้ างหรื อทาลาย hydrogen peroxide (H2O2) เพื่อป้ องกันไม่ ให้ เกิดสารพิษขึน้ ภายในเซลล์ เช่ น เซลล์ ตับ RH2 + O2 Oxidase R + H2O2 2H2O2 catalase 2H2O + O2 ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น แวคิวโอล (vacuole) : ถุงบรรจุสาร แวคิวโอลมีหลายชนิด ทาหน้ าที่แตกต่ างกันไป เช่ น คอนแทร็กไทล์ แวคิวโอล (contractile vacuole) ฟูดแวคิวโอล (food vacuole) แซบแวคิวโอล (sap vacuole) ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น The plant cell vacuole (sap vacuole) แซบแวคิวโอล ทาหน้ าที่สะสมสารบาง ชนิด เช่ น สารสี ไอออน นา้ ตาล กรดอะมิ โน ผลึกและสารพิษต่ าง ๆ สี ของกลีบ ดอกไม้ สี แดง สี ม่วง สี นา้ เงิน มีสารสี ที่ เรียกว่ า แอนโทไซยานิน (anthocyanin) ละลายอยู่ในแซบแวคิวโอล ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น Food vacuole ทาหน้ าที่ บรรจุอาหารที่รับมาจาก ภายนอกเซลล์ เพื่อย่ อย สลายต่ อไป พบในเซลล์ เม็ดเลือดขาวและ สิ่ งมีชีวติ เซลล์เดียว ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 1 ชั้น คอนแทร็กไทล์ แวคิวโอล (Contractile vacuole ) ) ทาหน้ าที่รักษา สมดุลของนา้ พบในสิ่ งมีชีวติ เซลล์ เดียว เช่ น อะมีบา พารามีเซียม ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 2 ชั้น พลาสติด (pladtid) : เม็ดสี ในเซลล์ เป็ นออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อหุ้ม 2 ชั้น ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 2 ชั้น Plastid หรื อ เม็ดสี มี 3 ชนิด ได้ แก่ คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็ นพลาสติดที่มีสีเขียว เนื่องจากมีสารคลอโรฟี ลล์ เป็ นแหล่ งสร้ างอาหารของเซลล์ พืชและโพรทิสต์ บางชนิด โครโมพลาสต์ (chromoplast) เป็ นพลาสติดที่มีสารที่ทาให้ เกิดสี ต่าง ๆ ยกเว้ นสี เขียว ทาให้ ดอกไม้ ใบไม้ และผลไม้ มีสีสันสวยงาม เช่ น ผลสี แดงของพริก รากของแครอท ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) เป็ นพลาสติดที่ไม่ มีสี มีหน้ าที่สะสมเม็ดแป้ งที่ได้ จาก การสั งเคราะห์ ด้วยแสง พบในเซลล์ที่สะสมอาหาร เช่ น มันเทศ มันแกว เผือก ผลไม้ เช่ น กล้ วย และใบพืชบริเวณที่ไม่ มีสี ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 2 ชั้น Plastid หรื อ เม็ดสี มี 3 ชนิด ได้ แก่ คลอโรพลาสต์ (chloroplast) โครโมพลาสต์ (chromoplast) ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) ออร์ แกเนลล์ ทมี่ เี ยื่อห้ ุม 2 ชั้น ไมโทคอนเดรีย (mitochondia) : แหล่ ง พลังงานในเซลล์ เป็ นแหล่ งผลิตสารที่ให้ พลังงานแก่ เซลล์ เยื่อหุ้มไมโทคอนเดรีย มี 2 ชั้น เยื่อชั้นนอกมีลกั ษณะเรียบ เยื่อ ชั้นในจะพับทบแล้ วยื่นเข้ าไปด้ านใน ส่ วนที่ยื่นเข้ าไปนีเ้ รียกว่ า คริสตี (cristae) เพื่อเพิม่ พืน้ ที่ผวิ สาระสาคัญ ใน mitochondria และ chloroplast มีลกั ษณะหลายอย่ างร่ วมกับสิ่ งมีชีวติ พวก Prokaryote เช่ น มีสารพันธุกรรมอย่ างง่ ายๆเป็ นของตัวเอง มี 70s ribosome มีการพับ ทบเข้ าไปของเยื่อหุ้มชั้นใน สาระสาคัญ Cilia, flagellum (9+0) และ centriole และ basal body (9+2) เป็ นโครงสร้ างที่ เกิดจากการเรียงกันของท่ อ Microtubule Eukaryote โครงสร้ าง Prokaryote เซลล์ พืช เซลล์ สัตว์ Cell wall มี มี ไม่มี Cell membrane มี มี มี ER ไม่มี มี มี Golgi body ไม่มี มี มี Mitochondria ไม่มี มี มี Plastid ไม่มี มี ไม่มี Lysosome ไม่มี ไม่มี มี Peroxysome ไม่มี มี มี Ribosome มี มี มี Nuclear membrane ไม่มี มี มี Nucleolus ไม่มี มี มี Chromosome DNA DNA และ โปรตีน DNA และ โปรตีน THE CELL การรักษาดุลภาพของเซลล์ ตลอดเวลาทีเ่ ซลล์ ยงั มีชีวติ อยู่จะมีการเลียงสารเข้ าและออกจากเซลล์ ตลอดเวลา จุดที่ น่ าสนใจเกิดขึน้ บริเวณแรกคือทีเ่ ยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เพราะผนังเซลล์ (Cell wall) ทีห่ ้ ุมอยู่ด้านนอกนั้นยอมให้ สารผ่ านได้ ทุกชนิด ซึ่งแตกต่ างจากเยื่อหุ้มเซลล์ ที่ ยอมให้ สารผ่ านได้ บางชนิดเท่ านั้น เยื่อหุ้มเซลล์ จงึ มีคุณสมบัตทิ เี่ รียกว่ า “เยื่อเลือกผ่ าน” (Semipermeable membrane) สมบัตดิ งั กล่าวทาให้ เยื่อหุ้มเซลล์ มบี ทบาทสาคัญในการ ควบคุมองค์ ประกอบทางเคมี หรื อสภาวะแวดล้ อมภายในเซลล์ การรักษาดุลภาพของเซลล์ การรักษาดุลภาพของเซลล์ การเคลื่อนทีผ่ ่ านเยือ้ หุ้มเซลล์ ใช้ กบั สารที่มีขนาดเล็ก แบ่ งเป็ น 2 ประเภทหลักใหญ่ ๆ คือ 1. การเคลื่อนที่แบบไม่ ใช้ พลังงานจากเซลล์ (Passive transport) 2. การเคลื่อนที่แบบใช้ พลังงาน (Active transport) การรักษาดุลภาพของเซลล์ การรักษาดุลภาพของเซลล์ Active transpor การลาเลียงแบบใช้ พลังงาน (active transport) สามารถใช้ พลังงานบังคับให้ สาร เคลื่อนทีจ่ ากบริเวณทีส่ ารมีความเข้ มข้ นตา่ ไปยังบริเวณทีส่ ารมีความเข้ มข้ นสู งกว่ าได้ เกิดขึน้ ในเซลล์ ที่มีไมโทคอนเดรียเยอะๆ โดยอาศัยโปรตีนตัวพา (Carrier protein) เท่ านั้น ทีแ่ ทรกอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์ ทาหน้ าทีเ่ ป็ นตัวลาเลียง การลาเลียงแบบใช้ พลังงาน จะใช้ พลังงานทีไ่ ด้ จากการสลายพันธะของสารทีม่ พี ลังงานสู งบางชนิด เช่ น ATP (Adenosine triphosphate) การรักษาดุลภาพของเซลล์ Passive transport เป็ นการนาสารผ่ านเข้ าออกเซลล์ โดยไม่ ใช้ พลังงาน มีหลายวิธี ดังนี้ การแพร่ (Diffusion) Simple diffusion เป็ นการแพร่ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดยตรงของแก๊ สและนา้ Facilitated diffusion เป็ นการแพร่ ที่เกิดขึน้ ภายในสิ่ งมีชีวติ เท่ านั้น โดยผ่ าน โปรตีนตัวพาทีเ่ ยื่อหุ้มเซลล์ Simple vs. facilitated diffusion simple diffusion facilitated diffusion inside cell lipid inside cell H 2O protein channel outside cell outside cell H2O การรักษาดุลภาพของเซลล์ ออสโมซิส (Osmosis) ออสโมซิส คือการแพร่ ของนา้ ผ่ านเยือ้ เลือกผ่ านโดยนา้ จะแพร่ จาก บริเวณที่มีนา้ มาก การรักษาดุลภาพของเซลล์ การรักษาดุลภาพของเซลล์ การเคลื่อนทีข่ องสารโดยไม่ ผ่านเยือ้ หุ้มเซลล์ การลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่ เข้ าหรื อ ออกจากเซลล์ เซลล์สามารถลาเลียงสารเหล่ านี้ ได้ ด้วยกลไกการลาเลียง โดยการสร้ างเวสสิ เคิล จากเยื่อหุ้มเซลล์ การลาเลียงด้ วยวิธีนีส้ ามารถ แบ่ งได้ เป็ น 2 ชนิด ตามทิศทางการลาเลียงสาร ออกหรื อเข้ าเซลล์ คือ เอกโซไซโทซิส (exocytosis) และเอนโดไซโทซิส (endocytosis) การรักษาดุลภาพของเซลล์ Exocytosis กระบวนการลาเลียงสารที่มี โมเลกุลขนาดใหญ่ ออกจากเซลล์ โดย เกิดจากการหลอมรวมเยื่อหุ้ม vesicle ทีบ่ รรจุสารกับเยื่อหุ้มเซลล์ แล้ วปล่ อย สารนั้นออกไปนอกเซลล์ เช่ น สาร พวกเอนไซม์ หรื อฮอร์ โมน การหลัง่ เอนไซม์ จากเยื่อบุผนังกระเพาะอาหาร การรักษาดุลภาพของเซลล์ Endocytosis การลาเลียงสารขนาดใหญ่ เข้ าสู่ เซลล์ โดยเอนโดไซโทซิสในสิ่ งมีชีวติ มีชื่อเรียก แตกต่ างกันไปตามกลไกการลาเลียง เช่ น ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis) พิโนไซโทซิส (pinocytosis) การนาเข้ าสู่ เซลล์ โดยอาศัยตัวรับ (receptor - mediated endocytosis) การรักษาดุลภาพของเซลล์ ทดสอบความเข้ าใจ จงบอกชื่ อของออร์ แกเนลล์ ต่อไปนี้ จงบอกชื่ อของออร์ แกเนลล์ ต่อไปนี้ จงเติมเครื่ องหมายถูกลงไปหากพบว่ าสิ่ งมีชีวติ นั้นๆมีออร์ แกเนลล์ ทกี่ าหนดให้ และหากไม่ มีให้ ใส่ เครื่ องหมายกากบาท Eukaryote โครงสร้ าง Prokaryote เซลล์ พืช เซลล์ สัตว์ Cell wall Cell membrane ER Golgi body Mitochondria Plastid Lysosome Ribosome Nuclear membrane จงบอกชื่ อออร์ แกเนลล์ ที่กาหนดให้ พร้ อมทั้งหน้ าที่ของ ออแกเนลล์น้ันๆ ไมโทคอนเดรีย (mitochondia) : แหล่ ง พลังงานในเซลล์ เป็ นแหล่ งผลิตสารที่ให้ พลังงานแก่ เซลล์ เยื่อหุ้มไมโทคอนเดรีย มี 2 ชั้น เยื่อชั้นนอกมีลกั ษณะเรียบ เยื่อ ชั้นในจะพับทบแล้ วยื่นเข้ าไปด้ านใน ส่ วนที่ยื่นเข้ าไปนีเ้ รียกว่ า คริสตี (cristae) เพื่อเพิม่ พืน้ ที่ผวิ จงบอกชื่ อออร์ แกเนลล์ ที่กาหนดให้ พร้ อมทั้งหน้ าที่ของ ออแกเนลล์น้ันๆ กอลจิคอมเพล็กซ์ (Golgi complex หรื อ Golgi bodies) : แหล่ งรวบรวมบรรจุและขนส่ ง มีลกั ษณะเป็ นถุงกลมแบน กอลจิคอมเพล็กซ์ มักพบอยู่ใกล้ กบั ER ไม่ พบในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ โตเต็มทีแ่ ล้ วของสั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนม ทาหน้ าทีเ่ ติม กลุ่มคาร์ โบไฮเดรตให้ กบั โปรตีนหรื อลิพดิ ทีส่ ่ งมา จาก ER จงบอกชื่ อออร์ แกเนลล์ ที่กาหนดให้ พร้ อมทั้งหน้ าที่ของ ออแกเนลล์น้ันๆ นิวเคลียส (Nucleus) มีลกั ษณะค่ อนข้ างกลม เป็ น โครงสร้ างของเซลล์ ทเี่ ห็นชัดอยู่ตรงกลาง เซลล์ ทาหน้ าทีเ่ ป็ นศูนย์ ควบคุมกิจกรรม ต่ างๆ ภายในเซลล์ เช่ น การแบ่ งเซลล์ รวม ไปถึงลักษณะทางพันธุกรรม มี องค์ ประกอบแบ่ งเป็ น 2 ส่ วนใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ

Use Quizgecko on...
Browser
Browser