🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

t2y60lec02_computer_network.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Document Details

PoisedSetting

Uploaded by PoisedSetting

Tags

computer networks network technology internet applications IT

Full Transcript

Outline 1. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. อินเทอร์เน็ ต...

Outline 1. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. อินเทอร์เน็ ต 3. แอปพลิ เคชันบนอินเทอร์เน็ต 4. ทีซีพี / ไอพี และระบบชือโดเมน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เรียบเรียงโดย อ.ดร. ศุภกิ จ อาวิ พนั ธุ์ 204100 IT AND MODERN LIFE Image credit: https://wallpapersafari.com 204100 IT AND MODERN LIFE ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิ วเตอร์ เกิ ดจากการเชือมต่อคอมพิ วเตอร์ และอุปกรณ์ เครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกันผ่านสือสัญญาณ  ผูใ้ ช้เครือข่ายสามารถติ ดต่อสือสารเพือรับส่งข้อมูล รวมถึงแบ่งปันการ ใช้งานทรัพยากรร่วมกันได้ 1. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แนะนํา เครื อ ข่ า ยคอมพิ วเตอร์  รูปแบบของการเชือมต่อ มี 2 รูปแบบ คือ การเชื อมต่ อเค รื อ ข่ ายแบบมี ส ายและไร้ สาย แบบมีสาย (Wired) เช่น สายโทรศัพท์ สายใยแก้วนําแสง ประเภทของเ ค รื อ ข่ าย แบบไร้สาย (Wireless) เช่น คลืนวิ ทยุ สัญญาณดาวเทียม Image credit: http://systemzone.net/computer-networking-basics/ 204100 IT AND MODERN LIFE 3 204100 IT AND MODERN LIFE 4 เทคโนโลยีการเชือมต่อเครือข่าย เทคโนโลยีการเชือมต่อเครือข่าย แบบมีสาย (Wired) แบบมีสาย (Wired) 1) Copper wire – Telephone cable 2) Copper wire – Unshielded Twisted Pair (UTP) cable  ใช้สายโทรศัพท์ซึงเป็ นสายทองแดง (Copper wire) ในการเชือมต่อจากผูใ้ ช้ สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน ไปยังจุดแลกเปลียน ภายในสาย UTP จะมีสายทองแดงเส้นเล็กๆ จํานวน 8 เส้น ข้อมูลคอมพิ วเตอร์ และข้อมูลเสียงของการโทรศัพท์ จะใช้สือสัญญาณ ร่วมกัน แต่มีช่วงความถีทีต่างกัน  นิ ยมใช้ในการเชือมต่อเครือข่าย LAN ใช้ในการเชือมต่ออิ นเทอร์เน็ ตแบบ DSL (Digital Subscriber Line) บางครัง/ จึงเรียกว่า สาย LAN เช่น ADSL, VDSL  มีหลาย Category ซึงรองรับความเร็วสูงสุดของ ☺ ติ ดตัง ง่ายและมีค่าใช้จ่ายตํา การรับส่งข้อมูลทีแตกต่างกัน เช่น  ความเร็วสูงสุดของการเชือมต่อจะ Category 5 : 100 Mbps, 1 Gbps ลดลงตามระยะทางจากผูใ้ ช้ไปยังจุด Category 6 : 10 Gbps แลกเปลียน ทีเพิ มขึน Image credit: dcsi.net.au Image credit: sattvengg.com, bitmart.co.za 204100 IT AND MODERN LIFE 5 204100 IT AND MODERN LIFE 6 เทคโนโลยีการเชือมต่อเครือข่าย เทคโนโลยีการเชือมต่อเครือข่าย แบบมีสาย (Wired) แบบมีสาย (Wired) 3) Coaxial cable 4) Optical Fiber สายเคเบิลร่วมแกน (Coaxial cable) ของผูใ้ ห้บริ การเคเบิลทีวีสามารถ สายใยแก้วนําแสง ใช้เป็ นสือกลาง ในการเชือมต่ออิ นเทอร์เน็ ตแบบ Cable Internet  จุดเด่นคือ มีอตั ราการรับส่งข้อมูลสูงสุดทีเร็ว  เคเบิลโมเด็ม (Cable modem) ถูกใช้ในการแปลงระหว่าง และทนต่อสัญญาณรบกวน สัญญาณดิ จิทลั (Digital) และอะแนล็อก (Analog) ความเร็วของการเชือมต่อมีตงั / แต่ระดับเมกกะบิตต่อวิ นาที (Mbps) จนถึงหลายกิ กะบิ ตต่อวิ นาที (Gbps) ความนิ ยมในการเชือมต่ออิ นเทอร์เน็ ต โดยใช้ Optical Fiber ตามทีพกั อาศัย ได้รบั ความนิ ยม เพิ มขึน/ อย่างต่อเนื อง  FTTH : Fiber To The Home Image credit: litramfg.com, thailandfiberoptics.com Image credit: nestorcables.com, ingellen.com 204100 IT AND MODERN LIFE 7 204100 IT AND MODERN LIFE 8 เทคโนโลยีการเชือมต่อเครือข่าย เทคโนโลยีการเชือมต่อเครือข่าย แบบไร้สาย (Wireless) แบบไร้สาย (Wireless) 1) Terrestrial microwave 3) Wireless LAN 4) Wide-area Wireless Access ใช้การส่งคลืนวิ ทยุแบบโฟกัส (Focus) จากสถานี ใช้งานภายในอาคาร ให้บริ การโดยผูใ้ ห้บริ การ หนึ งไปยังอีกสถานี หนึ ง โทรศัพท์เคลือนที มาตรฐาน 802.11 a / b / g / n / ac ☺ สามารถรับส่งข้อมูลในระยะไกลได้รวดเร็ว 3G / 4G  สัญญาณต้องอยู่ใน light of sight ทําให้การส่ง ข้ามสิ งกีดขวาง เช่น ภูเขา ทําได้ลาํ บาก 2) Satellite ใช้สญ ั ญาณดาวเทียม ☺ สามารถเชือมต่อเครือข่ายในพืน/ ทีห่างไกลได้ Wi-Fi : ชุดผลิ ตภัณฑ์ใด ๆ ทีสามารถทํางานได้ตาม  ความเร็วไม่สงู มาก และมีความล่าช้าในการ มาตรฐานเครือข่ายคอมพิ วเตอร์แบบไร้สาย ซึงอยู่ รับส่งข้อมูลสูง บนมาตรฐาน IEEE 802.11 Image credit: theflatearthsociety.org, adli3.tripod.com/Terrestrial.htm, vizocomsat.com, efxkits.us, Richard Bartz Image credit: au.kddi.com 204100 IT AND MODERN LIFE 9 204100 IT AND MODERN LIFE 10 เทคโนโลยีการเชือมต่อเครือข่าย แบบไร้สาย (Wireless) ประเภทของเครือข่าย การพัฒนามาตรฐาน IEEE 802.11 สําหรับ Wireless LAN หากแบ่งประเภทของเครือข่ายตามอาณาเขต หรือบริ เวณการเชือมต่อ จะสามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ LAN (Local Area Network) เครือข่ายทีเชือมโยงคอมพิ วเตอร์ทีอยู่ในบริ เวณทีจาํ กัด เช่น ทีพ กั อาศัย โรงเรียน ห้องแลป และอาคารสํานักงาน MAN (Metropolitan Area Network) มีลกั ษณะการเชือมโยง คอมพิวเตอร์ทีมีระยะทางห่างไกลกันกว่าแบบ LAN เช่น การเชือ มต่อเครือข่ายย่อยภายในเขตเมือง ให้เกิดเป็ นเครือข่ายทีข นาดใหญ่ขน'ึ เครือข่ายเดียว WAN (Wide Area Network) เชือมโยงคอมพิ วเตอร์ทีห่างไกลกัน ในลักษณะข้ามจังหวัด หรือ ประเทศ ซึงอาจ ทําผ่านผูใ้ ห้บริ การเครือข่าย เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จัดเป็ นเครือข่ายแบบ WAN Image credit: anandtech.com 204100 IT AND MODERN LIFE 11 204100 IT AND MODERN LIFE 12 ประเภทของเครือข่าย หากแบ่งประเภทของเครือข่ายตามโครงสร้าง หรือ โทโพโลยีของการเชือมต่อ จะสามารถแบ่งออกได้หลายรูปแบบ เช่น Bus topology Ring topology Star topology 2. อินเทอร์เน็ต แ น ะ นํา เ ค รื อ ข่ า ย อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต โปรโตคอล ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ก า ร เ ชื อ ม ต่ อ เ ค รื อ ข่ า ย Mesh topology Tree topology Image credit: computerhope.com 204100 IT AND MODERN LIFE 13 204100 IT AND MODERN LIFE 14 อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ ต (Internet) เครือข่ายอิ นเทอร์เน็ต ประกอบด้วย PC เป็ นระบบเครือข่ายทีใหญ่ทีสดุ  Host / End system server เกิ ดจากการเชือมต่อเครือข่ายย่อยๆ เข้าด้วยกัน อุปกรณ์ ทีอยู่ส่วนปลายของเครือข่าย laptop  Network of networks ทํางานด้วยแอปพลิ เคชันต่างๆ smartphone จัดเป็ นเครือข่ายแบบ WAN  Communication link wireless อิ นเทอร์เน็ ต เกิ ดขึน/ ในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) links ลิ งค์สือสาร ทัง/ แบบมีสายและไร้สาย wired จากเครือข่าย ARPANET (Advanced Research links Projects Agency NETwork)  Packet switches ARPANET เป็ นเครือข่ายสํานักงานโครงการวิจยั ชัน สูงของ อุปกรณ์ ทีทาํ หน้ าทีส่งต่อ และค้นหา router กระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวตั ถุประสงค์หลักของ เส้นทางบนเครือข่าย การสร้างเครือข่ายคือ เพือ ให้คอมพิวเตอร์สามารถเชือ มต่อ สือ สาร ระหว่างกันได้ เช่น สวิ ตช์ เราเตอร์ Image credit: http://interactioninstitute.org, http://www.computerhistory.org/ 204100 IT AND MODERN LIFE 15 204100 IT AND MODERN LIFE 16 อินเทอร์เน็ต สถาปัตยกรรมการเชือมต่อเครือข่าย การติ ดต่อสือสารผ่านเครือข่าย จําเป็ นต้องมี โปรโตคอล (Protocol) เพือ 1. Client / Server Server ควบคุมการส่ง และการรับข้อความ คอยให้บริ การ Client ตลอดเวลา  โปรโตคอล ใช้สาํ หรับระบุรปู แบบของข้อความ (Message format) และการ ส่วนมากตัง/ อยู่ใน Datacenter กระทําต่างๆ (Actions) ทีเกิ ดขึน. ขณะรับส่งข้อมูล Clients ทําให้อุปกรณ์ต่างๆ ทีใ ช้โปรโตคอลเดียวกัน สามารถติดต่อสือ สารกันได้ ติ ดต่อสือสารกับ Server เพือร้องขอและ Don’t have protocol Having protocol รับข้อมูลทีต้องการ Hi Hi อาจเชือมต่อเครือข่ายเป็ นบางช่วงเวลา こんにちは Hi ☺  ??? สะดวกต่อการบริ หาร แต่ละ Server รองรับจํานวน Got the จัดการ ผูใ้ ช้ได้จาํ กัด time? สามารถควบคุมเกียวกับ การขยายระบบมีค่าใช้จ่ายสูง 12:00 ความปลอดภัยได้ 204100 IT AND MODERN LIFE 17 204100 IT AND MODERN LIFE 18 สถาปัตยกรรมการเชือมต่อเครือข่าย 2. Peer-to-Peer (P2P) โฮสต์ต่างๆ ทีเรียกแทนว่า Peer สามารถ รับส่งข้อมูลระหว่างกันได้โดยตรง  Pure P2P ไม่จาํ เป็ นต้องมี Server กลาง  Hybrid P2P เช่น Skype อาจมี Server คอย ให้บริ การเกียวกับการลงชือเข้าใช้ หรือจัดการ เกียวกับผูใ้ ช้งาน 3. แอปพลิเคชันบนอินเทอร์เน็ต ☺  รองรับการขยายขนาดของ การควบคุมผูใ้ ช้งานทําได้ยาก World Wide Web, E-mail, เครือข่ายได้ดี การควบคุมเกียวกับความ FTP, Telnet ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ปลอดภัยมีความซับซ้อน จัดการค่อนข้างตํา ไม่สามารถรับประกันความเร็ว ในการรับส่งข้อมูล 204100 IT AND MODERN LIFE 19 204100 IT AND MODERN LIFE 20 แอปพลิเคชันบนอินเทอร์เน็ต แอปพลิเคชันบนอินเทอร์เน็ต - World Wide Web - แอปพลิ เคชันบนอิ นเทอร์เน็ต World Wide Web (WWW) คือ พืน. ทีของข้อมูล (Information space) โดย E-mail อาจเป็ นเอกสาร หรือข้อมูลมัลติ มีเดีย เช่น รูปภาพ เสียง วิ ดีโอ ซึง สามารถเข้าถึงได้ด้วยอิ นเทอร์เน็ต Web การทํางานจะเป็ นแบบ Client – Server Instant messaging ใช้โปรโตคอล HTTP (Hypertext Transfer Protocol) เป็ นหลัก Remote desktop P2P file sharing ข้อมูลต่างๆ จะถูกระบุด้วย URL (Uniform Resource Locator) Network games โดยทัวไป  URL จะถูกเขียนอยู่ในรูปแบบ protocol://domain/path/file Video streaming, conferencing เช่น http://www.cs.science.cmu.ac.th/course/204100/index.html Voice over IP (VoIP) ข้อมูลจะถูกเชือมโยงหากันด้วย Hypertext link Image credit: 4-designer.com 204100 IT AND MODERN LIFE 21 204100 IT AND MODERN LIFE 22 บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ต - World Wide Web - - World Wide Web - การใช้งาน www จะต้องมีองค์ประกอบ ทัง/ 3 ส่วน ดังนี/ 2) Web Browser คือ แอปพลิ เคชันซอฟต์แวร์ทีใช้สาํ หรับการเข้าถึงข้อมูลและ 1) Web Server คือ เครืองแม่ข่ายทีให้บริ การเว็บ ซึงมีข้อมูลต่างๆ เก็บอยู่ ทรัพยากรต่างๆ บนอิ นเตอร์เน็ต ตัวอย่างของ Web browser เช่น Internet Edge, Firefox, Google Chrome Client สามารถส่ง Request message ไปยัง Server เพือร้องขอข้อมูลทีต้องการ เช่น เอกสาร HTML, ไฟล์รปู ภาพ และ ไฟล์เพลง หาก Server มีข้อมูลดังกล่าว ก็สามารถตอบกลับด้วย Response message 3) Content คือ เนื/ อหาทีมีการนําเสนอข้อมูล ซึงสามารถเชือมโยงไปยังหน้ าต่อๆ ไปได้ โดยพืน/ ฐานแล้ว content จะสร้างจากภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ซึงสามารถจะนําเสนอข้อมูลได้เพียงอย่างเดียว แต่หากต้องการให้มีการประมวลผล อืน ๆ ก็สามารถใช้ภาษาอืนเข้ามาร่วมด้วย เช่น PHP, ASP, Java Script Image credit: yaser musleh Image credit: wired.com 204100 IT AND MODERN LIFE 23 204100 IT AND MODERN LIFE 24 บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ต - World Wide Web - - World Wide Web - คําศัพท์ทีสําคัญในการใช้งาน World Wide Web Web Hosting คือ ผูใ้ ห้บริการเช่าพืน. ทีในเซิ รฟ์ เวอร์เพือใช้เก็บไฟล์เว็บเพจของ เว็บไซต์ต่าง ๆ ซึงมีทงั. ประเภททีต้องเสียค่าใช้จ่ายและไม่เสียค่าใช้จ่าย Web Page คือ ไฟล์เอกสารทีถูกสร้างขึน เพือนําเสนอข้อมูลข่าวสารของ บริ การ WWW ประกอบไปด้วยรายละเอียด ข้อมูลต่างๆ เช่น รูปภาพ Internet Service Provider (ISP) คือ บริ ษทั หรือหน่ วยงานทีตงั. ขี.นมาเพือ ตาราง ข้อความ และเสียง เป็ นต้น ให้บริการติ ดต่อเชือมโยงกับเครือข่ายอิ นเตอร์เน็ตโดยอาจจะคิ ดค่าบริการ หรือไม่กแ็ ล้วแต่ เช่น CsLoxinfo, CAT, 3BB, TOT, True, INET เป็ นต้น Web Site คือ แหล่งทีอยู่ของเว็บเพจทีถูกจัดเก็บไว้ในทีอยู่เดียวกันบน Server โดยเว็บไซต์หนึ งจะมีเว็บเพจกีหน้ าก็ได้ทีเชือมโยงกัน หรือ เว็บไซต์หนึ งจะเชือมโยงไปยังอีกเว็บไซต์หนึ งก็ได้ Home Page คือ เว็บเพจหน้ าแรกของเว็บไซต์ใด ๆ ทีปรากฏขึน มาเมือ ระบุชือของเว็บไซต์นัน Image credit: bluewaterproducts123.com 204100 IT AND MODERN LIFE 25 204100 IT AND MODERN LIFE 26 บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ต - E-mail - - E-mail - E-mail คือ บริ การรับส่งจดหมายแบบอิ เล็กทรอนิ กส์ Mail access User SMTP SMTP protocol User  สามารถพ่วงติ ด (Attachment) ไปกับจดหมายได้ (e.g., POP3, IMAP)  คือ มีผสู้ ่ง และผูร้ บั ซึงจะต้องมีทีอยู่  การทํางานคล้ายกับการรับส่งจดหมายทัวไป ทีเรียกว่า E-mail Address sender’s mail receiver’s mail server server การใช้งาน E-mail สามารถใช้งานได้ 2 ลักษณะ คือ สําหรับการใช้งานอีเมลผ่าน Mail Client นัน. 1) ใช้งานผ่าน Mail client เช่น Mozilla Thunderbird, การส่งอีเมล จากผูใ้ ช้ไปยัง Mail server สามารถใช้โปรโตคอล Windows Live Mail SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) 2) ใช้งานผ่านเว็บไซต์ (Web-based E-mail) เช่น Outlook, Gmail การเข้าถึงอีเมล หรือการรับอีเมลจาก Mail server สามารถใช้โปรโตคอล POP3 (Post Office Protocol version 3) IMAP (Internet Mail Access Protocol) Image credit: softonic.com, google.com 204100 IT AND MODERN LIFE 27 204100 IT AND MODERN LIFE 28 บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ต - E-mail - - FTP - นักศึกษามหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ FTP (File Transfer Protocol)  สามารถใช้บริ การ E-mail ของมหาวิ ทยาลัยได้ผา่ น เป็ นบริ การโอนย้ายไฟล์ระหว่างโฮสต์  การโอนไฟล์จากโฮสต์อืนมาไว้ยงั เครืองทีเราใช้งาน เรียกว่า Download ส่วนการทํากลับกัน เรียกว่า Upload  การ Upload ไฟล์ของเว็บไซต์ไปยัง Web hosting นิ ยมทําผ่าน FTP แหล่งทีให้บริ การโอนไฟล์มี 2 ประเภท คือ  สามารถตัง/ ค่า Mail Client ทีใช้อยู่ประจํา ให้สามารถส่ง หรือ รับอีเมลจากบัญชี ผูใ้ ช้ของมหาวิ ทยาลัย (@cmu.ac.th) ได้ โดยการตัง/ ค่าตามทีระบุใน Public FTP : ให้บริ การโอนย้ายไฟล์แบบสาธารณะ http://help.portal.cmu.ac.th/?page_id=345 Private FTP : ให้บริ การโอนย้ายไฟล์เฉพาะในกลุ่มผูใ้ ช้ทีกาํ หนดเท่านัน/ Image credit: smallbusiness.yahoo.net 204100 IT AND MODERN LIFE 29 204100 IT AND MODERN LIFE 30 บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ต - FTP - - Telnet - การใช้บริ การ FTP สามารถทําได้ผา่ น 2 วิ ธีหลัก คือ Telnet เป็ นโปรโตคอลทีใช้บนอิ นเทอร์เน็ต เพือให้บริ การการสือสารแบบสองทิ ศทาง 1) ใช้งานผ่านโปรแกรม เช่น FileZilla, SmartFTP, WinSCP ผ่านตัวอักษร (Bi-directional text-oriented communication) 2) ใช้งานผ่าน Web browser หรือ Windows Explorer  นิ ยมใช้เพือเข้าถึงเครืองคอมพิ วเตอร์จากระยะไกล (Remote access) โดยการพิ มพ์ ftp:// ตามด้วยชือแหล่งทีใช้บริ การ FTP ผูใ้ ช้งานสามารถ Remote login ไปยังเครืองทีต้องการใช้งาน จากทีใดก็ได้ ผ่าน เครือข่ายอิ นเทอร์เน็ ต โดยการพิ มพ์ telnet ตามด้วย Address ของเครืองที เช่น ftp://myweb.cmu.ac.th ต้องการเข้าใช้ การใช้งาน FTP ส่วนมาก จําเป็ นต้องมีการ login ด้วย Username และ Password นักศึกษามหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ สามารถใช้งาน FTP ได้โดยดูรายละเอียดเพิ มเติ มได้ที โดยทัวไปเครื  องทีให้บริ การ Telnet มักจะถูกติ ดตัง/ ด้วยระบบปฏิ บตั ิ การ Linux ซึง https://myweb.cmu.ac.th/help.html จะรับคําสังจากผู  ใ้ ช้ด้วยการพิ มพ์คาํ สัง ไม่สามารถใช้งาน Mouse ได้ ดังนัน/ ผูใ้ ช้จึง จําเป็ นต้องมีความรู้ในการใช้งานคําสังต่  างๆ Image credit: windowssiam.com 204100 IT AND MODERN LIFE 31 204100 IT AND MODERN LIFE 32 ทีซีพี และ ไอพี TCP (Transmission Control Protocol) เป็ นโปรโตคอลหลักของอิ นเทอร์เน็ต ซึงแอปพลิ เคชันต่างๆ เช่น WWW, E-mail และ FTP ใช้บริการ เพือขนส่งข้อมูลไปยังปลายทางอย่างถูกต้อง ภาพรวมการทํางานของ TCP ให้บริการการขนส่งข้อมูลทีเชือถือได้ (Reliable data delivery) 4. ทีซีพี /ไอพี และระบบชือโดเมน มีกลไกในการตรวจสอบ ว่าเกิ ดการสูญหาย หรือ เกิ ดข้อผิดพลาดใน ที ซี พี ไอพี ข้อมูลขณะขนส่งหรือไม่ ถ้ามีจะทําการส่งข้อมูลแพ็กเก็ตนัน. ใหม่ ที อยู่ ไ อพี มีการควบคุมอัตราการส่งข้อมูล ไม่ให้มากจนเกิ นไป ระบบชื อโดเม น 204100 IT AND MODERN LIFE 33 204100 IT AND MODERN LIFE 34 ทีซีพี และ ไอพี ทีซีพี และ ไอพี IP (Internet Protocol) ภาพรวมการไหลของข้อมูลผ่านโปรโตคอลต่างๆ จากต้นทางไปยัง เป็ นโปรโตคอลหลักของการสือสารบนอิ นเทอร์เน็ตทีทาํ งานร่วมกับ TCP ปลายทาง จึงนิ ยมเรียกโปรโตคอลชุดนี. ร่วมกันว่า TCP/IP ภาพรวมการทํางานของ IP ทําหน้ าทีในการจัดส่งข้อมูลจากเครืองต้นทาง (Source) ไปยังเครือ ง ปลายทาง (Destination) โดยอาศัยข้อมูลของ ทีอยู่ไอพี (IP Address) IP เกียวข้องกับการระบุทีอยู่ (Addressing) ของโฮสต์ และการค้นหา เส้นทาง (Routing) ในการส่งข้อมูล Image credit: Tosaka 204100 IT AND MODERN LIFE 35 204100 IT AND MODERN LIFE 36 ทีอยู่ไอพี ทีอยู่ไอพี ทีอยู่ไอพี (IP Address) IP Address สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท เป็ นตัวระบุคอมพิ วเตอร์ รวมถึงอุปกรณ์เครือข่ายอืนๆ เช่น เราเตอร์ 1) Public IP Address ปริ นเตอร์ โทรศัพท์เคลือนที ทีเชือมต่ออยู่บนเครือข่าย เป็ น IP address ทีถกู จัดสรรให้มาใช้งานโดยหน่ วยงาน InterNIC อุปกรณ์ทีได้รบั Public IP address จะสามารถเข้าถึงได้จากอุปกรณ์อืนๆ ทีอยู่ไอพีเวอร์ชนั 4 (IPv4) ทัง. หมดบนอิ นเทอร์เน็ต ใช้ตวั เลข 32 bits แบ่งออกเป็ น 4 octet 2) Private IP Address แต่ละ octet จะมีขนาด 8 bits ทําให้มีค่าได้ตงั. แต่ 0 ถึง 255 คือ IP address ทีสามารถใช้อ้างอิ งจากอุปกรณ์ภายในเครือข่ายภายใน (Intranet) เท่านัน. แต่ละ octet ถูกเขียนคันด้ วยจุด (.) การเข้าถึงคอมพิ วเตอร์ทีได้รบั Private IP จากอุปกรณ์อืนๆ ทีอยู่นอก ช่วงของ IP Address ทีมีใช้งานจึงมีได้ตงั. แต่ 0.0.0.0 จนถึง เครือข่ายภายใน จะไม่สามารถทําได้ จําเป็ นต้องมีการตัง. ค่าทีเราเตอร์ 255.255.255.255 เพิ มเติ ม 204100 IT AND MODERN LIFE 37 204100 IT AND MODERN LIFE 38 ทีอยู่ไอพี ทีอยู่ไอพี วิ ธีการตรวจสอบ IP Address ของเครืองทีใช้งาน (ระบบปฏิ บตั ิ การ Windows) Tips ! 1) เปิ ด Network and Sharing Center จากนัน/ คลิ กทีประเภทของการเชือมต่อ ข้างๆ วิ ธีการสังเกต Private IP คําว่า Connections จากรูปตัวอย่างคือ Ethernet Private IP จะอยู่ในช่วงต่อไปนี/ 1 10.0.0.0 – 10.255.255.255 172.16.0.0 – 172.31.255.255 192.168.0.0 – 192.168.255.255 ตัวอย่างการใช้งาน Public IP และ Private IP 2) คลิ กที Details 3) สังเกต IP Address ได้ เครืองคอมพิ วเตอร์ภายในบ้าน มี Private IP 3 จากรายการทีเขียนว่า 2 IPv4 Address Router สําหรับเชือมต่ออิ นเทอร์เน็ ต มี Private & Public IP Server ทีให้บริ การต่างๆ มี Public IP 204100 IT AND MODERN LIFE 39 204100 IT AND MODERN LIFE 40 ระบบชือโดเมน ระบบชือโดเมน ชือโดเมน (Domain Name) ชือโดเมนสามารถแบ่งออกเป็ นส่วนๆ ได้ดงั นี คือ สายอักขระ (String) ทีใช้สาํ หรับระบุทรัพยากรบนอิ นเทอร์เน็ ต เช่น 1) โดเมนลําดับต้น (Top Level Domain name) คอมพิ วเตอร์ เว็บไซต์ และบริ การต่างๆ 2) โดเมนลําดับทีสอง (Second - Level Domain name)  ชือโดเมนจะใช้ตวั อักษร แทนทีอยู่ไอพีทีเป็ นตัวเลข ทําให้การเข้าถึง เครืองคอมพิ วเตอร์ หรือเว็บไซต์ใดๆ ทําได้สะดวกขึน 3) โดเมนลําดับล่าง (Lower- Level Domain name)  การตัง ชือโดเมนจะอยู่ภายใต้กฎ และขัน ตอนการลงทะเบียนของ ระบบชือโดเมน หรือ ดีเอ็นเอส (Domain Name System: DNS)  โดยทัวไปผูพ้ ฒ ั นาเว็บไซต์จะทําการจดทะเบียนเพือขอใช้งานชือ โดเมนทีต้องการ กับหน่ วยงานทีมีหน้ าทีรับผิ ดชอบ 204100 IT AND MODERN LIFE 41 204100 IT AND MODERN LIFE 42 ระบบชือโดเมน ระบบชือโดเมน 1) โดเมนลําดับต้น (Top Level Domain name) 2) โดเมนลําดับสอง (Second Level Domain name) เป็ นส่วนทีอยู่ในตําแหน่ งขวาสุดของชือโดเมน แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ เป็ นชือโดเมนในระดับรองลงมาจาก TLD 1.1) โดเมนลําดับต้นทีบอกประเภทขององค์กร เช่น 1.2) โดเมนลําดับต้นทีใช้เป็ นชือย่อของประเทศ เช่น 2.1) โดยทัวไปจะใช้  อ้างถึงองค์กรทีจดทะเบียนโดเมนนัน. TLD TLD เช่น google.com มี Second-level domain คือ google.com สําหรับกลุ่มขององค์กรและบริ ษทั เอกชนต่าง ๆ.th Thailand.jp Japan 2.2) หรือใช้บง่ บอกประเภทของบุคคลหรือหน่ วยงานนัน. ๆ.net สําหรับกลุ่มองค์กรทีทาํ หน้ าทีให้บริ การเครือข่าย อิ นเตอร์เน็ต.uk United Kingdom เช่น.co,.or,.go,.ac ซึงจะใช้กบั TLD แบบชือย่อของประเทศ (Country code).org สําหรับองค์กร หรือสมาคมต่าง ๆ.tw Taiwan.gov สําหรับรัฐบาล.edu สําหรับสถาบันการศึกษา  สําหรับรายการชือโดเมนลําดับต้นอืนๆ ตัวอย่าง ชือโดเมน cmu.ac.th มี Second-level domain คือ.ac.mil สําหรับหน่ วยงานทางทหาร สามารถดูเพิมเติ มได้ที ส่วนทีอยู่ถดั จาก SLD จะถือเป็ น Third-level domain ซึงจากตัวอย่างนี. คือ cmu.biz สําหรับธุรกิ จทัวไป  http://www.iana.org/domains/root/db 204100 IT AND MODERN LIFE 43 204100 IT AND MODERN LIFE 44

Use Quizgecko on...
Browser
Browser