Full Transcript

Computer Software คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ Computer Software คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ หมายถึง ส่วนของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กระบวนการในการ ทำงาน ตลอดจนเอกสารประกอบที่เกี่ยวข้องใน ระบบประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซึ่ง เขียนด้วยโปรแกรมภาษาคอมพิ...

Computer Software คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ Computer Software คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ หมายถึง ส่วนของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กระบวนการในการ ทำงาน ตลอดจนเอกสารประกอบที่เกี่ยวข้องใน ระบบประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซึ่ง เขียนด้วยโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เช่น ภาษา C++, JAVA, Visual BASIC บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 2 คำศัพท์ต่างๆ เกี่ยวกับ Software ที่ควรรู้ Commercial Software ❑ ซอฟท์แวร์ที่ผลิตเพื่อจัดจำหน่าย Shareware ❑ ซอฟท์แวร์ที่ผู้ผลิตให้ทดลองใช้ในช่วงเวลาหนึ่ง Freeware ❑ ซอฟท์แวร์ที่ผู้ผลิตอนุญาตให้ใช้ได้ฟรี (ผู้ผลิตยังคง เป็นเจ้าของ) ❑ ผู้ผลิตไม่อนุญาตให้เปลี่ยนแปลงต้นฉบับ Public-Domain Software ❑ ซอฟท์แวร์ที่ผู้ผลิตยกให้เป็นสมบัติของสาธารณะ ❑ ไม่มีลิขสิทธิ์ บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 3 ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบปฏิบัติการ ตัวแปรภาษา ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ดอส ภาษาปาสคาล S/w ประมวลผลคำ โปรแกรมทำบัญชี วินโดวส์ ภาษาเบสิก S/w ตารางทำงาน โปรแกรมการจองตั๋ว โอเอสทู ภาษาซี S/w จัดการฐานข้อมูล โปรแกรมระบบธนาคาร ยูนิกส์ ภาษาโลโก S/w นำเสนอ ฯลฯ ชนิดของซอฟต์แวร์ บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 4 ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (System Software) (Application Software) ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง โปรแกรมที่ผู้ใช้งานเขียนขึ้นมาเพื่อใช้สั่ง เป็นตัวกำหนดการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ของระบบ การให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่าง คอมพิวเตอร์ตั้งแก่เปิดเครื่องจนกระทั่งปิดเครื่อง โดย หนึ่งตามความต้องการของแต่ละบุคคล เครื่องทุกเครื่องจำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ระบบ ได้แก่ โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ในการพัฒนา ระบบปฏิบัติการ (Operating System :OS) ได้แก่ ตัวแปรภาษา(Translation Program) ซอฟต์แวร์ใช้สำหรับงานทั่วไป ซอฟต์แวร์เฉพาะด้าน บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 5 ประเภทของ Software ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems Software) มี 2 ประเภท ❑ ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ❑ ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) มี 2 ประเภท ❑ ซอฟท์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) ❑ ซอฟท์แวร์สำหรับใช้งานทั่วไป (General Purpose Software) บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 6 ระบบปฏิบัติการ (OS) (ต่อ) เป็นตัวประสานงานระหว่างCPU, RAM, Mouse, Printer และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ตัวอื่นๆ จัดการเกี่ยวกับวิธีการจัดเก็บและดึงข้อมูลจาก ดิสก์ เป็นตัวแปลคำสั่งที่ถูกสั่งจากผู้ใช้ผ่านสิ่งที่ OS เตรียมให้เป็นรหัสคอมพิวเตอร์ที่คอมพิวเตอร์ เข้าใจ แสดงผลลัพธ์จากการทำงาน บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 7 หน้าที่ OS- เป็นตัวกลางระหว่าง Hardware และผู้ใช้ บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 8 3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems Software) โปรแกรมที่ทำหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบ ต่างๆ ของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ อำนวยเครื่องมือสำหรับทำงานพื้นฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ เช่น ❑ การแสดงรายชื่อแฟ้ม ❑ การ copy ❑ การแสดงผลทางจอภาพ มีรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.osdata.com/ “Operating System Technical Comparison.” บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 9 ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ (Types of System Software) (ต่อ) ตัวแปลภาษา (Language Translator) เป็น โปรแกรมที่แปลงจากภาษาคอมพิวเตอร์มา เป็นสิ่งที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ (ศูนย์และหนึ่ง) บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 10 โปรแกรมอำนวยความสะดวก (Utility Program) โปรแกรมสำรองข้อมูล Backup Software โปรแกรมป้องกันไวรัส Virus Protection S/W โปรแกรมป้องกันจอภาพ Screen Saver Software โปรแกรมกู้ไฟล์ Data Recovery Software บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 11 โปรแกรมอำนวยความสะดวก (Utility Program) โปรแกรมย่อข้อมูล Data Compression Software บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 12 ตัวแปลภาษา (Language Translator) ช่วยในการค้นหาความผิดพลาด อันเกิดจาก การใช้คำสั่งของภาษานั้นๆ ผิดรูปแบบ (Syntax Error) มี 2 ชนิด ❑ Compiler แปลโปรแกรมทั้งหมดในครั้ง เดียว ❑ Interpreter แปลโปรแกรมทีละบรรทัด บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 13 3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems Software) มี 2 ประเภท คือ ระบบปฏิบัติการ (Operating System หรือ OS) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) Mac OS X Red Hat Linux Windows XP Professional บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 14 3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Software) 3.1.1 ชุดโปรแกรม ที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ประยุกต์ มีหน้าที่ ❑ จัดการส่วนประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น CPU หน่วยความจำ ที่เกี่ยวข้อมูลสำรอง และเครื่องพิมพ์ ❑ จัดการในส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ ❑ ให้บริการโปรแกรมประยุกต์อื่น เช่น การรับข้อมูล การแสดง ผล โดยโปรแกรมประยุกต์จะถูกเรียกใช้เริ่มต้นทำงานผ่าน ระบบปฏิบัติการ และได้รับการจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ที่ ต้องการผ่านทางระบบปฏิบัติการด้วย บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 15 OS ทำหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบต่างๆ ของฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ และ Application Program บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 16 3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Software) 3.1.1 ระบบปฏิบัติการที่ทำงานบน Microcomputer ❑ ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows ❑ ระบบปฏิบัติการแบบเปิด เช่น UNIX, LINUX ❑ ระบบปฏิบัติการ Mac OS X หรือ MacIntosh System 7 ของเครื่องตระกูล Apple หรือ MacIntosh Note: IBM PC = IBM Personal Computer เครื่องคอมพิวเตอร์เลียนแบบ IBM PC = IBM PC Compatible บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 17 The DOS Prompt is not seen much these days! บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 18 Microsoft Windows XP บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 19 LINUX บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 20 Mac OS X บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 21 3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Software) 3.1.1 ระบบปฏิบัติการที่ทำงาน บนเครื่อง PDA ❑ เครื่อง PDA ตระกูล Palm (หรือ Palm Compatible) ใช้ Palm OS ❑ เครื่อง PDA ยี่ห้ออื่นๆ (อาจเรียก Pocket PC ) ใช้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows CE บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 22 3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Software) 3.1.1 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ❑ เรียกว่า Network Operating System หรือ NOS ❑ สำหรับจัดการงานด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ ❑ ช่วยให้คอมพิวเตอร์ที่ต่อเครือข่ายสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ร่วมกัน ❑ มีระบบป้องกันการสูญหายของข้อมูลด้วย ❑ ในปัจจุบันใช้หลักการประมวลผลแบบ Client/Server Server ทำหน้าที่ จัดการรับ-เก็บ-ส่งข้อมูล Client ทำหน้าที่ประมวลผล บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 23 ตัวอย่างหน้าจอ Novell Netware บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 24 ตัวอย่างหน้าจอ Windows NT บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 25 3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Software) 3.1.1 ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ❑ ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาขึ้น เฉพาะ เช่น เครื่องเมนเฟรม ระบบจะทำงานซับซ้อน มากขึ้น เช่น ต้องดูแลผู้ใช้งานพร้อมๆ กันจำนวนมาก (Multiuser) ต้องทำการดูแลสั่งงานพร้อมๆกัน หลายๆโปรแกรม (Multitasking) การจัดลำดับและการแบ่งปันทรัพยากรให้ผู้ใช้ ตลอดจนรักษาความเป็นส่วนตัวและความลับของผู้ใช้งาน บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 26 3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Software) 3.1.1 ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ❑ Multiuser เป็นระบบที่หน่วยประมวลผลกลางแบ่งเวลาการทำงานให้ผู้ใช้ หลายคนสามารถทำงานได้พร้อมๆกัน (user จะรู้สึกว่าทำงาน พร้อมกัน แต่จริงๆแล้วเป็นการแบ่งเวลาทำงานโดย CPU) ❑ Multitasking เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้ (Program ผลัดกันใช้ CPU) ❑ Cooperative multitasking แต่ละโปรแกรมใช้เวลา CPU นาน เท่าไรก็ได้ ❑ Preemptive multitasking ระบบปฏิบัติจะเข้าควบคุม CPU เพื่อ ให้แต่ละโปรแกรมแบ่งใช้เวลา CPU อย่างเหมาะสม บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 27 3.1 ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Software) 3.1.1 ระบบปฏิบัติการแบบเปิด (Open Operating System) ❑ ในสมัยก่อนผู้ผลิตระบบปฏิบัติการ ก็คือผู้ผลิตเครื่อง คอมพิวเตอร์ ดังนั้นเขาจึงออกแบบให้ใช้ได้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ของบริษัทเท่านั้น เรียก OS แบบนี้ว่า OS แบบปิด (Proprietary Operating System) ❑ ปัจจุบันมีการทำให้ OS สามารถนำไปใช้งานบนเครื่อง ต่าง ๆ ได้ (Portable OS) เช่น ระบบปฏิบัติการ UNIX และ LINUX เป็นต้น บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 28 UNIX Screen บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 29 3.2 ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ หมายถึง โปรแกรมที่ ทำหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่ต้องการ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ❑ ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) ❑ ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป (General Purpose Software) บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 30 3.2 ซอฟท์แวร์ประยุกต์ 3.2.1 ซอฟท์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Application Software) หรือ Special Purpose Software เหมาะกับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมคำนวณค่าน้ำ โปรแกรมสำหรับการฝากถอนเงิน มักไม่มีจำหน่ายทั่วไป ต้องพัฒนาเอง (เขียนโปรแกรม เอง) หรือจ้างผู้อื่นให้พัฒนาให้โดยเฉพาะ สำหรับงานบางด้าน เช่น ระบบบัญชี หรือ ระบบสินค้า คงคลัง มีวางจำหน่ายแต่ก็มักมีราคาสูง บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 31 3.2 ซอฟท์แวร์ประยุกต์ 3.2.2 ซอฟท์แวร์สำหรับงานทั่วไป (Application Software) หรือ General Purpose Software เป็นซอฟท์แวร์ที่ออกแบบมาให้เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป แบ่งได้ ดังนี้ ❑ ซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Spreadsheet) เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft Excel ❑ ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word Processing) เช่น CU Writer และ Microsoft Word ❑ ซอฟต์แวร์การพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Publishing) มีความ สามารถ ด้านการจัดเอกสาร การเรียงพิมพ์ การจัดสีที่สูงกว่า ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 32 3.2 ซอฟท์แวร์ประยุกต์ 3.2.2 ซอฟท์แวร์สำหรับงานทั่วไป (Application Software) เป็นซอฟท์แวร์ที่ออกแบบมาให้เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไปดังนี้ (ต่อ) ❑ ซอฟต์แวร์นำเสนอ (Presentation Software) เช่น Microsoft PowerPoint ❑ ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software) สำหรับสร้าง ตกแต่ง รูปภาพต่าง ๆ เช่น Adobe Photoshop ❑ ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database Software) มีความสามารถ ด้านการสร้าง และจัดการแฟ้มข้อมูล การค้นหา และการเรียก ใช้ข้อมูล เช่น dBASE III Plus, Microsoft Access, Oracle, DB2, Microsoft SQL, Sybase, Informix เป็นต้น บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 33 ตัวอย่างหน้าจอ Graphic Software à Adobe Photoshop บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 34 ตัวอย่างหน้าจอ Database Software à Oracle บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 35 3.2 ซอฟท์แวร์ประยุกต์ 3.2.2 ซอฟท์แวร์สำหรับงานทั่วไป (Application Software) ออกแบบมาให้เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป (ต่อ) ❑ ซอฟต์แวร์สื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication Software) เช่น โปรแกรมการร่วมคุยกัน ส่ง จดหมาย หรือจองตั๋วผ่านทางอินเตอร์เน็ต ❑ ซอฟต์แวร์ค้นหาข้อมูล (Resource Discovery Software) สำหรับค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากแหล่ง ข้อมูลต่าง ๆ เช่น Archie, Gopher, Search Engine ใน World Wide Web เป็นต้น บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 36 Resource Discovery Software à Archie บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 37 ตัว Gopher Resource Discovery Software à Gopher บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 38 www.google.co.th ตัวอย่างหน้าจอ Resource Discovery Software à Search Engine บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 39 3.3 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาของมนุษย์ คือ คำพูด ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์ เป็นต้น ภาษาของเครื่องคือเลขฐานสอง (ซึ่งใช้เลข 0 หรือ 1 แทน สัญญาณไฟฟ้า) เราเรียกภาษาที่ใช้เลขฐานสองในคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษา เครื่อง (Machine Language) บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 40 3.3 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3.3.1 ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ❑ เป็นภาษาระดับต่ำสุด ใช้ตัวเลขในเลขฐาน 2 แทนคำสั่งต่าง ๆ การเขียน ยุ่งยากมาก ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ❑ ใช้สัญลักษณ์ ที่เรียกว่า Mnemonic Code แทนภาษาเครื่อง ทำให้เขียน โปรแกรมง่ายขึ้น แต่ต้องใช้ Assembler ในการแปล ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับสูง (High-level Language) ❑ ถือว่าเป็นภาษาในยุคที่ 3 ใช้คำในภาษาอังกฤษแทนคำสั่งต่าง ๆ รวม ทั้งการใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ด้วย เช่น COBOL, FORTRAN, PASCAL, BASIC และ C บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 41 3.3 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3.3.1 ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูงมาก (Very High-level Language) เป็นภาษายุคที่ 4 (Fourth-generation Language หรือ 4GL) พัฒนาให้มีความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น เช่น C++, Visual BASIC เป็นต้น มีข้อดีดังนี้ ❑ การเขียนโปรแกรมเน้นที่ผลของงานว่าต้องการอะไร มากกว่าจะทำ อย่างไร ❑ ช่วยพัฒนาเนื้องาน ❑ ไม่ต้องเสียเวลาอบรมผู้เขียนโปรแกรมมากนัก ❑ ผู้เขียนโปรแกรมไม่ต้องทราบถึงฮาร์ดแวร์ของเครื่องและโครงสร้าง ของโปรแกรม บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 42 3.3 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3.3.1 ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ❑ เป็นภาษายุคที่ 5 (Fifth-generation Language หรือ 5GL) ธรรมชาติหมายถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือไม่ต้องสนใจถึงคำ สั่งหรือลำดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ❑ เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงไป คอมพิวเตอร์ จะพยายามแปล คำสั่งหรือประโยคเหล่านั้นเพื่อทำตามคำสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถ แปลได้ก็จะมีคำถามกลับมาถามผู้ใช้เพิ่มเติม ❑ ภาษาธรรมชาติจะใช้ ระบบฐานความรู้ (Knowledge Base System) บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 43 3.3 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3.3.2 การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ในหน่วยงานหนึ่งควรเลือกใช้ภาษาเดียวกัน ดูจากคุณสมบัติหรือข้อดีของภาษานั้น ๆ ถ้าโปรแกรมที่เขียนขึ้นจะนำไปใช้กับเครื่องต่าง ๆ กัน เลือกภาษาที่ ใช้ได้ทุกเครื่อง ควรจำกัดภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ไม่ควรติดตั้งตัวแปล ภาษาทุกภาษา บนทุกเครื่อง เลือกภาษาที่มีผู้รู้อยู่บ้าง งานที่ไม่ยุ่งยากอาจใช้ภาษาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน เช่น BASIC เพราะเขียนโปรแกรมได้ง่ายและรวดเร็ว บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 44 3.3 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3.3.3 ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ ❑ BASIC ❑ PL/I ❑ COBOL ❑ PROLOG ❑ FORTRAN ❑ LOGO ❑ PASCAL ❑ C และ C++ บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 45 3.3 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3.3.4 ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming หรือ OOP) ลดความยุ่งยากใน การเขียนโปรแกรม โดยมองทุก อย่างเป็นวัตถุ ตัวอย่างของ โปรแกรมเชิงวัตถุ เช่น ❑ C++ ❑ Visual BASIC ❑ และ JAVA เป็นต้น บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 46 3.4 ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) โปรแกรมชนิดหนึ่งที่ถูกเขียนขึ้นโดยมี จุดมุ่งหมายที่จะสร้างผลลัพธ์อันไม่พึง ประสงค์ ให้กับคอมพิวเตอร์ที่เรียกใช้ โปรแกรมนี้ เช่น ❑ สร้างความรำคาญ ❑ ทำให้เครื่องทำงานช้า จนถึงใช้งานไม่ได้ ❑ ทำให้โปรแกรมหรือข้อมูลเสียหาย เป็นต้น บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 47 3.4 ไวรัสคอมพิวเตอร์ 3.4.1 ช่องทางการแพร่กระจายของไวรัส (Computer Virus) การเขียนหน่วยความจำสำรอง เช่น ❑ การ copy ข้อมูลลง diskette ❑ Copy ข้อมูลลง tape หรือ CD ระบบเครือข่าย ❑ โดยการ Download หรือ Copy ❑ ไฟล์ที่แนบมากับ e-mail บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 48 3.4 ไวรัสคอมพิวเตอร์ 3.4.2 ประเภทของไวรัส (Computer Virus) Boot Sector Virus ❑ แฝงตัวเข้าแทนที่ระบบปฏิบัติการในส่วนเริ่มต้นระบบ (Boot) จะทำงานตั้งแต่คอมพิวเตอร์ เริ่มต้นทำงาน File Virus ❑ ฝังตัวเป็นส่วนหนี่งของแฟ้มโปรแกรม พวกที่มีสกุล เป็น.COM,.EXE,.DRV,.DLL,.BIN,.OVL,.SYS เป็นต้น BootMacro Virus ❑ เป็นไวรัสที่เขียนด้วยภาษา Macro ของซอฟต์แวร์ประยุกต์ บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 49 3.4 ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) 3.4.2 ประเภทของไวรัส Trojan Horse ❑ เป็นส่วนของโปรแกรมพิเศษที่ผู้เขียนซ่อนไว้ในโปรแกรมปกติ และ คอยแอบแฝงทำงานตามที่ผู้สร้างโปรแกรมได้กำหนดไว้ ไม่มีการ คัดลอกไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ อื่น ๆ Worm ❑ ไม่มีการคัดลอกไปยังแฟ้มใด ๆ แต่จะทำงานอยู่บนหน่วยความจำ และทำการสร้างตัวเองต่อ ๆ ไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ที่เชื่อม ต่อกันอยู่บนระบบเครือข่าย ❑ เครือข่ายจะเกิดการติดขัด หรือคอมพิวเตอร์ที่ติดไวรัสมีการทำงาน หนักจนไม่สามารถทำงานปกติต่อไปได้ บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 50

Use Quizgecko on...
Browser
Browser