จำนวนเชิงซ้อน PDF

Document Details

ProfoundResilience

Uploaded by ProfoundResilience

Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus Educational Research and Development Center

คณิต มงคลพิทักษ์สุข

Tags

complex numbers mathematics algebra complex analysis

Summary

This document is a mathematics textbook about complex numbers. It provides an introduction to complex numbers, along with related concepts and calculations.

Full Transcript

(บทที่ ๕–๑๖ นํามาจาก R2.2.04 และจะทยอยปรับปรุงเนื้อหาทีละบท จนเป็น R2.9 ฉบับสมบูรณ์ครับ) ๑๐ บทที่ C mpx...

(บทที่ ๕–๑๖ นํามาจาก R2.2.04 และจะทยอยปรับปรุงเนื้อหาทีละบท จนเป็น R2.9 ฉบับสมบูรณ์ครับ) ๑๐ บทที่ C mpx จํานวนเชิงซ้อน ระบบจํานวนที่ศึกษาและใช้งานกันโดยทั่วไป คือ ระบบจํานวนจริง (Real Number; R ) ซึ่งเราอาจ พบว่าสมการบางสมการ ไม่มีคําตอบที่เป็นจํานวนจริง (เพราะภายในรากที่สองมีค่าติดลบ) เช่น x24  0 หรือ x2x 2  0 ฯลฯ จึงได้มีการสมมติจํานวนแบบ ใหม่ขึ้นมาใช้เพิ่มเติม เพื่อให้ทุกสมการมีคําตอบเสมอ และจํานวนแบบใหม่ นี้เรียกว่า จํานวนจินตภาพ (Imaginary Number; I m ) จํานวนจินตภาพ กับจํานวนจริง ประกอบกันเป็นระบบจํานวนที่ใหญ่ที่สดุ เรียกว่าระบบจํานวนเชิงซ้อน (Complex Number; C ) ซึ่งจํานวนประเภท นี้มีประโยชน์อย่างมากในการคํานวณทางวิศวกรรม เช่น วงจรไฟฟ้ากระแส สลับ ดังที่จะได้แสดงตัวอย่างไว้ในหน้าสุดท้ายของบทนี้ ลักษณะของ จํานวนจินตภาพ คือจํานวนทีอ่ ยู่ในรูป bi จํานวนเชิงซ้อน โดย b เป็นจํานวนจริง และ i  1 เช่น สมการ x2 4  0 จะได้คําตอบเป็น x   4 นั่นคือ x  2 i,  2 i 1  7 1 7 สมการ x2 x 2  0 ใช้สูตรหาคําตอบจะได้ x     i 2 2 2 ระบบจํานวนที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งประกอบด้วยส่วนจริงและส่วนจินตภาพ ในรูป a  bi (โดย a, b  R ) เรียกว่า จํานวนเชิงซ้อน (Complex Number; C ) มี a เป็นส่วนจริง (Real Part) และ b เป็นส่วนจินตภาพ (Imaginary Part) และมักแทน ตัวแปรที่เป็นจํานวนเชิงซ้อนด้วย z หมายเหตุ 1. จาก z  a  bi บางทีเขียนว่า a  Re (z) และ b  Im (z) ก็ได้ เช่น ถ้า z1  3  2 i จะได้ Re (z1)  3 และ Im (z1)  2 2. บางตําราใช้ j  1 แทน i เพื่อป้องกันการสับสนกับตัวแปรอื่น เช่น กระแสไฟฟ้า š——µÃ ËÊ 356 Math E-Book Release 2.7pre2 ข้อสังเกต กําลังของ i มีคา่ เพียง 4 แบบหมุนเปลี่ยนกัน เริ่มจาก i 2  1 i3   i i4  1 i5  i i 6  1 i7   i i8  1 i9  i i 10  1 i 11   i i 12  1 แผนภาพของจํานวนเชิงซ้อน เปลี่ยนจากเส้นจํานวนในแกนนอน 1 มิติ กลายเป็นระนาบ 2 มิติ (คือมีแกนจริง; Real Axis กับ แกนจินตภาพ; Imaginary Axis ตั้งฉากกัน) เรียกว่า ระนาบเชิงซ้อน (Complex Plane) และใช้คู่อันดับ (a, b) หรือ Im เวกเตอร์ที่ชี้จาก (0, 0) มายัง (a, b) แทนจํานวนเชิงซ้อน z  a  bi ได้ 0 3 Re –2 (3,–2) ระวังอย่าสับสนกับการเขียนเวกเตอร์..ในเรือ่ งเวกเตอร์นั้นแกนนอนใช้ i แกนตั้งใช้ j S แต่สาํ หรับจํานวนเชิงซ้อน แกนนอนไม่มีสญ ั ลักษณ์อะไรเลย และแกนตัง้ มี i ๑๐.๑ การคํานวณเบื้องต้น ในการคํานวณบวกลบคูณและหาร ให้ปฏิบัติเสมือนว่า i เป็นตัวแปรหนึ่ง เท่านั้น ซึ่งเมื่อใดที่มีค่า i 2 จะต้องได้ค่าเป็น –1 นอกนั้นวิธีการคํานวณเหมือนกับ ระบบจํานวนจริงทุกประการ 1. การเท่ากัน a  bi  c  di ก็ต่อเมื่อ a  c และ b  d หรือเมื่อเขียนเป็นคู่อันดับ จะได้ (a, b)  (c, d) ก็ต่อเมื่อ a  c และ b  d 2. การบวก (a  bi)  (c  di)  (a  c)  (b  d) i หรือเมื่อเขียนเป็นคู่อันดับ จะได้ (a, b)  (c, d)  (a c, b  d) 3. การคูณ (a  bi)  (c  di)  (ac bd)  (adbc)i หรือเมื่อเขียนเป็นคู่อันดับ จะได้ (a, b)  (c, d)  (acbd, adbc) สมบัติของจํานวนเชิงซ้อนเหมือนกับสมบัติของจํานวนจริงทุกประการ (และ จํานวนจริงก็คือจํานวนเชิงซ้อนประเภทหนึ่ง) นั่นคือ สมบัติปิด, สมบัติการสลับที่การ บวกและคูณ, สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มการบวกและคูณ, สมบัติการแจกแจง และสมบัติ การมีเอกลักษณ์กับอินเวอร์ส จึงสรุปได้ว่า ทุกกฎที่เคยใช้กับจํานวนจริงจะใช้ได้กับ จํานวนเชิงซ้อนด้วย „“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 357 ˆÈ²™§™»Š´‡‹m­™ kanuay.com เอกลักษณ์การบวกก็คือ 0 หรือ 0  0 i หรือ (0, 0) นั่นเอง และ เอกลักษณ์การคูณคือ 1 หรือ 1  0 i หรือ (1, 0) นั่นเอง ดังนั้นอินเวอร์สการบวกของ z  a  bi ก็คือ z  a  bi และอินเวอร์สการคูณของ z  a  bi คือ z1  1  1 z a  bi ซึ่งสามารถทําให้อยู่ในรูปปกติได้โดยนํา a  bi คูณทั้งเศษและส่วน จะได้ 1 a  bi  a   b     2 2   2 2i a  bi a2b2  a  b   a b  และมีทฤษฎีบทเกี่ยวกับอินเวอร์สการคูณว่า (z1z2)1  z11 z21 และ n 1 1 n n (z )  (z )  z หมายเหตุ 1. ในระบบจํานวนเชิงซ้อนจะไม่มีการเปรียบเทียบมากกว่า, น้อยกว่า 2. สมการ a  b  ab จะไม่เป็นจริง หากว่า a, b ติดลบทั้งสองจํานวน ตัวอย่าง 10.1 ให้หาผลบวก ลบ คูณ และหาร ของจํานวนเชิงซ้อน z1  3  2 i ด้วย z2  1  i ตอบ z1  z2  (3  2 i)  (1  i)  4–i z1  z2  (3  2 i)  (1  i)  2 – 3i z1z2  (3  2 i)  (1  i)  3  3 i  2 i  2 i 2  3  3 i  2 i  2  5+i z1 3 2i 3  2i  1 i 3  3 i  2 i  2 i2 1 5i         0.5 – 2.5i z2 1 i 1 i  1 i 1  i  i  i2 2 (1  i)12 ตัวอย่าง 10.2 ให้หาค่า (1  i)10 วิธีคิด1 เนื่องจาก (1  i)2  1  2 i  i 2  2 i และ (1  i)2  1  2 i  i 2  2 i (1  i)12 (2 i)6 64 i 6 ดังนัน้ 10  5   –2i (1  i) (2 i) 32 i 5  1 i  1 i 1 i 2i วิธีคิด2 เนื่องจาก        1  i    i  1 i  1 i   2 10 (1  i)12 1  i 2 10 11 3 ดังนัน้    (1  i)  (i) (2 i)  2 i  2i  –2i (1  i)10 1  i š——µÃ ËÊ 358 Math E-Book Release 2.7pre2 แบบฝึกหัด ๑๐.๑ (1) z1  (2, 3) , z2  (4, 1) , z3  (2, 1) ให้หาค่าของ (1.1) z1  z2 (1.4) z1z2 (1.2) z1  z3 (1.5) z1z3 (1.3) 2 z1  3 z2 (1.6) z1 (z2  z3) (2) ให้หาอินเวอร์สการบวก และอินเวอร์สการคูณของ (2.1) z1  (2, 3) (2.3) z3  (2, 1) (2.2) z2  (4, 1) (2.4) z4  (1, 0) (3) ให้หาค่าของ (3.1) (6, 4)  (3, 5) (3.4) (3, 2)  (5, 4) (3.2) (3, 2)  (4, 2) (3.5) (7, 2)  (0, 3) (3.3) (4, 3)  (5, 6) (3.6) (6, 3)  (3, 0) (4) ให้หาค่าจํานวนจริง x และ y เมื่อกําหนดให้ (4.1) (x, y)  (2, 4)  (4, 1) (4.2) (x, y)  (2, 3)  (5, 3) (4.3) (3, 1)  (x, y)  (1, 2) (4.4) x  2y i  1  i  2  i (ข้อสังเกต 1   i) i i i (5) x2  y2  2xy i  1  i  0 ให้หาค่า x และ y (6) ถ้า z1  (2, 3) ให้หาค่า 2 z12 (7) ให้หาค่าของ (7.1) 2  3 i (7.3) 14  23 i  16  12 i 4  2i 3  4i 4i 2  i 3  4i (7.2)  2 i 1  2i 3  3 4 i 3 4 i  (8) ให้หาค่าของ  3 4 i  3 4 i    (9) ให้หาค่าต่อไปนี้ (9.1) i 29 (9.3) i 451 (9.2) i 42 (9.4) i 4, 040 (10) ให้หาค่าของ i 135  i 136  i 137  i 138 และ i 135 i 136 i 137 i 138 „“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 359 ˆÈ²™§™»Š´‡‹m­™ kanuay.com (11) ถ้ากําหนดให้ z  i 9  i 10 ...  i 126 เมื่อ i2 1 แล้ว ให้หาค่า 2 z1 (1  i)4 (12) ให้หาอินเวอร์สของ 1i (13) ให้หาค่าของ (1  i)16 (13.1) (1  i)12 (13.3) (1  i)10 (1  i)2  (1  i)  1 (13.2) 1 i 5m m (14) ให้หาค่า m  I ที่น้อยที่สุด ที่ทําให้ 1  i   1  i    1  i 1  i ๑๐.๒ สังยุค และค่าสัมบูรณ์ ในเศษส่วนหนึ่ง ๆ เมื่อมีจํานวนเชิงซ้อน a  bi เป็นตัวส่วน จะนํา สังยุค (conjugate) ของ a  bi คือ a  bi มาคูณทั้งเศษและส่วน เพื่อให้ตัวส่วน กลายเป็นเลขจํานวนจริง ( a2b2 ) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนสังยุคของ z  a  bi คือ z  a  bi ค่าสัมบูรณ์ (absolute value) ของจํานวนจริงและจํานวนเชิงซ้อนใด ๆ คือ ระยะห่างจากจุดนั้นไปถึงจุดกําเนิด (0, 0) ดังนั้น z  a  bi  a2b2 สมบัติของสังยุคและค่าสัมบูรณ์ 1. z  z ก็ต่อเมื่อ z เป็นจํานวนจริงเท่านั้น และ z  z เสมอ 2. (z1)  (z)1 และ z1  z 1 3. (zn)  (z)n และ zn  z n n  I 4. z1  z2  z1  z2 5. z1z2  z1z2 และ z1  z2  z1  z2 6. z1z2  z1 z2 และ z1  z2  z1  z2 7. z มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0 เสมอ และ z  z  z 2 8. z  z  z š——µÃ ËÊ 360 Math E-Book Release 2.7pre2 ตัวอย่าง 10.3 ถ้า z1  1  2 i และ z1z2  z2  i ให้หาค่า z21 i วิธีคิด จาก z1z2  z2  i  z2(z1  1)  i  z2  z1  1 i จากนั้นใส่สงั ยุคทัง้ สองข้างของสมการ เพือ่ ให้ทางซ้ายไม่ตดิ สังยุค จะได้ z2  z1  1 z1  1 2i และหาอินเวอร์สได้เป็น z21    –2 i i (2 2 3 i)(3  4 i)3 ตัวอย่าง 10.4 ให้หาค่าของ z เมื่อ z  (2  i)2(1  i) 1/ 2 3 (2 2 3 i)1/ 2(3  4 i)3 22 3 i 3 4 i (4)1/ 2(5)3 ตอบ    25 2 (2  i)2(1  i) 2i 2 1 i ( 5)2( 2) แบบฝึกหัด ๑๐.๒ (15) ถ้า z1  2  3 i , z2  3  4 i ให้หาค่าของ  z1  (15.1) z1  z2 (15.4) z   2 (15.2) z1  z2 (15.5) (z21) (15.3) z1z2 (16) ถ้า z1  3  4 i และ z1z2  z2  4  0 ให้หาค่า z21 (17) ให้หาค่า z ที่สอดคล้องกับสมการ z  i  3  2 z  1  2i (18) ให้หาค่าของ (18.1) 3  4 i (18.4) 4  0 i (18.2) 5  12 i (18.5) (0, 5) (18.3)  7 i „“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 361 ˆÈ²™§™»Š´‡‹m­™ kanuay.com (19) ให้หาค่าของ z เมื่อกําหนดให้ z คือ (1 3 i)2( 3  i)4 (3 4 i)4 (19.1) (19.3) (1 3 i)2 (1  i)16 2 i (1 3 i)5 (19.2) (19.4) ((1, 1)1)4 (1 2 i)6 3 (2i)(32 i)(4 3 i)(5 4 i) (20) ให้หาค่าของ (12 i)(2 3 i)(4 5 i) (21) ถ้า z  (1 3 i)( 3  i)(1  i) ให้หาค่า z 1 1 1 (22) ถ้า z1  z2  0 และ z1  z2  1 ให้หาค่า  z1 z2 (23) ให้แก้ระบบสมการต่อไปนี้ เพื่อหาค่า z (โดยสมมติ z  a bi) (23.1) z z 3 1 2 i  1 และ z  149 z  1 (23.2)  1 และ z z  29 z  (3  2 i) z  4 z  12 5 (23.3)  1 และ  z 8 z  8i 3 (24) ถ้า z  12  2 z  3 ให้หาค่าของ z 1  z (25) เมื่อ z  1 ให้หาค่า Re   1  z (26) ถ้า z เป็นจํานวนเชิงซ้อนซึ่ง (i 1)(z 1)  1 แล้ว ให้หาส่วนจริงของจํานวนเชิงซ้อน z (z  z)15 (27) ข้อใดไม่ใช่กราฟวงกลม 2 ก. z z  1 ค. z  z  z ข. z  z  z ง. 3z i  z  3 i (28) ให้เขียนกราฟของสมการต่อไปนี้ (28.1) z (23 i)  1 (28.2) z 2  3 z2 4 i (28.3) z 2 i  z 2 i  10 หมายเหตุ โจทย์ข้อนี้อาจเปลี่ยนเป็น “ให้หาค่า z ที่สอดคล้องกับสมการต่อไปนี้” ก็ได้ และคําตอบจะมีได้มากมาย (ทุก ๆ จุดในกราฟ) เพราะตัวแปร z นั้น สมการเดียวไม่เพียงพอ

Use Quizgecko on...
Browser
Browser