ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน PDF พ.ศ. ๒๕๓๔
Document Details
Uploaded by SharperFife201
Chonradsadornumrung School
2534
Tags
Summary
This document is a Thai government administrative law, outlining the structure and function of government agencies. It details the organization of central, regional, and local government. This PDF contains detailed government regulations.
Full Transcript
พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓...
พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็นปีที่ ๔๖ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มี พ ระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔” มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (๒) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๑๐ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ (๓) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๑๗ (๔) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๗ (๕) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๑๗ (๖) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๙ (๗) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๒ ลงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๐ (๘) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๘/ตอนที่ ๑๕๖/ฉบับพิเศษ หน้า ๑/๔ กันยายน ๒๕๓๔ -๒- (๙) ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ ๔๘ เรื่องแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะ ปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๓/๑๒ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่ว ยงานที่ไม่จาเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจาย อานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบ ต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคานึงถึง หลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ คานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้ มาตรา ๔ ให้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ดังนี้ (๑) ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง (๒) ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค (๓) ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น มาตรา ๕ การแบ่งราชการออกเป็นส่วนต่าง ๆ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ให้กาหนดตาแหน่ง และอัตราเงินเดือนโดยคานึงถึงคุณภาพและปริมาณงานของส่วนราชการนั้น ๆ ไว้ด้วย การบรรจุและการแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งหน้าที่ราชการต่าง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ส่วนที่ ๑ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง มาตรา ๗ ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ดังนี้ (๑) สานักนายกรัฐมนตรี (๒) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง (๓) ทบวง ซึ่งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ๒ มาตรา ๓/๑ เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ -๓- (๔) กรม หรื อ ส่ ว นราชการที่ เ รี ย กชื่ อ อย่ า งอื่ น และมี ฐ านะเป็ น กรม ซึ่ ง สั ง กั ด หรื อ ไม่ สั ง กั ด ส านั ก นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง สานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นกระทรวง ส่วนราชการตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) มีฐานะเป็นนิติบุคคล มาตรา ๘๓ การจัดตั้ง การรวม หรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ การจัดตั้งทบวงโดยให้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้ระบุการสังกัดไว้ในพระราชบัญญัติ ด้วย การจัดตั้งกรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ซึ่งไม่สังกัดสานักนายกรั ฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ให้ระบุการไม่สังกัดไว้ในพระราชบัญญัติด้วย มาตรา ๘ ทวิ๔ การรวมหรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗ ไม่ว่าจะมีผลเป็นการจัดตั้งส่วนราชการ ขึ้นใหม่หรือไม่ ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้นให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่ ง ให้ ระบุอานาจหน้า ที่ของส่ ว นราชการ การโอนอานาจหน้ าที่ตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย ซึ่งส่วนราชการหรือเจ้าพนักงานที่มีอยู่เดิม การโอนข้าราชการและลูกจ้าง งบประมาณ รายจ่าย รวมทั้งทรัพย์สินและหนี้สินเอาไว้ด้วย แล้วแต่กรณี ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณมีหน้าที่ตรวจสอบดูแลมิให้มีการ กาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหม่ หรือที่ถูกรวมหรือโอนไปตาม วรรคหนึ่ง เพิ่มขึ้นจนกว่าจะครบกาหนดสามปีนับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับ มาตรา ๘ ตรี๕ การเปลี่ยนชื่อส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และในกรณีที่ชื่อ ตาแหน่งของข้าราชการในส่วนราชการนั้นเปลี่ยนไปให้ระบุการเปลี่ยนชื่อไว้ในพระราชกฤษฎีกาด้วย บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอื่น ประกาศ หรือ คาสั่งใดที่อ้างถึงส่วนราชการหรือตาแหน่งของข้าราชการที่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่ง กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอื่น ประกาศหรือคาสั่งนั้นอ้างถึงส่วนราชการ หรือตาแหน่งของข้าราชการที่ได้เปลี่ยนชื่อนั้น มาตรา ๘ จัตวา๖ การยุบส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่วนราชการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยู่ของส่วน ราชการนั้นเป็นอันระงับไป สาหรับทรัพย์สินอื่นของส่วนราชการนั้นให้โอนให้แก่ส่วนราชการอื่นหรือหน่ วยงานอื่น ของรั ฐ ตามที่รั ฐ มนตรี ซึ่งเป็ น ผู้ รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งกาหนดโดยความเห็ นชอบของ คณะรัฐมนตรี สาหรับวิธีการจัดการกิจการ สิทธิและหนี้สินของส่วนราชการนั้นให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราช กฤษฎีกา ๓ มาตรา ๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๔ มาตรา ๘ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๕ มาตรา ๘ ตรี เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๖ มาตรา ๘ จัตวา เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ -๔- ข้าราชการหรือลูกจ้างซึ่งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยุ บตาแหน่ง อันเนื่องมาแต่การยุบส่วนราชการ ตามวรรคหนึ่ง นอกเหนือจากสิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับอื่นแล้ว ให้ข้าราชการ หรือลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งด้วย ในกรณีที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้าราชการหรือลูกจ้างตาม วรรคสามก็ให้กระทาได้โดยมิให้ถือว่าข้าราชการหรือลูกจ้างผู้นั้นได้พ้นจากราชการตามวรรคสาม แต่ทั้งนี้ต้อง กระทาภายในสามสิบวันนับแต่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับ มาตรา ๘ เบญจ๗ พระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๘ ทวิ หรือมาตรา ๘ จัตวา ที่มีผลเป็นการแก้ไขเพิ่มเติม หรือยกเลิกบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่จัดตั้งส่วนราชการ กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม หรือ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ตามมาตรา ๒๓๐ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ให้ระบุให้ชัดเจนในพระ ราชกฤษฎีกาว่าบทบัญญัติใดถูกแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกเป็นประการใดในกฎหมายนั้น มาตรา ๘ ฉ๘ การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะเป็นกรม ให้ออกเป็นกฎกระทรวงและให้ระบุอานาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการไว้ในกฎกระทรวงด้วย ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการตามวรรคหนึ่งเป็นผู้ออกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการดังกล่าว กฎกระทรวงนั้นเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ มาตรา ๘ สัตต๙ ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณร่วมกันเสนอ ความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการแบ่งส่วนราชการภายในและในการกาหนดอานาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการ ตามมาตรา ๘ ฉ ในการเสนอความเห็นดังกล่าวให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนจัดอัตรากาลัง และ สานักงบประมาณจัดสรรเงินงบประมาณให้สอดคล้องเสนอไปในคราวเดียวกัน มาตรา ๘ อัฏฐ๑๐ การแบ่งส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันในทบวงมหาวิทยาลัยให้เป็นไป ตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยหรือสถาบันนั้น หมวด ๑ การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรี มาตรา ๙ การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม ให้ส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีบรรดาที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม มีฐานะเป็นกรม ๗ มาตรา ๘ เบญจ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๘ มาตรา ๘ ฉ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๙ มาตรา ๘ สัตต เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๑๐ มาตรา ๘ อัฏฐ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ -๕- สานักนายกรัฐมนตรีอาจจัดให้มีส่วนราชการเป็นการภายในขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อทาหน้าที่จัดทา นโยบายและแผน กากับ เร่งรัด และติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการตามนโยบายที่คณะรัฐมนตรี กาหนดหรืออนุมัติ เพื่อการนี้นายกรัฐมนตรีจะสั่งให้กรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมใน สานักนายกรัฐมนตรีจัดทาก็ได้ มาตรา ๑๐ ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี มี อ านาจหน้ า ที่ ตามที่ กาหนดไว้ ใ นกฎหมายว่ าด้ ว ยการปรับ ปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม สานักนายกรัฐมนตรีมีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานในสานักนายกรัฐมนตรีให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภา หรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ โดยจะให้มีรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรีเป็น ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้๑๑ ในกรณีที่มีรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีหรือมีทั้งรองนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี การสั่งและการปฏิบัติราชการของรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจา สานักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย๑๒ ในระหว่างที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะ เข้ารับหน้าที่เพราะนายกรัฐมนตรีตาย ขาดคุณสมบัติ ต้องคาพิพากษาให้จาคุก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง หรือวุฒิสภามีมติให้ถอดถอนจากตาแหน่ง ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ถ้าไม่มีผู้ดารง ตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน๑๓ ในระหว่างที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะ เข้ารับหน้าที่ ให้คณะรัฐมนตรีดังกล่าวอานวยความสะดวกให้หัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ดาเนินการใด ๆ เท่าที่ จาเป็น เพื่อรับแนวทางการบริหารราชการแผ่นดินจากนายกรัฐมนตรีคนใหม่มาเตรียมการดาเนินการได้๑๔ มาตรา ๑๑ นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) กากับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วน ภูมิภาค และส่วนราชการซึ่งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการ ปฏิบัติราชการ ในกรณีจาเป็นจะยับยั้งการปฏิบัติราชการใด ๆ ที่ขัดต่อนโยบายหรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได้และมี อานาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการ ส่วนท้องถิ่น (๒) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีกากับการบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือหลาย กระทรวงหรือทบวง ๑๑ มาตรา ๑๐ วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๒ มาตรา ๑๐ วรรคสาม แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๓ มาตรา ๑๐ วรรคสี่ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๔ มาตรา ๑๐ วรรคห้า เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ -๖- (๓) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตาแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการที่ เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม (๔) สั่งให้ข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบัติราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้ ขาดจากอัตราเงิน เดือนทางสั งกัดเดิมหรื อไม่ก็ได้ ในกรณีที่ให้ ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสั งกัดเดิม ให้ ได้รั บ เงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่าเดิม (๕) แต่งตั้งข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรม หนึ่ง โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเช่นว่านี้ให้ข้าราชการซึ่งได้รับแต่งตั้งมีฐานะ เสมือนเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถ้าเป็นการแต่งตั้ง ข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิบดีหรือเทียบเท่าขึ้นไปต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี (๖) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษา หรือคณะที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี หรือเป็น คณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทนให้แก่ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง (๗) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบัติราชการในสานักนายกรัฐมนตรี (๘) วางระเบียบปฏิบัติราชการ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปโดยรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น (๙) ดาเนินการอื่น ๆ ในการปฏิบัติตามนโยบาย ระเบียบตาม (๘) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้ มาตรา ๑๒ ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็น กรม แต่มิได้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือทบวง นายกรัฐมนตรีจะมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรีปฏิบัติราชการแทนก็ได้ มาตรา ๑๓ สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขาธิการ นายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี และให้มี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมืองและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ ราชการและจะให้มีผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้ ให้เลขาธิการนายกรัฐมนตรีและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง เป็นข้าราชการการเมือง และ ให้รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร และผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ มาตรา ๑๔ สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของคณะรั ฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค์ มีเลขาธิการคณะรัฐ มนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิ ดชอบในการปฏิบัติ ราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี และให้มีรองเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะให้มี ผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้ ให้ เ ลขาธิ การคณะรั ฐ มนตรี รองเลขาธิ การคณะรัฐ มนตรี และผู้ ช่ว ยเลขาธิก ารคณะรั ฐ มนตรี เป็ น ข้าราชการพลเรือนสามัญ -๗- มาตรา ๑๕๑๕ ในสานักนายกรัฐมนตรี อาจมีส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีได้ ตามที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม มาตรา ๑๖ สานักนายกรั ฐมนตรี นอกจากมีนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจา สานักนายกรัฐมนตรี ให้มีปลัดสานักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ดังนี้ (๑) รับ ผิ ดชอบควบคุมราชการประจาในส านักนายกรัฐ มนตรี กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติ ราชการของสานักนายกรัฐมนตรี และลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจาปีของส่วนราชการใน สานักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามนโยบายที่นายกรัฐมนตรีกาหนดรวมทั้งกากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีรองจากนายกรัฐมนตรี รอง นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นข้าราชการของส่วนราชการซึ่งหัวหน้าส่วนราชการ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี (๓) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ในการปฏิบัติราชการของปลัดสานักนายกรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้มี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรีเป็น ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะให้มีผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้ ในกรณีที่มีรองปลัดสานักนายกรั ฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือมีทั้งรองปลัดสานัก นายกรั ฐ มนตรี แ ละผู้ ช่ ว ยปลั ด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ให้ ร องปลั ด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ห รื อ ผู้ ช่ ว ยปลั ด ส านั ก นายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจากปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็น ข้าราชการพลเรื อนสามัญ และให้ ร องปลั ดส านักนายกรัฐ มนตรี ผู้ ช่ว ยปลั ดส านักนายกรัฐ มนตรี และผู้ ดารง ตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ตามที่ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดหรือมอบหมาย ให้นาความในมาตรา ๑๙/๑ มาใช้บังคับแก่ราชการของสานักนายกรัฐมนตรี ในส่วนที่เกี่ยวกับสานักงาน ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีและส่วนราชการที่มิได้ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีด้วยโดยอนุโลม๑๖ มาตรา ๑๗ สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของสานัก นายกรั ฐ มนตรี และราชการที่ ค ณะรั ฐ มนตรี มิ ไ ด้ ก าหนดให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องกรมใดกรมหนึ่ ง ในสั ง กั ด ส านั ก นายกรัฐมนตรีโดยเฉพาะ รวมทั้งกากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ให้ เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นราชการของส่วนราชการ ซึ่งกฎหมายกาหนดให้หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ในกรณีที่สานักนายกรัฐมนตรีมีทบวงอยู่ในสังกัดและยังไม่สมควรจัดตั้งสานักงานปลัดทบวงตามมาตรา ๒๕ วรรคสาม จะให้สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีทาหน้าที่สานักงานปลัดทบวงด้วยก็ได้ ๑๕ มาตรา ๑๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๖ มาตรา ๑๖ วรรคห้า เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ -๘- หมวด ๒ การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวง มาตรา ๑๘ ให้จัดระเบียบราชการของกระทรวง ดังนี้ (๑) สานักงานรัฐมนตรี (๒) สานักงานปลัดกระทรวง (๓) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น เว้นแต่บางกระทรวงเห็นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่แยกส่วน ราชการตั้งขึ้นเป็นกรมก็ได้ ให้ส่วนราชการตาม (๒) และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นตาม (๓) มีฐานะเป็นกรม กระทรวงใดมีความจาเป็นจะต้องมีส่วนราชการเพื่อทาหน้าที่จัดทานโยบายและแผน กากับ เร่งรัด และ ติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง จะจัดระเบียบบริหารราชการโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีสานักนโยบายและแผนเป็นส่วนราชการภายใน ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงก็ได้ ในกระทรวงจะตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่วนราชการเพื่อรับผิดชอบภาระหน้าที่ใดโดยเฉพาะซึ่งไม่มี ฐานะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการดังกล่าวเป็นอธิบดีหรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็น อธิบ ดีก็ได้ ในกรณีเช่น นั้น ให้ อธิบ ดีห รือผู้ดารงตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นดังกล่าวมีอานาจหน้าที่ส าหรับส่ว น ราชการนั้นเช่นเดียวกับอธิบดี ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา และให้คณะอนุกรรมการสามัญประจากระทรวง ทาหน้าที่คณะอนุกรรมการสามัญประจากรม สาหรับส่วนราชการนั้น๑๗ การตราพระราชกฤษฎีกาตามวรรคสี่ให้กระทาได้ในกรณีเป็นการยุบ รวม หรือโอนกรมในกระทรวงใดมา จัดตั้งเป็นส่วนราชการตามวรรคสี่ในกระทรวงนั้นหรือกระทรวงอื่น โดยไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของ ข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้น และให้นาความในมาตรา ๘ ทวิ และมาตรา ๘ เบญจ มาใช้บังคับโดยอนุโลม๑๘ การแต่งตั้งอธิบดีหรือผู้ดารงตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของส่วนราชการตามวรรคสี่ ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เป็นผู้นาเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ และให้ผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าวเป็นผู้ดารงตาแหน่งระดับสูงตาม กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต๑๙ ก่อนที่คณะรั ฐมนตรี จ ะให้ ความเห็ นชอบในร่างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่ วนราชการตามวรรคสี่ของ กระทรวงใด ให้นายกรัฐมนตรีส่งร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ๒๐ ให้นาความในวรรคสี่ วรรคห้า วรรคหก และวรรคเจ็ด มาใช้บังคับกับสานักนายกรัฐมนตรีและทบวงตาม หมวด ๓ โดยอนุโลม๒๑ มาตรา ๑๙๒๒ กระทรวงมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ๑๗ มาตรา ๑๘ วรรคสี่ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๘ มาตรา ๑๘ วรรคห้า เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๙ มาตรา ๑๘ วรรคหก เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๐ มาตรา ๑๘ วรรคเจ็ด เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๑ มาตรา ๑๘ วรรคแปด เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๒ มาตรา ๑๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ -๙- การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหนึ่ง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ส่วนการจัดระเบียบราชการในกระทรวงที่เกี่ยวกับการทหาร และการศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย การนั้น มาตรา ๑๙/๑๒๓ ให้ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจและหัวหน้าส่วนราชการตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไป วางแผนและประสานกิจ กรรมให้ มี การใช้ ท รัพ ยากรของส่ ว นราชการต่า ง ๆ ในกระทรวงร่ ว มกัน เพื่อ ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า และบรรลุเป้าหมายของกระทรวง เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง หัวหน้าส่วนราชการและหัวหน้ากลุ่มภารกิจดังกล่าวจะมี มติให้นางบประมาณที่แต่ละส่วนราชการได้รับจัดสรรมาดาเนินการและใช้จ่ายร่วมกันก็ได้ มาตรา ๒๐๒๔ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๑ ในกระทรวงหนึ่ง ให้มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคน หนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานใน กระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่ อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ โดยจะ ให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้ ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม แต่มิได้สังกัดกระทรวง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงจะมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงปฏิบัติราชการแทนก็ ได้ มาตรา ๒๑๒๕ ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) รั บ ผิ ดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการปฏิบัติ ราชการ กากับการทางานของส่วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบัติงานของส่วน ราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่งรัดติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วน ราชการในกระทรวง (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี (๓) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ สานักงานปลัดกระทรวง ในการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จะให้มีรองปลัดกระทรวงคนหนึ่งเป็นผู้ช่วยสั่ง และปฏิบัติราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได้ ภายในกระทรวงจะออกกฎกระทรวงกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองส่วนราชการขึ้นไปอยู่ ภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีผู้ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีคนหนึ่งเป็นหัวหน้ากลุ่ม ภารกิจรับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในกลุ่มภารกิจนั้น โดยปฏิบัติราชการขึ้นตรง ๒๓ มาตรา ๑๙/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๔ มาตรา ๒๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒๕ มาตรา ๒๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๑๐ - ต่อปลัดกระทรวงหรือขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง และในกรณีที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีต้อง รายงานผลการดาเนินงานต่อปลัดกระทรวงตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง ในกลุ่มภารกิจเดียวกัน หัวหน้ากลุ่มภารกิจอาจกาหนดให้ส่วนราชการของส่วนราชการระดับกรมแห่ง หนึ่งปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับสารบรรณ บุคลากร การเงิน การพัสดุ หรือการบริหารงานทั่วไปให้แก่ส่วนราชการแห่ง อื่นภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็ได้ กระทรวงใดมิได้จัดให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริมาณงานมาก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็ นผู้ช่วยสั่งและ ปฏิบัติราชการเพิ่มขึ้นเป็นสองคนก็ได้ ในกรณีที่กระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่มภารกิจก็ได้ และให้อานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับราชการของส่วนราชการในกลุ่มภารกิจเป็นอานาจหน้าที่ของ หัวหน้ากลุ่มภารกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวงกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น กระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้น และมีความจาเป็นอย่างยิ่งต้องมีรองปลัดกระทรวงมากกว่าที่กาหนดไว้ใน วรรคห้าหรือวรรคหก คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจะร่วมกันอนุมัติ ให้กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษโดยจะกาหนดเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาไว้ด้วยหรือไม่ก็ได้๒๖ ในการดาเนิ นการตามวรรคเจ็ ด ให้ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจัดให้ มีการประชุมพิจารณา ร่วมกัน โดยกรรมการแต่ละฝ่ายจะต้องมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม และในการออกเสียงลง มติจะต้องได้คะแนนเสียงของกรรมการแต่ละฝ่ายเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการฝ่ายดังกล่าวที่มาประชุม แล้วให้นา มติดังกล่าวเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป๒๗ มาตรา ๒๒ สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่เกี่ย วกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรีซึ่ง เป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานรัฐมนตรี ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองคนหนึ่งหรือ หลายคนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรีก็ได้ มาตรา ๒๓ สานักงานปลัดกระทรวงมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของกระทรวง และ ราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกากับและ เร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติราชการ ของกระทรวง ในกรณีที่กระทรวงมีทบวงอยู่ในสังกัดและยังไม่สมควรจัดตั้งสานักงานปลัดทบวงตามมาตรา ๒๕ วรรค สาม จะให้สานักงานปลัดกระทรวงทาหน้าที่สานักงานปลัดทบวงด้วยก็ได้ มาตรา ๒๔ การจัดระเบียบราชการในทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวงให้อนุโลมตามการจัดระเบียบ ราชการของกระทรวงซึ่งบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๘ ถึงมาตรา ๒๓ ๒๖ มาตรา ๒๑ วรรคเจ็ด เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒๗ มาตรา ๒๑ วรรคแปด เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๑๑ - หมวด ๓ การจัดระเบียบราชการในทบวงซึ่งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง มาตรา ๒๕ ราชการส่วนใดซึ่งโดยสภาพและปริมาณของงานไม่เหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นกระทรวงหรือ ทบวงซึ่ ง มี ฐ านะเที ย บเท่ า กระทรวง จะจั ด ตั้ ง เป็ น ทบวงสั ง กั ด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ห รื อ กระทรวง เพื่ อ ให้ มี รัฐมนตรีว่าการทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวงก็ได้ และให้จัด ระเบียบราชการในทบวงดังนี้ (๑) สานักงานรัฐมนตรี (๒) สานักงานปลัดทบวง (๓) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น เว้นแต่บางทบวงซึ่งเห็นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่แยกส่วน ราชการตั้งขึ้นเป็นกรมก็ได้ ให้ส่วนราชการตาม (๒) และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นตาม (๓) มีฐานะเป็นกรม ในกรณีที่สานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงมีทบวงอยู่ในสังกัด และปริมาณและคุณภาพของราชการใน ทบวงยังไม่สมควรจัดตั้งสานักงานปลัดทบวง จะให้สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือสานักงานปลัดกระทรวง ทาหน้าที่สานักงานปลัดทบวงด้วยก็ได้ มาตรา ๒๖ การจั ด ระเบี ย บราชการในทบวงหนึ่ ง ๆ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายว่ า ด้ว ยการปรั บ ปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม ส่วนการจัดระเบียบราชการในทบวงมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ทบวงมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวงทบวง กรม มาตรา ๒๗ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๑ ทบวงหนึ่งมีรัฐมนตรีว่าการทบวงเป็นผู้บังคับบัญชา ข้า ราชการ และกาหนดนโยบายของทบวงให้ ส อดคล้ อ งกั บนโยบายที่ คณะรั ฐ มนตรีก าหนดหรื ออนุมั ติ และ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวง และจะให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ ได้ ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวงให้ เป็นไปตามที่รัฐมนตรีว่าการทบวงมอบหมาย ในกรณีที่เป็นทบวงสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้รัฐมนตรีว่าการทบวงปฏิบัติราชการ ภายใต้การกากับของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวง แล้วแต่กรณี มาตรา ๒๘ ทบวง นอกจากมีรัฐมนตรีว่าการทบวงและรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง ให้มีปลัดทบวงคนหนึ่ง มีอานาจหน้าที่ดังนี้ (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในทบวง กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของทบวง และล าดับความส าคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจาปีของส่ว นราชการในทบวงให้เป็นไปตามนโยบายที่ รัฐมนตรีกาหนด รวมทั้งกากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในทบวง (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในทบวงรองจากรัฐมนตรี - ๑๒ - (๓) เป็ น ผู้ บั งคับ บั ญ ชาข้าราชการในส านักงานปลั ดทบวงและรับผิ ดชอบในการปฏิบัติราชการของ สานักงานปลัดทบวง ในการปฏิบัติราชการของปลัดทบวงตามวรรคหนึ่ง ให้มีรองปลัดทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะให้มีผู้ช่วยปลัดทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้ ในกรณีที่มีรองปลัดทบวงหรือผู้ช่วยปลัดทบวง หรือมีทั้งรองปลัดทบวงและผู้ช่วยปลัดทบวง ให้รองปลัด ทบวงหรือผู้ช่วยปลัดทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจากปลัดทบวง ให้รองปลัดทบวง ผู้ช่วยปลัดทบวง และผู้ดารงตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นในสานักงานปลัดทบวง มี อานาจหน้าที่ตามที่ปลัดทบวงกาหนดหรือมอบหมาย ในกรณีที่ปลัดทบวงจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือคาสั่งใด หรือมติขอคณะรัฐมนตรี ในเรื่องใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นมิได้กล่าวถึงอานาจ ของปลัดทบวงไว้ให้ปลัดทบวงมีอานาจดังเช่นปลัดกระทรวง ในกรณีที่ให้สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือสานักงานปลัดกระทรวงทาหน้าที่สานักงานปลัด ทบวง ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือปลัดกระทรวงทาหน้าที่ปลัดทบวง มาตรา ๒๙ สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรีซึ่ง เป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานรัฐมนตรี ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการทบวง และจัดให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี ซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองคนหนึ่งหรือหลาย คนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรีก็ได้ มาตรา ๓๐ สานักงานปลัดทบวงมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของทบวง และราชการที่ คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดทบวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกากับและเร่งรัดการ ปฏิบัติราชการของส่วนราชการในทบวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของทบวง หมวด ๔ การจัดระเบียบราชการในกรม มาตรา ๓๑ กรมซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวงอาจแบ่งส่วนราชการ ดังนี้ (๑) สานักงานเลขานุการกรม (๒) กองหรือส่วนราชการที่มีฐ านะเทียบกอง เว้นแต่บางกรมเห็ นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่แยกส่ว น ราชการตั้งขึ้นเป็นกองก็ได้ กรมใดมีความจาเป็น จะแบ่งส่วนราชการโดยให้มีส่วนราชการอื่นนอกจาก (๑) หรือ (๒) ก็ได้ สาหรับสานักงานตารวจแห่งชาติ จะแบ่งส่วนราชการให้เหมาะสมกับราชการของตารวจก็ได้๒๘ ๒๘ มาตรา ๓๑ วรรคสาม แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๑๓ - มาตรา ๓๒๒๙ กรมมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงตามที่กาหนดในกฎกระทรวงแบ่งส่วน ราชการของกรม หรือตามกฎหมายว่าด้วยอานาจหน้าที่ของกรมนั้น ในกรมหนึ่งมีอธิบดีคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรมให้ เกิดผลสั มฤทธิ์และเป็ น ไปตามเป้ าหมาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงและในกรณีที่ มี กฎหมายอื่นกาหนดอานาจหน้าที่ของอธิบดีไว้เป็นการเฉพาะ การใช้อานาจและการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ดังกล่าวให้คานึงถึงนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ และนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงด้วย ในกรมหนึ่งจะให้มีรองอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรองจากอธิบดีและช่วยอธิบดีปฏิบัติราชการ ก็ได้ รองอธิบดีมีอานาจหน้าที่ตามที่อธิบดีกาหนดหรือมอบหมาย มาตรา ๓๓ สานักงานเลขานุการกรมมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของกรม และราชการที่มิได้ แยกให้ เป็น หน้ าที่ของกองหรื อส่ ว นราชการใดโดยเฉพาะมีเลขานุการกรมเป็นผู้ บังคับบัญชาข้าราชการ และ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานเลขานุการกรม ส่วนราชการตามมาตรา ๓๑ วรรคหนึ่ง (๒) และส่วนราชการตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง ให้มีอานาจ หน้าที่ตามที่ได้กาหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้น ๆ โดยให้มีผู้อานวยการกอง หัวหน้ากอง หรือหัวหน้า ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่เทียบเท่ากับผู้อานวยการกอง หรือหัวหน้ากองหรือหัวหน้าส่วนราชการตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ มาตรา ๓๔ กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตเพื่อให้ มีหัวหน้าส่วนราชการประจาเขตแล้วแต่จะเรียกชื่อเพื่อปฏิบัติงานทางวิชาการก็ได้ หัวหน้าส่วนราชการประจาเขตมีอานาจหน้าที่เป็นผู้รับนโยบายและคาสั่ งจากกระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติงานทางวิชาการ และเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการประจาสานักงานเขตซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น ความในมาตรานี้ไม่ใช้บังคับแก่การแบ่งเขตและการปกครองบังคับบัญชาของตารวจซึ่งได้กาหนดโดย พระราชกฤษฎีกา๓๐ มาตรา ๓๕ กระทรวง ทบวง หรือกรมใดโดยสภาพและปริมาณของงานสมควรมีผู้ตรวจราชการของ กระทรวง ทบวง หรือกรมนั้น ก็ให้กระทาได้ ผู้ตรวจราชการของกระทรวง ทบวง หรือกรม มีอานาจหน้าที่ตรวจและแนะนาการปฏิบัติราชการอัน เกี่ยวกับกระทรวง ทบวง หรือกรมนั้นให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับของกระทรวง ทบวง หรือกรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี มาตรา ๓๖ ส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมจะมีเลขาธิการ ผู้อานวยการ หรือ ตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งเทียบเท่าปลัดกระทรวงหรืออธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้ าราชการ และรับผิดชอบใน ๒๙ มาตรา ๓๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๓๐ มาตรา ๓๔ วรรคสาม แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๑๔ - การปฏิบัติราชการของส่วนราชการนั้นให้เป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด และจะให้มีรองเลขาธิการ รองผู้อานวยการ หรือตาแหน่งรองของตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นหรือผู้ช่วยเลขาธิการ ผู้ช่วยผู้อานวยการหรือตาแหน่งผู้ช่วยของ ตาแหน่ งที่เรี ย กชื่ออย่ างอื่น หรื อมีทั้งรองเลขาธิการ และผู้ ช่ว ยเลขาธิการหรือทั้งรองผู้ อานวยการและผู้ ช่ว ย อานวยการ หรือทั้งตาแหน่งรองและตาแหน่งผู้ช่วยของตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และช่วยปฏิบัติราชการแทนก็ได้ มาตรา ๓๗ ให้นาความในมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕ มาใช้บังคับ แก่ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมโดยอนุโลม หมวด ๕ การปฏิบัติราชการแทน มาตรา ๓๘๓๑ อานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการดาเนินการอื่นที่ผู้ ดารงตาแหน่ งใดจะพึงปฏิบั ติห รื อดาเนิ น การตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาสั่ ง ใด หรือมติของ คณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นมิได้ กาหนดเรื่องการมอบอานาจไว้เป็นอย่างอื่น หรือมิได้ห้ามเรื่องการมอบอานาจไว้ ผู้ดารงตาแหน่งนั้นอาจมอบ อานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกันหรือส่วนราชการอื่น หรือผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ปฏิบัติ ราชการแทนได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งอาจกาหนดให้มีการมอบอานาจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตลอดจนการมอบ อานาจให้ทานิติกรรมสัญญา ฟ้องคดีและดาเนินคดี หรือกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขในการมอบอานาจ หรือที่ผู้รับมอบอานาจต้องปฏิบัติก็ได้ ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับอานาจในการอนุญาตตามกฎหมายที่บัญญัติให้ต้องออกใบอนุญาต หรื อที่บั ญญัติผู้ มีอานาจอนุญาตไว้เป็น การเฉพาะ ในกรณีเช่นนั้นให้ ผู้ดารงตาแหน่งซึ่งมีอานาจตามกฎหมาย ดังกล่าวมีอานาจมอบอานาจให้ข้าราชการซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ว่าราชการจังหวัดได้ตามที่เห็นสมควร หรือ ตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนดในกรณีมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอานาจมอบอานาจได้ ต่อไปตามหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขที่ผู้มอบอานาจกาหนด ในกรณีตามวรรคสาม เพื่อประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนจะตราพระราชกฤษฎีกา กาหนดรายชื่อกฎหมายที่ผู้ดารงตาแหน่งซึ่งมีอานาจตามกฎหมายดังกล่าวอาจมอบอานาจตามวรรคหนึ่งตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวก็ได้ การมอบอานาจให้ทาเป็นหนังสือ มาตรา ๓๙๓๒ เมื่อมีการมอบอานาจแล้ว ผู้รับมอบอานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอานาจนั้น โดยผู้มอบ อานาจจะกาหนดให้ผู้รับมอบอานาจมอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนต่อไป โดยจะกาหนด หลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขในการใช้อานาจนั้นไว้ด้วยหรือไม่ก็ได้ แต่ในกรณีการมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ๓๑ มาตรา ๓๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๒ มาตรา ๓๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๑๕ - คณะรัฐมนตรีจะกาหนดหลักเกณฑ์ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องมอบอานาจต่อไปให้รองผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัด จังหวัดหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในจังหวัดก็ได้ มาตรา ๔๐๓๓ ในการมอบอานาจ ให้ผู้มอบอานาจพิจารณาถึงการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ การกระจายความรับผ