🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

_________3_3_______________________.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Full Transcript

หน่วยที่ 3 หน่วยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ิต โครงสร้างเซลล์ 2. ไซโทพลาซึม ลักษณะเป็นของเหลวประกอบ 1. นิวเคลียส ด้วยออร์แกเ...

หน่วยที่ 3 หน่วยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ิต โครงสร้างเซลล์ 2. ไซโทพลาซึม ลักษณะเป็นของเหลวประกอบ 1. นิวเคลียส ด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ที่มี ลักษณะเป็นทรงกลมอยู่ หน้าที่แตกต่างกัน กลางเซลล์ ทาหน้าที่ ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์ 3. ส่วนทีห่ อ่ หุม้ เซลล์ โครงสร้างที่ห่อหุ้มไซโทพลาซึม และแสดงขอบเขตของเซลล์ เซลล์สัตว์มีรูปร่างไม่แน่นอน เซลล์พืชมีรูปร่างเหลี่ยม เซลล์พชื (Plant Cell) Endoplasmic Reticulum ผนังเซลล์ (Cell wall) นิวเคลียส (Nucleus) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) นิวคลีโอลัส (Nucleolus) เพอรอกซิโซม (peroxisome) ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) แวคคิวโอล (Vacuole) กอลจิบอดี (Golgi Body) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) ไมโทคอนเดรีย (Mitochomdria) เซลล์สตั ว์ (AnimalCell) Endoplasmic Reticulum ไมโครทิวบูล (Microtubules) ไมโทคอนเดรีย (Mitochomdria) นิวเคลียส (Nucleus) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) นิวคลีโอลัส (Nucleolus) ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) ไรโบโซม (Ribosomes) ไลโซโซม (Lysosome) เซนทริโอล (Centriole) กอลจิบอดี (Golgi Body) องค์ประกอบของเซลล์ ผนังเซลล์ (Cell wall) เยื่อหุม้ เซลล์ (Cell membrane)  อยูช่ ั้นนอกสุดของเซลล์ พบในเซลล์พืช  ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิด (Phospholipid bilayer) ไม่พบในเซลล์สัตว์ และโปรตีนเป็นส่วนมาก  ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลส (Cellulose)  ทาหน้าที่ห่อหุ้มส่วนที่เป็นของเหลว และเพกติน (Pectin) และออร์แกเนลล์ภายในเซลล์  มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรง ค้าจุนโครงสร้างของเซลล์  เป็นเยื่อเลือกผ่าน ควบคุมการเข้าออกของสารต่างๆ  ป้องกันการสูญเสียน้าของเซลล์พืช จากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่เซลล์ โปรตีน ผนังเซลล์ (Cell wall) Phospholipid bilayer องค์ประกอบของเซลล์ นิวคลีโอลัส (Nucleolus) นิวเคลียส (Nucleus  เป็นบริเวณที่มีลักษณะทึบแสงจะปรากฏเห็นชัด  มีลักษณะค่อนข้างกลม เมื่อย้อมสีนิวเคลียส  ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเซลล์  เป็นโครงสร้างที่ไม่มีเยื่อหุ้ม และควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม  มีหน้าที่สังเคราะห์ไรโบโซมเพื่อทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) และรวบรวมกรดไรโบนิวคลีอิก ซึ่งทาหน้าที่ในการ เป็นของเหลวที่อยู่ภายในเซลล์ ประกอบด้วย นาคาสั่งจากนิวเคลียสไปยังเซลล์ส่วนอื่น ๆ ออร์แกเนลล์ และสารประกอบต่างๆ เช่น น้าตาล โครมาทิน โปรตีน ไขมัน ประกอบด้วยโปนตีนและ ไซโทพลาสซึม DNA ที่เป็นกรดนิวคลีอิก (Cytoplasm) ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมและสร้าง RNA องค์ประกอบของเซลล์ คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ไมโทคอนเดรีย (Mitochomdria)  พบเฉพาะในเซลล์พืช (มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น)  มีขนาดใหญ่ มีรูปร่างยาว กลมรี (มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น)  ภายในมีรงควัตถุสเี ขียว เรียกว่า “คลอโรฟีลล์”  ทาหน้าที่เป็นแหล่งสร้างพลังงานในรูปสารอินทรีย์  ทาหน้าที่ช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช พลังงานสูง จากการหายใจระดับเซลล์ (กระบวนการที่ น้าตาลกลูโคสถูกเปลี่ยนเป็น ATP ซึ่งเป็นพลังงานที่ Outer membrane Thylakoids (เยื่อไทลาคอยด์) เซลล์นาไปใช้ในการทากิจกรรมต่างๆ) Inner membrane Outer membrane Granum (กรานุม) Inner membrane Stroma : ส่วนที่เป็นของเหลว เยื่อบางๆ พับซ้อนกันไปมา ส่วนที่เป็นของเหลว Stroma lamella : เชื่อมโยงแต่ละ Granum Cristae Matrix องค์ประกอบของเซลล์ แวคคิวโอล (Vacuole) เพอรอกซิโซม (peroxisome)  เป็นถุงขนาดใหญ่ที่พบในเซลล์พืช  เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็ก ที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว ส่วนเซลล์สัตว์ จะมีขนาดเล็ก  เป็นถุงที่บรรจุเอนไซม์แคตาเลส ทาหน้าที่ทาลายสารพิษ  มีเยื่อหุ้มเพียงชั้นเดียว  ในพืชเพอรอกซิโซม มีบทบาทสาคัญ คือ เปลี่ยน  ทาหน้าที่เก็บของเหลว น้า สารอินทรีย์ กรดไขมันที่สะสมอยู่ในเมล็ดพืชให้เป็นคาร์โบไฮเดรต และอนินทรีย์ เช่น น้าตาล กรดอินทรีย์ แทนนิน สาหรับใช้เป็นแหล่งพลังงานในการงอกของเมล็ด แวคคิวโอล (Vacuole) เพอรอกซิโซม (peroxisome) องค์ประกอบของเซลล์ ร่างแหเอนโดพลาซึม : ER กอลจิบอดี (Golgi Body)  เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น  บางครั้งเรียก กอลจิคอมเพล็กซ์ (Golgi complex),  แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ ผิวเรียบและผิวขรุขระ กอลจิแอพพาราตัส (Golgi apparatus) เป็นต้น  แบบผิวเรียบจะไม่มีไรโบโซมเกาะอยู่  ลักษณะคล้ายชามซึ่งเรียกว่า ซิสเทอร์นา  แบบผิวขรุขระจะมีไรโบโซมเกาะอยู่ มีลักษณะเป็นถุงแบนๆ วางซ้อนกัน  ทาหน้าที่เก็บสะสมสารที่เซลล์สร้างขึ้นก่อนปล่อยออก  ไรโบโซม (Ribosome) นี้เป็นแหล่งสร้างโปรตีน นอกเซลล์ ส่วนใหญ่เป็นโปรตีน สร้างคาร์โบไฮเดรต และทาหน้าที่ส่งโปรตีนออกไปยังนอกเซลล์ โมเลกุลใหญ่ เช่น แป้ง ไกลโคเจน เซลลูโลส ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระ(RER) ซิสเทอร์นา (cisterna ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิวเรียบ (SER) องค์ประกอบของเซลล์ ไลโซโซม (Lysosome) เซนทริโอล (Centriole)  เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มเพียงชั้นเดียวมีลักษณะเป็นถุง  เป็นออร์แกเนลล์ที่ประกอบด้วยไมโครทิวบูล  ทาหน้าที่ย่อยสารและสิ่งที่เซลล์ไม่ต้องการ เช่น ย่อยเชื้อโรค  พบในเซลล์สัตว์ และโพรทิสต์บางชนิด ย่อยอาหาร ย่อยเซลล์ตัวเอง เมื่อเซลล์อ่อนแอและหมดอายุ  มีขนาดเล็ก ใส มีรูปร่างคล้ายท่อทรงกระบอก เรียกว่า Autolysis  ไม่พบในเซลล์พชื พบในเม็ดเลือดขาว  ช่วยในการเคลื่อนที่ของโครโมโซมและแยกโครมาติด Membrane แต่ละคู่ออกจากกัน ในขณะเกิดการแบ่งเซลล์ Enzymes Centriole Transport Microtubules proteins เปรียบเทียบ : ความแตกต่างระหว่างเซลล์พชื กับเซลล์สตั ว์ องค์ประกอบของเซลล์ เซลล์พชื เซลล์สตั ว์ เซลล์พชื 1. รูปร่างของเซลล์ ค่อนข้างเหลี่ยม ค่อนข้างกลม 2. ผนังเซลล์ (Cell wall) มี ไม่มี 3. คลอโรพลาสต์ มี ไม่มี เซลล์สตั ว์ 4. แวคคิวโอล(Vacuole) มีขนาดใหญ่ มีขนาดเล็ก มองเห็นไม่ชัดเจน 5. ไลโซโซม (Lysosome) ไม่มี มี 6. เซนทริโอล (Centriole) ไม่มี มี ตัวอย่างเซลล์จากส่วนต่างๆของ ”เซลล์พชื ” เซลล์คมุ (Guard cell)  เซลล์คมุ คือ เป็นเซลล์เนื้อเยื่อผิว (epidermis) ที่เปลี่ยนแปลงมาทาหน้าที่เฉพาะ Chloroplast Cytoplasm  รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วอยู่กันเป็นคู่ ๆ  ระหว่างเซลล์คุมแต่ละคู่มีช่องเปิดเล็กๆเป็น“ปากใบ.” Cell wall  ควบคุมการแลกเปลี่ยนแก๊สและการระเหยของน้า Nucleus  ในขณะที่อากาศร้อนและพืชอยู่ในสภาวะที่ มีการสูญเสียน้าไปมากๆ เซลล์คุมจะปิดเพื่อป้องกัน Vacuole Stomatal pore การระเหยของน้าออกจากใบ เป็นการพยายาม รักษาปริมาณน้าเอาไว้ Guard cell ตัวอย่างเซลล์จากส่วนต่างๆของ ”เซลล์สัตว์” เซลล์สเปิร์ม (Sperm cell) Acrosome Nucleus Head  เป็นเซลล์สืบพันธุ์ของเพศชาย ส่วนหัว เป็นที่อยู่ของนิวเคลียสและเอนไซม์ที่ใช้ย่อยผนังหุ้มเซลล์ไข่ Mitochondria Middlepiece ส่วนคอและลาตัว มีลักษณะเป็นแท่ง ทาหน้าที่ให้พลังงานแก่เซลล์ ส่วนหาง มีกลุ่มไมโทคอนเดรียซึ่งใช้เป็นพลังงานในการเคลื่อนที่ ของสเปิร์มหรืออสุจิ Tail Plasma membrane สรุปโครงสร้างเซลล์ เยื่อหุม้ เซลล์ คลอโรพลาสต์ นิวเคลียส เซนทริโอล ร่างแห่เอนโดพลาสซึม พบทั้งเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ ผนังเซลล์ ไมโครทิวบูล ไรโบโซม เยื่อหุม้ เซลล์ นิวเคลียส คลอโรพลาสต์ เซนทริโอล ร่างแห่เอนโดพลาสซึม ผนังเซลล์ ไรโบโซม กอลจิบอดี ไมโครทิวบูล ไซโทพลาสซึม ไลโซโซม ไมโทคอนเดรีย เพอรอกซิโซม ไซโทพลาสซึม ไมโทคอนเดรีย แวคคิวโอล ไลโซโซม กอลจิบอดี เซลล์พชื เซลล์สตั ว์ เพอรอกซิโซม ตัวอย่างแนวข้อสอบ  ข้อสอบ O-Net  แนวข้อสอบโรงเรียนวิทยาศาสตร์จฬุ าภรณราชวิทยาลัย เมื่อนาชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมาศึกษาภายใต้กล้อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีส่วนประกอบพื้นฐานเหมือนกันตามข้อใด จุลทรรศน์ พบว่าเซลล์มีส่วนประกอบ ดังนี้ ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม คลอโรพลาสต์ และนิวเคลียส 1. ผนังเซลล์ ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส ชิ้นส่วนที่นามาศึกษานี้ควรเป็นเซลล์ใด (O-net 61) 2. เยื่อหุ้มเซลล์ ไลโซโซม นิวเคลียส 1. เซลล์ของไฮดรา 3. เยื่อหุ้มเซลล์ ไรโบโซม นิวเคลียส 2. เซลล์ของอะมีบา 3. เซลล์ของเยื่อบุข้างแก้ม 4. ผนังเซลล์ โครโมโซม นิวเคลียส 4. เซลล์ของสาหร่ายหางกระรอก 5. เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล ซิเลีย  ข้อสอบ O-Net ตัวอย่างแนวข้อสอบ (O-net 62)

Use Quizgecko on...
Browser
Browser