Personal Finance Planning 101: A Comprehensive Guide (PDF)
Document Details
Uploaded by ProgressiveNarcissus
Tags
Summary
This document provides a comprehensive overview of personal finance planning, including goals, strategies, and important aspects like budgeting and wealth creation. It highlights the importance of setting clear financial goals, gathering relevant data, analyzing this information, and developing a personal finance plan.
Full Transcript
บทที่ 1 ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผน การเงินส่วนบุคคล วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง เหมาะสมในการบริหารจัดการด้านการเงิน ส่วนบุคคล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารการเงินส่วนบุคคล เพื่อสร้างสานึกรับผิดชอบทางการเงิน เพื่อให้รู้วิธีก...
บทที่ 1 ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผน การเงินส่วนบุคคล วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง เหมาะสมในการบริหารจัดการด้านการเงิน ส่วนบุคคล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารการเงินส่วนบุคคล เพื่อสร้างสานึกรับผิดชอบทางการเงิน เพื่อให้รู้วิธีการบริหารและจัดการ “เงิน” ความหมาย กระบวนการโดยรวมในการออกแบบ (Design) แนวทางปฏิบัติในการบริหาร จัดการเงินภายใต้เงื่อนไขเฉพาะของแต่ละบุคคล การนาไปปฏิบัติและการ ทบทวนปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายทางการเงินที่ ต้องการได้ Keywords ออกแบบแนวทางปฏิบัติ การนาไปปฏิบัติ การทบทวนแผนอย่างต่อเนื่อง ความสาคัญ สร้างความมั่งคั่ง มั่นคง ให้กับชีวิตของบุคคลและครอบครัว ตอบสนองความต้องการและเป้าหมายเฉพาะของแต่ละบุคคล สร้างบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านการวางแผนการเงินส่วนบุคคล เป็นรากฐานเสริมความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมประเทศ ขอบเขต การวางแผนการบริโภคและอุปโภคที่มีประสิทธิภาพ Consumption Planning การบริหารความเสี่ยงและการวางแผนประกันภัย Insurance Planning การวางแผนภาษี Tax Planning การวางแผนการลงทุน Investment Planning การวางแผนเพื่อวัยเกษียณ Retirement Planning การวางแผนมรดก Estate Plannning สาเหตุที่บุคคลละเลยเรื่องการวางแผนการเงิน ขาดการปลูกฝังแนวคิดการใช้ทรัพยากรต่างๆ รวมทั้งการใช้จ่ายเงินอย่างรู้ค่า และ การสร้างวัฒนธรรมการออม และการลงทุน ขาดการตระหนักรู้และคานึงถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับชีวิตและสินทรัพย์ มีความเชื่อผิดๆ เช่น การวางแผนการเงินเป็นเรื่องของบุคคลที่มีรายได้/สินทรัพย์มาก เท่านั้น, ต้องใกล้เกษียณถึงจะวางแผน, เป็นเรื่องยุ่งยาก ซับซ้อน เสียเวลา ผลเสีย ไม่สามารถสานฝันหรือบรรลุเป้าหมายทางการเงินและเป้าหมายสาคัญในการดาเนิน ชีวิตได้ ไม่มีมาตรการรับมือทางการเงินเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิดในชีวิต ประสบปัญหาทางการเงินภายหลังเกษียณอายุ เกิดปัญหากับสังคมและประเทศชาติ การกาหนดเป้าหมาย Goals สาคัญในชีวิตของบุคคล หลักการกาหนดเป้าหมายที่ดี SMART S : Specific คือ ระบุสิ่งที่ต้องการอย่างชัดเจน เช่น ต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ M : Measurable คือ สามารถวัดได้ เช่น เรียนครบตามหลักสูตร A : Accountable คือ ต้องมีความรับผิดชอบและลงมือปฏิบัติจริง เช่น เตรียมความพร้อม ด้านการสอบ / ด้านเงินทุน R : Realistic คือ เป็นเป้าหมายที่สมเหตุสมผลและมีโอกาสเป็นไปได้จริง T : Time Bound คือ มีระยะเวลาเป็นกรอบกาหนดที่ต้องทาให้เป้าหมายสาเร็จ เช่น ปี หน้าต้องสอบเข้าให้ได้ / จะต้องจบภายใน 2 ปี เป้าหมายทางการเงิน เป้าหมายทางการเงินระยะสั้น ภายใน 1 ปี ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน เป้าหมายทางการเงินระยะปานกลาง ภายใน 2-5 ปี มุ่งเน้นการสร้างสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ / มีผลให้ชีวิตมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น เป้าหมายทางการเงินระยะยาว เกิน 5 ปีขึ้นไป เป็นเป้าหมายที่สร้างความมั่นคงให้กับชีวิตของตนเองและครอบครัวในระยะยาว การมีอิสรภาพทางการเงิน และการวัดค่า การมีอิสรภาพทางการเงิน Financial Freedom การที่คนเรามีหลักประกัน ทางการเงินมั่นคงเพียงพอที่จะใช้ชีวิตได้อย่างสุขสบายสมควรแก่อัตภาพ โดย ไม่ต้องพึ่งพาบุคคลอื่นมากจนเกินไป รายได้จากการทางาน รายได้จากสินทรัพย์ เช่น เงินปันผลจากการลงทุนในหุ้นสามัญ ดอกเบี้ยเงินฝาก ค่าเช่าบ้าน ฯลฯ ตรวจสอบ คุณแค่อยู่รอด หรือ มั่งคั่งแล้ว อัตราส่วนความอยู่รอด SURVIVAL Ratio รายได้จากการทางาน + รายได้จากทรัพย์สิน รายจ่าย ถ้า มากกว่า, เท่ากับ 1 อยู่รอดได้ด้วยตนเอง (ความเป็นไทขั้นต้น) ตรวจสอบ คุณแค่อยู่รอด หรือ มั่งคั่งแล้ว อัตราส่วนความมั่งคั่ง WEALTH Ratio รายได้จากทรัพย์สิน รายจ่าย ถ้า มากกว่า, เท่ากับ 1 อิสรภาพทางการเงิน (เป้าหมายที่สาคัญ) แผนการเงิน และหลักพื้นฐานของการวางแผนการเงินส่วนบุคคล การวางแผนการเงินที่ดี ทาให้บุคคลมีแนวทางในการออมเงินและการลงทุนที่ มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับแต่ละบุคคล และทาให้มีหลักประกันในยาม ฉุกเฉิน รวมทั้งมีเงินทุนไว้ใช้อย่างเพียงพอในวัยเกษียณ ดังนั้น การวางแผนการเงินจึงเป็นการบูรณาการแผนการเงินในแต่ละด้านเข้า ด้วยกัน ประกอบด้วย การวางแผนรายได้รายจ่าย การออม การลงทุน การ ประกัน ภาษี มรดก วัยเกษียณ หลักพื้นฐานในการจัดทาแผนการเงิน การสร้างความมั่งคั่ง Wealth Creation สร้างรายได้ ลดรายจ่าย การออม การปกป้องความมั่งคั่ง Wealth Protection คุ้มครองความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น การต่อยอดความมั่งคั่ง Wealth Accumulation สะสมความมั่งคั่งผ่านการวางแผนภาษี วางแผนการลงทุน การกระจายความมั่งคั่ง Wealth Distribution ส่งมอบความมั่งคั่งให้กับบุคคลที่รัก วางแผนมรดก เครื่องมือสาหรับการจัดทาแผนการเงินส่วนบุคคล การหามูลค่าเงินตามเวลา งบการเงินส่วนบุคคล งบแสดงฐานะการเงินส่วนบุคคล งบกระแสเงินสดส่วนบุคคล กระบวนการวางแผนการเงิน ขั้นตอนที่ 1 กาหนดเป้าหมายทางการเงิน ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 4 จัดทาแผน ขั้นตอนที่ 5 นาแผนไปปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 6 ทบทวนและตรวจสอบ กาหนด เป้าหมาย ทางการ เงิน รวบรวม ข้อมูล ช่วงเริ่มทางาน สะสมความมั่งคั่ง. 1 2 วิเคราะห์ 3 ข้อมูล ช่วงใช้เงินหลังเกษียณ วัยศึกษา วัยทางาน วัยเกษียณ - พิจารณาความเข้มแข็งทางการเงิน อายุ รวบรวม - ตรวจสอบปัญหาทางการเงินที่อาจเกิดขึ้นทั้ง รายได้ - รายจ่าย ในปัจจุบันและอนาคต ข้อมูล การออม. การลงทุน การประเมินสถานะทางการเงินของบุคคล ทาได้ โดยการจัดทางบการเงินส่วนบุคคล คือ งบ วิเคราะห์ สินทรัพย์ แสดงฐานะการเงิน และงบกระแสเงินสด เพื่อ ข้อมูล หนี้สิน นามาวิเคราะห์โครงสร้างทางการเงิน และ การจัดการความเสี่ยง วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน นาผลการวิเคราะห์ มาจัดทาแผนการเงิน โดยการจัดทา งบประมาณเงินสด Cash Budget