🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

2. ทฤษฎี หลักการ และกระบวนการในการบริหารสถา.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Full Transcript

EDA 5501 การบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา 1 บทที่ 2 ทฤษฎี หลักการ และกระบวนการในการบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา 1 ทฤษฎีการบริหารสถานศึกษา และการบริหารการศึกษา ทฤษฎีการบริหาร ทฤษฎีการ ทฤษฎีการ บริหารเชิง...

EDA 5501 การบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา 1 บทที่ 2 ทฤษฎี หลักการ และกระบวนการในการบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา 1 ทฤษฎีการบริหารสถานศึกษา และการบริหารการศึกษา ทฤษฎีการบริหาร ทฤษฎีการ ทฤษฎีการ บริหารเชิง ทฤษฎี บริหารสมัย พฤติกรรม บรรยากาศ ดัง้ เดิม ศาสตร์ องค์การ 1 3 5 4 2 ทฤษฎีการ ทฤษฎีแรงจูงใจ บริหารเชิง มนุษยสัมพันธ์ 3 ทฤษฎีการบริหารสมัยดั้งเดิม Frederick Taylor Henri J. Fayol Max Weber 4 “ Frederick Taylor เป็นผู้เริ่มต้นสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับ การบริหารจัดการและได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดา แห่งการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ 5 Frederick Taylor วิธีการเพิ่มผลผลิตขององค์การ ▸ 1. เลือกคนที่มคี วามสามารถสูงสุด ▸ 2. ฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงาน ▸ 3. หาวิธกี ารให้เกิดแรงขับเคลื่อนในการทางาน (Motivation) ▹ การแบ่งงานกันทา (Division of Labors) ▹ การควบคุมดูแลบังคับบัญชาตามสายงาน (Hierarchy) ▹ การจ่ายค่าจ้าง (Incentive Payment) 6 “ Henri J. Fayol เป็นผู้คิดค้นแนวคิดที่เป็นหลักการ เกี่ยวกับการบริหารและการจัดการองค์การเพื่อ เพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน 7 Henri J. Fayol หลักการบริหาร 14 ประการ ▸ 1. การแบ่งงานกันทา ▸ 6. ผลประโยชน์สว่ นตัวต้อง ▸ 11. ความเสมอภาค (Equity) (Division of Work) มาทีหลัง (Subordination of ▸ 12. เสถียรภาพในการ ▸ 2. อานาจหน้าที่และความ Individual Interest) ทางาน (Stability of Tenure รับผิดชอบ (Authority and ▸ 7. ค่าตอบแทนการทางาน of Personnel) Responsibility) (Remuneration) ▸ 13. เสรีภาพในการนาเสนอ ▸ 3. วินัย (Discipline) ▸ 8. สมดุลของการรวมและ สิ่งใหม่ (Initiative) ▸ 4. เอกภาพการบังคับ การกระจายอานาจ (The Degree of Centralization) ▸ 14. ความเข้าใจและไว้วางใจ บัญชา (Unity of Command) ▸ 9. สายการบังคับบัญชา ซึ่งกันและกัน (Esprit de (Scalar Chain) Corps) ▸ 5. เอกภาพทิศทางการ ดาเนินงาน (Unity of ▸ 10. ความพร้อมและความ Direction) เป็นระเบียบ (Order) 8 “ Max Weber ได้รับการยกย่องว่าเป็นเจ้าตารับ ระบบราชการ (Bureaucracy) ใช้หลักการบริหาร แบบระบบราชการที่กาหนดสายบังคับบัญชาอย่าง เป็นทางการและยึดถือกฎระเบียบเป็นหลักเพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานและเกิดความเป็น ธรรมโดยไม่อิงความสัมพันธ์สว่ นบุคคล 9 Max Weber การบริหารแบบระบบราชการ ▸ 1. หลักลาดับขั้น (Hierarchy) ▸ 2. หลักความรับผิดชอบ (Responsibility) ▸ 3. หลักความสมเหตุสมผล (Rationality) ▸ 4. หลักการมุง่ สู่ผลสาเร็จ (Achievement Orientation) ▸ 5. หลักความชานาญเฉพาะด้าน (Specialization) ▸ 6. หลักระเบียบวินัย (Discipline) ▸ 7. หลักความเป็นวิชาชีพ (Professionalization) 10 ทฤษฎีการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Mary P. Follett Elton Mayo 11 “ Mary P. Follett เสนอหลักการเกี่ยวกับการ ประสานงานเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีใน องค์การและการบริหารความขัดแย้ง ซึ่งในสังคม มนุษย์ความขัดแย้งมักปรากฎอยู่เสมอและเป็นสิ่งที่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ 12 Mary P. Follett การบริหารความขัดแย้ง ▸ 1. การบังคับ (Force) ▸ 2. การหลบหนี (Withdrawal) ▸ 3. การประนีประนอม (Compromise) ▸ 4. การใช้บุคคลที่สาม (Third Party) ▸ 5. การใช้เป้าหมายอื่นที่สาคัญเหนือความขัดแย้ง (Super Ordinate Goals) ▸ 6. การใช้วธิ ีการแก้ปัญหา (Problem Solving) 13 “ Elton Mayo ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งการ จัดการแบบมนุษยสัมพันธ์ 14 Elton Mayo การจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์ ▸ 1. การบริหารความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร ▸ 2. การบริหารแบบประชาธิปไตย ▸ 3. การสร้างขวัญและกาลังใจ ▸ 4. การดูแลเอาใจใส่ ▸ 5. การให้ความสาคัญกับผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ 15 ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ Chester I. Barnard Douglas Mcgregor Abraham H. Maslow 16 Chester I. Barnard การบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ ▸ 1. เน้นความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ (Informal Organization) ▸ 2. มีการกระจายความพึงพอใจของบุคลากรในองค์การออกไปอย่างเท่าเทียมกัน (The Contribution Satisfaction Equilibrium) 17 Douglas Mcgregor ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ▸ ทฤษฎี X ▹ มนุษย์มีพฤติกรรมที่เกียจคร้าน หลีกเลี่ยงการทางาน และขาดความรับผิดชอบ จึงต้องใช้วิธกี ารบังคับ จูงใจ และควบคุมให้ทางานด้วยเงิน ▸ ทฤษฎี Y ▹ มนุษย์เป็นคนดี มีความรับผิดชอบ และพร้อมที่จะปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจหาก ได้รับการจูงใจอย่างถูกวิธี 18 Abraham H. Maslow ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการ (Hierarchy of Needs) 19 ทฤษฎีแรงจูงใจ Clayton Alderfer David I. Victer H. Vroom Burrhus Skinner Frederick Herzberg Mcclelland 20 Clayton Alderfer ทฤษฎี ERG (ERG Theory) ▸ ความต้องการของมนุษย์แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ▹ 1. ความต้องการมีชีวติ อยู่ (Existence Needs) ▹ ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ในการดารงชีพ เช่น อาหาร น้า อากาศ และที่อยูอ่ าศัย ▹ 2. ความต้องการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น (Relatedness Needs) ▹ ความต้องการที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม เช่น ความรักและการ ยอมรับนับถือ ▹ 3. ความต้องการเจริญก้าวหน้า (Growth Needs) ▹ ความต้องการของบุคคลที่จะก้าวหน้าและพัฒนาเอง ซึ่งเป็นความสาเร็จใน ชีวิตและความต้องการสูงสุด 21 David I. Mcclelland ความต้องการของมนุษย์จากแบบทดสอบ TAT ความต้องการของมนุษย์ ลักษณะงานที่บุคลากรต้องการ ▸ 1. ความต้องการประสบความสาเร็จ ▸ 1. งานที่เปิดโอกาสให้รับผิดชอบและ (Need for Achievement) มีอิสระในการตัดสินใจ ▸ 2. ความต้องการมิตรสัมพันธ์ (Need ▸ 2. งานที่มีระดับยากง่ายพอดีไม่เกิน for Affiliation) ความสามารถของบุคคล ▸ 3. ความต้องการอานาจ (Need for ▸ 3. งานที่มีลักษณะแน่นอนและมี Power) โอกาสเจริญก้าวหน้า 22 Victer H. Vroom ความคาดหวังในการทางาน (VIE Theory) ▸ 1. ความต้องการ (Valance) ▹ ระดับความต้องการของบุคคลต่อรางวัลที่จะได้รับ ▸ 2. เครื่องมือ (Instrumentality) ▹ ความพยายามในการได้รับรางวัล ▸ 3. ความคาดหวัง (Expectancy) ▹ ความเป็นไปได้ของผลลัพธ์หรือรางวัลที่จะได้รับ 23 Burrhus Skinner ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theories of Motivation) ▸ 1. การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) ▹ การให้ผลตอบแทนเพื่อจูงใจบุคคลให้มพ ี ฤติกรรมพึงประสงค์โดยการให้รางวัล การยกย่อง หรือการเพิ่มสวัสดิการ ▸ 2. การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) ▹ การลงโทษเมื่อบุคคลมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การไล่ออก การตัดเงินเดือน หรือการตักเตือน 24 Frederick Herzberg ทฤษฎี 2 ปัจจัย ▸ 1. ปัจจัยจูงใจหรือปัจจัยกระตุ้น (Motivates Factors) ▹ ปัจจัยที่ทาให้คนรู้สึกพึงพอใจในการปฏิบัตงิ าน ▹ ความสาเร็จในการทางาน (Achievement), การได้รับการยอมรับ (Recognition), ความก้าวหน้าใน หน้าที่การงาน (Advancement), ลักษณะงานที่ทา (Work Itself) และความรับผิดชอบ (Responsibility) ▸ 2. ปัจจัยอนามัยหรือปัจจัยค้าจุน (Hygiene or Maintenance Factors) ▹ ปัจจัยที่ป้องกันไม่ให้คนเกิดความไม่พอใจในการปฏิบัติงาน ▹ นโยบายและการบริหารขององค์การ (Company Policy and Administration), การบังคับบัญชาและ การควบคุมดูแล (Supervision), ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน (Interpersonal Relations with Supervision), ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (Interpersonal Relations with Peers), ความสัมพันธ์ กับผู้ใต้บังคับบัญชา (Interpersonal Relations with Subordinators), ตาแหน่งงานที่ปฏิบัติ (Status), ความมั่นคงในการทางาน (Job Security), ชีวติ ส่วนตัว (Personal Life), สภาพแวดล้อมในการทางาน (Working Conditions) และค่าตอบแทน (Compensations) 25 ทฤษฎีบรรยากาศองค์การ Chris Stringer 26 Chris Stringer องค์ประกอบบรรยากาศองค์การ ▸ 1. ด้านโครงสร้างขององค์การ (Structure) ▹ การจัดแบ่งหน้าที่ภายในองค์การ ขั้นตอนในการดาเนินงาน ตลอดจนสายบังคับ บัญชาต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ซึ่งโครงสร้างที่ดีจะมีผลให้เกิด แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ▸ 2. ด้านมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standards) ▹ การกาหนดเป้าหมายและมาตรฐานในการปฏิบัติงานที่มีความชัดเจนและเข้าใจ ตรงกัน รวมทัง้ แรงผลักดันในการปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานเพื่อให้ ผู้ปฏิบัติงานมีมาตรฐานการทางานที่สูงขึน้ ▸ 3. ด้านความรับผิดชอบ (Responsibility) ▹ ความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานและปริมาณงานตามหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบ การ ได้รับความไว้วางใจจากผู้บังคับบัญชาเพื่อให้ปฏิบัติงานตามอานาจที่ได้รับ มอบหมายอย่างเต็มประสิทธิภาพ 27 Chris Stringer องค์ประกอบบรรยากาศองค์การ (ต่อ) ▸ 4. การได้รับการยอมรับ (Recognition) ▹ การได้รับการยอมรับโดยได้รางวัลเมื่อสามารถปฏิบัติงานได้สัมฤทธิ์ผล หรือ ลงโทษจากการปฏิบัติงานด้วยความยุติธรรมและความเหมาะสม ▸ 5. การสนับสนุน (Support) ▹ การเป็นกลุ่มสังคมที่ชว่ ยเหลือและสนับสนุนซึ่งกันและกัน มีความเป็นมิตรและ ความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ▸ 6. ความยึดมั่นผูกพัน (Commitment) ▹ การรู้สึกเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันและภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์การ 28 “ จงปฏิบัติต่อผู้อื่นเหมือนกับที่ท่านต้องการ ให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อท่าน …กฎทองคา (Golden Rule)… 29 “ จงปฏิบัติต่อผู้อื่นตามที่เขาต้องการให้เราปฏิบัติ …กฎทองคาขาว (Platinum Rule)… 30 ผู้บริหารที่ดีต้องรูจ้ ักควบคุมการฟัง ควบคุมการ “ มอง และควบคุมการพูด เปรียบได้กับลักษณะของ ลิงทั้ง 3 ตัว…… ……ลิงตัวที่ 1 ปิดหูหนึ่งหู หมายถึง การใช้หลักการ และเหตุผลในการแยกแยะสิ่งที่ได้ยิน ……ลิงตัวที่ 2 ปิดตาหนึ่งตา หมายถึง การมองแล้ว พิจารณาใคร่ครวญโดยไม่ตัดสินคนทันทีที่เห็น ……ลิงตัวที่ 3 ปิดปากครึ่งปาก หมายถึง การ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบก่อนพูดเนื่องจากคาพูด ของเราอาจจะไปกระทบกับบุคคลอื่น หรืออาจจะ นาความเสียหายมาสูอ่ งค์การได้ 31 2 หลักการบริหารสถานศึกษา และการบริหารการศึกษา หลักการบริหาร หลักการ หลักการ หลักการ กระจาย บริหารแบบมุ่ง บริหารแบบ อานาจ ผลสัมฤทธิ์ 4M 1 3 5 4 2 หลักการ หลักธรรมาภิบาล บริหารแบบมี ของการบริหาร ส่วนร่วม กิจการบ้านเมือง ที่ดี 33 หลักการกระจายอานาจ 34 วิธีการกระจายอานาจ ▸ 1. การแบ่งอานาจ (Deconcentration) ▹ การจัดสรรหรือถ่ายโอนอานาจจากส่วนกลางไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามสายการบังคับบัญชา ▸ 2. การมอบอานาจ (Delegation) ▹ การถ่ายโอนอานาจของผู้บริหารสูงสุดไปยังผู้บริหารระดับล่างในองค์การ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และลดขั้นตอนการดาเนินงาน โดยผู้ที่ได้รับการมอบอานาจมีสิทธิ์ในการตัดสินใจ แต่ผู้มอบอานาจ ยังคงเป็นผู้รับผิดชอบต่อผลของการตัดสินใจ ▸ 3. การโอนหรือให้อานาจ (Devolution) ▹ การถ่ายโอนอานาจการตัดสินใจจากระดับบนสูร่ ะดับล่างอย่างสมบูรณ์ ผู้โอนอานาจจึงไม่มีอานาจ หรืออาจมีเพียงเล็กน้อยในการควบคุมการดาเนินการที่ได้รับโอนอานาจไปแล้ว ▸ 4. การให้เอกชนดาเนินการ (Privatization) ▹ การถ่ายโอนอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างใดอย่างหนึ่งให้เอกชนที่เป็นบุคคลหรือคณะ บุคคลดาเนินการแทนรัฐ หรือสนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการลงทุน การดาเนินการ และการจัดการศึกษา 35 “ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management: SBM) เป็นแนวคิดในการบริหาร สถานศึกษาที่ผลักดันให้มีการกระจายอานาจจาก ส่วนกลางไปสู่หน่วยปฏิบัติ (Decentralization) เพื่อ คืนอานาจการจัดการศึกษาให้ประชาชน (Return Power to People) 36 รูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ▸ 1. รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (Administration Control SBM) ▹ ผู้บริหารเป็นประธานคณะกรรมการและมีอานาจการตัดสินใจ ส่วนคณะกรรมการอื่น ๆ อาทิเช่น ผู้ปกครอง ครู และชุมชน มีบทบาทในการให้คาปรึกษาเท่านั้น ▸ 2. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (Professional Control SBM) ▹ ตัวแทนคณะครูจะมีสัดส่วนมากที่สุดเนื่องจากครูเป็นผู้ใกล้ชิดนักเรียนจึงย่อมรู้ปัญหาและ สามารถแก้ปัญหาได้ดีกว่า แต่ผู้บริหารยังคงเป็นประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ▸ 3. รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทเป็นหลัก (Community Control SBM) ▹ มีผู้บริหารเป็นเพียงกรรมการและเลขานุการ และมีตัวแทนของผู้ปกครองและชุมชนใน สัดส่วนคณะกรรมการสถานศึกษามากที่สุด พร้อมทัง้ เป็นประธานคณะกรรมการ ▹ ประเทศไทยใช้รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลักเพื่อให้การจัดการศึกษาตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้ปกครองและชุมชนท้องถิ่นอย่างแท้จริง ▸ 4. รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (Professional Community Control SBM) ▹ มีสัดส่วนของครูและผู้ปกครอง (ชุมชน) ในคณะกรรมการสถานศึกษาเท่า ๆ กัน และ มากกว่าตัวแทนกลุม่ อื่น ๆ แต่ผู้บริหารยังคงเป็นประธานคณะกรรมการสถานศึกษา 37 หลักการบริหาร แบบมีส่วนร่วม 38 รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม ▸ 1. รูปแบบการปรึกษาหารือ (Consulting Management) ▹ การบริหารโดยเปิดโอกาสให้บุคลากรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้มีสว่ นร่วมในการปฏิบัตงิ านในรูปแบบ คณะกรรมการ (Committee) อาทิเช่น คณะกรรมการสถานศึกษา หรือคณะกรรมการเฉพาะกิจ ▸ 2. รูปแบบการร่วมเสนอแนะ (Suggestion System) ▹ การมีสว่ นร่วมโดยรับฟังความคิดเห็นจากผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้องด้วยวิธกี ารจัดประชุมรับฟัง ข้อเสนอแนะ การแจกแบบฟอร์มแสดงข้อเสนอแนะ หรือจากการเสนอแนะผ่านเทคโนโลยีตา่ ง ๆ ▸ 3. รูปแบบการทางานเป็นทีม (Team Working) ▹ การเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ในหน่วยงานเดียวกันหรือผู้ท่เี กี่ยวข้อง ได้มีโอกาสทางาน ร่วมกันโดยใช้กระบวนการทางานเป็นทีมหรือกลุม่ คุณภาพ (QC Circles) ซึ่งมีกระบวนการทางาน ใน 4 ขัน้ ตอน ตามหลักการ PDCA ▸ 4. รูปแบบการร่วมลงทุน (Joint Investment) ▹ การส่งเสริมให้บุคลากรผู้ปฏิบัตงิ านมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการด้วยการลงทุนซื้อหุ้น หรืออาจ จ่ายเป็นทุนเรือนหุน้ เพื่อให้บุคลากรผู้ปฏิบัตงิ านมีความรู้สกึ เป็นเจ้าของกิจการและรับ ผลประโยชน์ร่วมกัน 39 ขั้นตอนการบริหารแบบมีส่วนร่วม ▸ 1. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (Decision Making) ▸ 2. การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ (Implementation) ▸ 3. การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ (Benefits) ▸ 4. การมีส่วนร่วมในการประเมินผล (Evaluation) 40 “ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เป็นแนวทางในการ บริหารองค์การเพื่อยกระดับคุณภาพของผู้เรียน ด้วยการรวมกลุ่มและร่วมมือร่วมใจของบุคคลที่มี เป้าหมายเดียวกัน โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ พัฒนาวิชาชีพร่วมกันบนพื้นฐานความสัมพันธ์แบบ กัลยาณมิตร 41 หลักการบริหาร แบบมุง่ ผลสัมฤทธิ์ 42 ขั้นตอนการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ▸ 1. การวางแผน (Planning) ▹ วางแผนกลยุทธ์หรือยุทธศาสตร์ขององค์การ โดยใช้เทคนิค Swot Analysis ▹ กาหนดปัจจัยหลักแห่งความสาเร็จขององค์การ (Critical Success Factors) ▹ สร้างตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators: KPIs) ▹ กาหนดโครงการหรือกิจกรรมในการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ▸ 2. การปฏิบัติ (Implementation) ▹ กาหนดผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรมการดาเนินงาน ▸ 3. การประเมินผลการดาเนินงาน (Evaluation) ▹ วัดผล ประเมินผล และสรุปผลการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 43 ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการบริหาร แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ▸ 1. ด้านปัจจัยนาเข้า (Input) ▹ นโยบาย บุคลากร งบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ที่เพียงพอและเหมาะสม ▸ 2. ด้านกระบวนการ (Process) ▹ การวางแผนการดาเนินงาน การบริหารจัดการ การปฏิบัติที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ และการ ติดตามประเมินผล ▸ 3. ด้านผลผลิต (Output) ▹ การตรวจสอบและประเมินผลตามตัวชี้วัดการดาเนินงาน ▸ 4. ด้านข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ▹ การนาข้อมูลผลการดาเนินงานทั้งหมดมาวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางในการแก้ไข ▸ 5. ด้านสภาพแวดล้อม (Environment) ▹ การวิเคราะห์บริบทโดยรอบ เช่น เศรษฐกิจ เทคโนโลยี การเมือง สิ่งแวดล้อม และสังคม 44 การวัดผลการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ▸ 1. ความประหยัด (Economy) ▹ การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าหรือน้อยที่สุดในการดาเนินกิจกรรม ▸ 2. ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ▹ การสร้างผลผลิตในระดับที่สูงกว่าปัจจัยนาเข้าทั้งในด้านของค่าใช้จา่ ย เวลา และ คุณภาพ ▸ 3. ความมีประสิทธิผล (Effectiveness) ▹ การได้มาซึ่งผลผลิตและผลลัพธ์ในเชิงปริมาณและคุณภาพตามเป้าหมายที่วางไว้ 45 หลักธรรมาภิบาลของการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 46 องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาล 1. หลักนิติธรรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปร่งใส (Rule of Law) (Ethics) (Transparency) 4. หลักความมีส่วนร่วม 5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลักความคุ้มค่า (Participation) (Accountability) (Value for Money) 47 หลักการบริหารแบบ 4M 48 ปัจจัยการบริหาร 4M 1. คน 2. งบประมาณ 3. วัสดุอุปกรณ์ 4. การจัดการ (Man) (Money) (Materials) (Management) 49 3 กระบวนการบริหารสถานศึกษา และการบริหารการศึกษา กระบวนการบริหาร POSDC ของ PDCA ของ POCCC ของ Harold D. Edwards W. Henri J. Fayol Koontz Deming 1 3 5 2 4 6 POSDCoRB POLC ของ กระบวนการตัดสินใจ ของ Luther Louis A. Allen ของ Warren R. Gulick และ Plunkett และ Lyndall Urwick Raymond F. Attner 51 กระบวนการบริหาร POCCC ของ Henri J. Fayol ▸ 1. การวางแผน (Planning) ▸ 2. การจัดการองค์กร (Organizing) ▸ 3. การสั่งการ (Commanding) ▸ 4. การประสานงาน (Coordination) ▸ 5. การควบคุม (Controlling) 52 กระบวนการบริหาร POSDCoRB ของ Luther Gulick และ Lyndall Urwick ▸ 1. การวางแผน (Planning) ▸ 2. การจัดองค์การ (Organizing) ▸ 3. การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน (Staffing) ▸ 4. การสั่งการ (Directing) ▸ 5. การประสานงาน (Co–Ordinating) ▸ 6. การรายงาน (Reporting) ▸ 7. การงบประมาณ (Budgeting) 53 กระบวนการบริหาร POSDC ของ Harold D. Koontz ▸ 1. การวางแผน (Planning) ▸ 2. การจัดองค์การ (Organizing) ▸ 3. การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน (Staffing) ▸ 4. การสั่งการ (Directing) ▸ 5. การควบคุม (Controlling) 54 กระบวนการบริหาร POLC ของ Louis A. Allen ▸ 1. การวางแผน (Planning) ▸ 2. การจัดองค์การ (Organizing) ▸ 3. ภาวะผู้นา (Leading) ▸ 4. การควบคุม (Controlling) 55 กระบวนการบริหาร PDCA ของ Edwards W. Deming วงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA 56 กระบวนการตัดสินใจ ของ Warren R. Plunkett และ Raymond F. Attner ▸ 1. การระบุปัญหา (Define the Problem) ▸ 2. การระบุข้อจากัดของปัจจัย (Identify Limiting Factors) ▸ 3. การพัฒนาทางเลือก (Development Potential Alternatives) ▸ 4. การวิเคราะห์ทางเลือก (Analyze the Alternatives) ▸ 5. การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (Select the Best Alternatives) ▸ 6. การนาผลการตัดสินใจไปปฏิบัติ (Implement the Decision) ▸ 7. การสร้างระบบควบคุมและประเมินผล (Establish a Control and Evaluation System) 57 คาถามทบทวน ▸ 1. จงสรุปทฤษฎีการบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษาพอสังเขป ▸ 2. จงอธิบายหลักการบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษาที่สนใจมา 1 หลักการ ▸ 3. จงสรุปจุดเด่นของกระบวนการบริหาร POSDCoRB เทียบกับกระบวนการบริหาร สถานศึกษาและการบริหารการศึกษาอื่น 58 กิจกรรม ▸ 1. หากท่านได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้บริหารการศึกษาท่านจะนา ทฤษฎีทางการบริหารใดมาประยุกต์ใช้เพื่อให้การบริหารจัดการองค์การมี ประสิทธิภาพ ▸ 2. จงยกตัวอย่างองค์การที่บริหารงานอย่างโดดเด่นและประสบความสาเร็จใน ปัจจุบันมา 1 องค์การ พร้อมทัง้ อธิบายหลักการบริหารที่องค์การนั้นนามาใช้ ▸ 3. ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจของนักทฤษฎีอื่น ๆ พร้อมทั้ง อธิบายแนวทางในการนาไปใช้ในสถานศึกษา ▸ 4. อภิปรายการนาหลักธรรมาภิบาล 6 ประการมาประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน บุคคล 59 ขอบคุณ ถาม-ตอบประเด็นข้อสงสัย 60

Use Quizgecko on...
Browser
Browser