เนื้อหาที่ 1 PDF

Document Details

ExquisiteSeaborgium

Uploaded by ExquisiteSeaborgium

Burapha University

Tags

managerial economics Introduction to Managerial Economics economics business management

Summary

This document provides an introduction to managerial economics, covering topics such as managerial economics, basic business administration knowledge, basic economics knowledge, and macroeconomic variables related to managerial economics.

Full Transcript

..... เนื้อหา ที่ 1..... ความรู้ เบื้องต้ นเกีย่ วกับเศรษฐศาสตร์ การจัดการ (Introduction to Managerial Economics) มีหัวข้ อ ดังนี้ 1. เศรษฐศาสตร์ การจัดการ 2. ความรู้ เบื้องต้ นเกีย่ วกับบริหารธุรกิจ 3. ความรู้ เบื้องต้ นเกีย่ วกับ...

..... เนื้อหา ที่ 1..... ความรู้ เบื้องต้ นเกีย่ วกับเศรษฐศาสตร์ การจัดการ (Introduction to Managerial Economics) มีหัวข้ อ ดังนี้ 1. เศรษฐศาสตร์ การจัดการ 2. ความรู้ เบื้องต้ นเกีย่ วกับบริหารธุรกิจ 3. ความรู้ เบื้องต้ นเกีย่ วกับเศรษฐศาสตร์ 4. ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคกับเศรษฐศาสตร์ การจัดการ 1. เศรษฐศาสตร์ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ + บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ การจัดการ (Managerial Economics) เป็ นการประยุกต์ ใช้ ความรู้ผสมผสาน ระหว่ างความรู้ แนวคิดและทฤษฎีของวิชาเศรษฐศาสตร์ ทวี่ ่ าด้ วยการจัดสรรทรัพยากรทีม่ ีอยู่อย่ าง จํากัด เพื่อให้ ได้ รับประโยชน์ สูงสุ ดต่ อบุคคล ธุรกิจ เศรษฐกิจและสั งคม กับความรู้ แนวคิดและทฤษฎี ด้ านการจัดการบริหารธุรกิจตลอดจนคณิตศาสตร์ และสถิติ เพื่อใช้ เป็ นเครื่ องมือในการตัดสิ นใจของ ผู้บริหาร หรื อผู้จัดการธุรกิจ เพื่อให้ องค์ กรธุรกิจได้ รับกําไรสู งสุ ด ในบางครั้งเราอาจเรียก เศรษฐศาสตร์ การจัดการอีกชื่ อว่ า เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ ซึ่งมีความหมายคล้ายกันนั่นเอง ปล.!! เป็ นการจัดสรรทรัพยากรทีม่ อี ยู่อย่ างจํากัด มาใช้ ให้ เกิดประสิ ทธิภาพ และเกิดผลกําไรสู งสุ ดขององค์ กรธุรกิจ ทั้งนีเ้ พื่อให้ ผู้บริหารได้ รับรู้ ถึงผล กระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ และหาแนวทางปรับ กระบวนการบริหารจัดการให้ ทนั ต่ อเวลา ด้ วยการนําทฤษฎี แนวคิด และวิธีการ ทางเศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ เข้ ามาใช้ ในการตัดสิ นใจแก้ปัญหาเหล่านั้น เพื่อ ท้ ายทีส่ ุ ดจะได้ บรรลุเป้าหมายขององค์ กร ธุรกิจ ดังแสดงตามภาพ ลักษณะของเศรษฐศาสตร์ การจัดการ มีลกั ษณะสํ าคัญ 6 ประการ 1. เศรษฐศาสตร์ การจัดการเกีย่ วข้ องกับการตัดสิ นใจ 2. เศรษฐศาสตร์ การจัดการเกีย่ วข้ องกับเศรษฐศาสตร์ จุลภาค 3. เศรษฐศาสตร์ การจัดการเกีย่ วข้ องกับเศรษฐศาสตร์ 4. เศรษฐศาสตร์ การจัดการเกีย่ วข้ องกับการมุ่งเน้ นการปฏิบัตจิ ริง 5. เศรษฐศาสตร์ การจัดการเกีย่ วข้ องกับการบริหารจัดการทางธุรกิจ 6. เศรษฐศาสตร์ การจัดการเป็ นสหวิชาการ วัตถุประสงค์ ของเศรษฐศาสตร์ การจัดการ เพื่อเก็บรวบรวมข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ องกับปัญหาทางธุรกิจ เช่ น ธุรกิจจะผลิตและขายอะไร (What), ผลิตและขายเมื่อไร (When), ผลิตและขายทีไ่ หน (Where), ใครจะมาขายวัตถุดิบให้ เราผลิต (Who), ผลิตและขายให้ ใคร (Whom), ทําไมถึงผลิตและขายสิ นค้ าเหล่านั้น (Why) และ ควรผลิตและขายอย่ างไร (How) เพื่อนําข้ อมูลดังกล่าวมาแก้ไขแล้วเข้ าสู่ กระบวนการวิเคราะห์ ทางเศรษฐศาสตร์ การจัดการ เพื่อตัดสิ นใจแก้ ปัญหาเหล่านั้น และนํามากําหนดเป็ นนโยบายทาง ธุรกิจเพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ ทอี่ งค์กรต้ องการ เป็ นต้ น 2. ความรู้เบื้องต้ นเกีย่ วกับบริหารธุรกิจ ธุรกิจ (Business) หมายถึง องค์ กรหนึ่งซึ่งเสนอขายสินค้ าและบริ การต่ อผู้บริโภคหรื อ ลูกค้ าเป้ าหมายขององค์ กรนั้น ๆ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อแสวงหากําไรทางธุรกิจหรื อสร้ างรายได้ ให้ กบั องค์ กร การบริหารจัดการธุรกิจ จึงหมายถึง การดําเนินงานของกลุ่มบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึน้ ไป ทีม่ าร่ วมมือกันทํากิจกรรม โดยอาศัยทรัพยากรบุคคล (Man), เงิน (Money), วัตถุดิบ (Material) และการจัดการ (Management) หรื อเรียกว่ า “ 4M ” มาเป็ นปัจจัยพืน้ ฐานในการปฏิบัตงิ านด้ าน ธุรกิจ เพื่อให้ บรรลุเป้ าหมายของธุรกิจทีก่ าํ หนดไว้ เช่ น ความอยู่รอดของธุรกิจ ผลกําไร การ เติบโตก้าวหน้ า และสนองความรับผิดชอบต่ อสั งคม สภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ หมายถึง ปัจจัยสํ าคัญทีม่ ีผลกระทบต่ อความสํ าเร็จหรื อความล้มเหลวในการดําเนินงาน ของธุรกิจ ดังนั้นธุรกิจคงมีความจําเป็ นทีจ่ ะต้ องติดตาม และวิเคราะห์ การเปลีย่ นแปลงของ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ทีจ่ ะส่ งผลกระทบในเชิงบวกและเชิงลบต่ อการดําเนินงานของธุรกิจทั้ง ในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ นั้น คือ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค นั่นเอง สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมภายในองค์ กร เป็ นสภาพแวดล้อมทีม่ ีอยู่ภายในองค์ กร องค์ กร สามารถควบคุมได้ ได้ แก่ ทรัพยากรพืน้ ฐานทางธุรกิจ อาทิ คน เครื่ องจักร อาคารสถานที่ เงินทุน วัตถุดิบ การจัดการ วัฒนธรรมองค์ กร องค์ ความรู้ และระบบการทํางานต่ าง ๆ เป็ นต้ น 2. สภาพแวดล้ อมภายนอกองค์ กร เป็ นสภาพแวดล้อมทีม่ ีอยู่ภายนอกองค์ กร องค์ กร ไม่ สามารถควบคุมได้ เช่ น นโยบายของรัฐบาล พฤติกรรมของผู้จําหน่ ายวัตถุดิบ พฤติกรรมของ คู่แข่ ง พฤติกรรมของลูกค้ า การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ /สั งคม /การเมือง รวมถึงการ เปลีย่ นแปลงความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ และการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม เป็ นต้ น 3. ความรู้เบื้องต้ นเกีย่ วกับเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ ทเี่ กีย่ วข้ องกับการจัดการครอบครัว โดยแต่ ละ ครอบครัวมีความสั มพันธ์ ผ่านการซื้อขายแลกเปลีย่ นสิ นค้ าและบริการซึ่งกันและกัน วิชาเศรษฐศาสตร์ หมายถึง วิชาทีว่ ่ าด้ วยการจัดสรรทรัพยากรทีม่ ีอยู่อย่ างจํากัดไปใช้ ในทางเลือกทีด่ ีทสี่ ุ ด (ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด) เพื่อให้ ประชาชนเกิดความพอใจมากทีส่ ุ ด (เพราะ เนื่องจากทรัพยากร ธรรมชาติมีจํากัด แต่ ในขณะทีค่ วามต้ องการของมนุษย์ มไี ม่ จํากัด นั่นเอง) เส้ นความเป็ นไปได้ ในการผลิตสิ นค้ า 2 ชนิด จากทรัพยากรทีม่ อี ยู่จํากัดชนิดเดียวกัน สั งเกตได้ ว่า ถ้ า จุด A จะผลิตได้ แค่ สินค้ า Y อย่างเดียว ส่ วนจุด D จะผลิตได้ แค่ สินค้ า X อย่างเดียว แต่ ถ้าอยากผลิตทั้ง 2 ชนิด ก็จะต้ องมีการลดหลัน่ วัตถุดบิ ทีน่ ํามาใช้ ในการผลิตต่ างกันไป เช่ น ณ จุด B ทีม่ กี ารผลิตสิ นค้ า Y>X วัตถุดบิ จะ ถูกดึงไปใช้ ในการผลิตสิ นค้ า Y สู งกว่ า X ในขณะที่ ณ จุด C ทีม่ กี ารผลิตสิ นค้ า X>Y วัตถุดบิ จะถูกดึงไปใช้ ใน การผลิตสิ นค้ า X สู งกว่ า Y โดยการผลิตสิ นค้ า 2 ชนิดทีม่ ที รัพยากรจํากัดแบบนี้ จึงส่ งผลให้ เกิดต้ นทุนค่ าเสี ย โอกาส เกิดขึน้ นั่นเอง ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ หรื อปัจจัยการผลิต (Factors of Production)ทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ทรัพยากรทางเศรษฐกิจทีใ่ ช้ เป็ นปัจจัยการผลิต เพื่อการผลิตสิ นค้ าและบริการ ซึ่งมี 4 ประเภท ได้ แก่ 1. ทีด่ ิน ทีด่ ิน/อาคาร/โรงงานทีใ่ ช้ ในการผลิตสิ นค้ าและบริการ โดยผลตอบแทน ของทีด่ ิน คือ ค่ าเช่ า (Rent) 2. แรงงาน ความคิดและกําลังกายของทรัพยากรมนุษย์ ทนี่ ําไปใช้ ในการผลิต สิ นค้ าและบริการ โดยผลตอบแทนของแรงงาน คือ ค่ าจ้ าง (Wage) 3. ทุน สิ่ งก่อสร้ าง และเครื่ องจักรทีน่ ํามาใช้ ในการผลิตสิ นค้าและบริการ โดย ผลตอบแทนของทุน คือ ดอกเบีย้ (Interest) 4. ผู้ประกอบการ บุคคลทีส่ ามารถนําปัจจัยการผลิตต่ าง ๆ มาดําเนินการผลิตสิ นค้ าและ บริการให้ มีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด โดยผลตอบแทนของผู้ประกอบการ คือ กําไร (Profit) วิชาเศรษฐศาสตร์ สามารถจําแนกขอบเขตการศึกษา ได้ 2 แขนง ดังนี้ 1. เศรษฐศาสตร์ จุลภาค 2. เศรษฐศาสตร์ มหภาค แปลว่ า “เล็ก” แปลว่ า “ใหญ่ ” เป็ นการศึกษาปัญหาและพฤติกรรม เป็ นการพิจารณาปัญหาและพฤติกรรม ทางเศรษฐกิจของสั งคมในระดับหน่ วย ทางเศรษฐกิจในระดับส่ วนรวมหรื อ ย่ อย เช่ น เศรษฐศาสตร์ ระดับประเทศ - ศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค มี 2 แขนง - ศึกษาสถานการณ์ การผลิตโดยรวมของ - ศึกษาพฤติกรรมของผู้ผลิตในตลาด ประเทศ และรายได้ ประชาชาติ - ศึกษากลไกราคา - ศึกษาระดับราคาสิ นค้ าและอัตราเงินเฟ้ อ - ศึกษาพฤติกรรมของครัวเรื อน - ศึกษาการจ้ างงานและการว่ างงาน ความ - ศึกษาพฤติกรรมของธุรกิจ ปล. อย่ างไรก็ตามทั้งเศรษฐศาสตร์ จุลภาค และมหภาค ผันผวนทีเ่ กิดขึน้ ในระบบเศรษฐกิจและวัฏ จักรธุรกิจ ต่ างก็เป็ นเครื่ องมือในการวิเคราะห์ ทมี่ ปี ระโยชน์ ต่อการ - ศึกษานโยบาลของภาครัฐบาล บริหารธุรกิจและเศรษฐกิจเป็ นอย่ างมาก เราจึงต้ องมีการ - ศึกษานโยบายการเงิน วิเคราะห์ ท้งั 2 แขนงควบคู่กนั ไป ระบบเศรษฐกิจ (Economic System) ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง การรวมตัวกันเป็ นกลุ่มของหน่ วยเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบไป ด้ วย บุคคล ครัวเรื อน หน่ วยธุรกิจ และสถาบันทางเศรษฐกิจทีท่ าํ หน้ าทีเ่ ฉพาะด้ านในทาง เศรษฐกิจ โดยแบ่ งแยกงานกันทําตามความถนัดภายใต้ ระเบียบกฎเกณฑ์ เดียวกัน เพื่อตอบสนอง ความต้ องการของสมาชิกในสั งคม และตอบพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจว่ าจะผลิตสิ นค้ าและบริการ อะไร ผลิตอย่ างไร และผลิตเพื่อใคร รวมถึงจะมีการจําหน่ ายจ่ ายแจกสิ นค้ าและบริการอย่ างไร เพื่อให้ ไปถึงมือผู้บริโภคอย่ างมีประสิ ทธิภาพ ส่ วน หน่ วยธุรกิจ หมายถึง หน่ วยงานทีม่ ีอยู่ในระบบเศรษฐกิจ จะทําหน้ าทีเ่ กีย่ วกับ กิจกรรมทีส่ ํ าคัญทางเศรษฐกิจ ได้ แก่ การผลิต การบริโภค และการแจกจ่ ายสิ นค้ าและบริการ โดย หน่ วยเศรษฐกิจ ประกอบด้ วย 1. หน่ วยครัวเรื อน 2. หน่ วยธุรกิจ 3. หน่ วยรัฐบาล 1. หน่ วยครัวเรื อน หมายถึง หน่ วยเศรษฐกิจทีป่ ระกอบไปด้ วยบุคคลตั้งแต่ 1 คนขึน้ ไป มีการตัดสิ นใจใน การใช้ ทรัพยากรทางเศรษฐกิจหรื อเงิน เพื่อให้ เกิดประโยชน์ แก่ ตนเองมากทีส่ ุ ด ครัวเรื อนมีบทบาท เป็ นทั้ง 1. เจ้ าของปัจจัยการผลิต เป้าหมาย คือ มีรายได้ สูงสุ ดจากการขายปัจจัยการผลิต และ 2. ผู้บริโภค เป้าหมาย คือ ความพึงพอในสู งสุ ดจากการซื้อสิ นค้ า และบริการ เพื่อตอบสนองความต้ องการ ของสมาชิกในครัวเรื อน 2. หน่ วยธุรกิจ หมายถึง บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลทีม่ บี ททบาทในการผลิตและบริการสิ นค้ า เพื่อตอบสนอง ความต้ องการของผู้คนในสั งคม ธุรกิจมีบทบาท เป็ นทั้ง 1. ผู้ผลิตสิ นค้ าและบริการ เป้าหมาย คือ กําไรสู งสุ ดจากการผลิตและขาย และ 2. ผู้ขายสิ นค้ าและบริการ สิ นค้ าและบริการ 3. หน่ วยรัฐบาล หมายถึง หน่ วยงานของรัฐและส่ วนราชการต่ าง ๆ ทีจ่ ัดขึน้ เพื่อดําเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจของรัฐบาล มุ่งประโยชน์ เพื่อความอยู่ดี กินดีของประชาชนในครัวเรื อน หน่ วยงานภาครัฐทําหน้ าทีเ่ ชื่ อม ความสั มพันธ์ ระหว่ างหน่ วยครัวเรื อนและหน่ วยธุรกิจ ผู้ผลิต / ผู้บริโภค / เจ้ าของปัจจัยการผลิต สร้ างปัจจัยพืน้ ฐานด้ านสาธารณูปโภค (บริการไฟฟ้ า / นํา้ ประชา / โทรศัพท์ ) ให้ แก่ ครัวเรื อนและหน่ วยธุรกิจ หน้ าทีข่ อง จัดหารายได้ โดยการจัดเก็บภาษีจาก หน่ วยรัฐบาล ประชาชน เพื่อนํามาพัฒนาประเทศ สร้ างปัจจัยพืน้ ฐานด้ านสาธารณูปการ (การซ่ อม / สร้ าง / บํารุ งถนน ฯลฯ) ให้ แก่ ครัวเรื อนและหน่ วยธุรกิจ รักษาความสงบเรียบร้ อยของบ้ านเมือง / ปกป้ องประเทศ ปัจจุบันระบบเศรษฐกิจ สามารถแบ่ งได้ 4 ระบบ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 3. ระบบสั งคมนิยม ระบบเศรษฐกิจ มี 4 ระบบ 2. ระบบคอมมิวนิสต์ 4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ปล. ประเทศไทยใช้ ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ภาคเอกชนจะเป็ นผู้ตดั สิ นใจหลักในการผลิต สิ นค้ าและบริการ รัฐบาลเพียงแค่ จะเข้ ามาดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในบางธุรกิจ และแทรกแซง กลไกราคาในบางช่ วงเท่ านั้น 1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็ นระบบเศรษฐกิจทีใ่ ห้ เสรีภาพแก่หน่ วยธุรกิจ (ภาคเอกชน) และหน่ วยครัวเรื อน (ภาคประชาชน) มากกว่ าระบบเศรษฐกิจอื่น ๆ ให้ เสรีภาพแก่ภาคเอกชน และภาคประชาชน รัฐบาลไม่ เข้ าไปควบคุม / แทรกแซงกิจกรรมทางธุรกิจของเอกชน ระบบเศรษฐกิจ หน่ วยธุรกิจมีเสรีภาพในการผลิตสิ นค้ าและบริการ ผลิตเท่ าไรก็ได้ แบบทุนนิยม ภาคเอกชนเป็ นเจ้ าของปัจจัยการผลิตและการลงทุน เอกชนสามารถแข่ งขันทางธุรกิจได้ อย่ างเต็มที่ เพื่อให้ ได้ มาซึ่งผลกําไร 2. ระบบคอมมิวนิสต์ เป็ นระบบเศรษฐกิจทีต่ รงข้ ามกับระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมโดยสิ้นเชิง รัฐบาลเป็ นเจ้ าของทรัพย์ สินทุกอย่ าง ระบบ เอกชนไม่ มสี ิ ทธิ์เป็ นเจ้ าของทรัพย์สินใด ๆ คอมมิวนิสต์ รัฐบาลเข้ ามาควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมด ว่ าต้ องผลิตเท่ าไร รัฐบาลเป็ นผู้วางแผนและควบคุมการผลิตเองโดยสมบูรณ์ 3. ระบบสั งคมนิยม เป็ นระบบเศรษฐกิจทีอ่ ยู่ตรงกลางระหว่ างระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมกับระบบ คอมมิวนิสต์ รัฐบาลจะครอบครองปัจจัยการผลิตในภาคอุตสาหกรรมขั้นพืน้ ฐานทั้งหมด รัฐบาลเป็ นผู้วางแผนและควบคุมการผลิต ว่ าต้ องผลิตอะไร เท่ าไร อย่ างไร ระบบสั งคม รัฐบาลไม่ ได้ ต้องการแสวงหากําไร แต่ ต้องการลดช่ องว่ างทางรายได้ ในสั งคม นิยม สร้ างความเป็ นธรรมในทางเศรษฐกิจให้ แก่ ประชาชน จึงจํากัดเสรีภาพของเอกชน รัฐบาลให้ เสรีภาพแก่ หน่ วยครัวเรื อนบ้ าง ในการเลือกอาชีพ เลือกบริโภคสิ นค้ า/บริการ หน่ วยธุรกิจมีเสรีภาพและกรรมสิ ทธิ์ถือครองทรัพย์ สินส่ วนตัว / ปัจจัยการผลิต ที่ รัฐบาลอนุญาตได้ ผสมผสานระหว่ าง ระบบ ศก.แบบทุนนิยม + สั งคมนิยม 4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็ นระบบเศรษฐกิจทีร่ ัฐบาลเข้ าไปมีส่วนร่ วมกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศ หลายด้ าน เพื่อให้ เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และความเป็ นธรรมทางเศรษฐกิจและสั งคม รัฐบาลเข้ ามามีส่วนร่ วมในกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การศึกษา รัฐบาลมีบทบาทในการรักษาความมัน่ คงภายในและการป้ องกันประเทศ ระบบเศรษฐกิจ รัฐบาลเข้ ามามีส่วนร่ วมกับอุตสาหกรรมบางประเภท เช่ น อุตสาหกรรมปิ โตรเลียม แบบผสม หน่ วยธุรกิจภาคเอกชนยังเป็ นผู้ดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็ นส่ วนใหญ่ ว่ าจะ ผลิตอะไร ผลิตเท่ าไร ผลิตอย่ างไร เป็ นระบบเศรษฐกิจทีใ่ ช้ กลไกราคา เป็ นตัวกําหนดราคาสิ นค้ าและบริการ หน่ วยธุรกิจและครัวเรื อนยังมีเสรีภาพในการเลือกอาชีพ/ ถือครองทรัพย์ สินและ ประเทศไทยใช้ ระบบนี้ ปัจจัยการผลิต ได้ ความต่ างระหว่ างสิ นค้ าเอกชน (Private goods) กับสิ นค้ าสาธารณะ (Public goods) สิ นค้ า มีคุณสมบัติ 2 ประการ สิ นค้ า มีคุณสมบัติ 2 ประการ 1. เป็ นคู่แข่ งในการบริโภค สาธารณะ 1. ไม่ เป็ นคู่แข่ งในการบริโภค เอกชน (หากเราบริโภคสิ นค้ าและบริการนั้น (หากเราบริโภคสิ นค้ าและบริการนั้น แล้ว ทําให้ คนอื่นมีสินค้ าและบริการ แล้ว ไม่ ทาํ ให้ คนอื่นมีสินค้ าและบริการ ลดน้ อยลง เช่ น ช่ วงโควิด-19 แมสขาด ลดน้ อยลง เราใช้ เยอะ ก็ไม่ กระทบคน ตลาด เพราะคนไหนซื้อก่ อน=ได้ อื่น เช่ น ฟรีทวี ี / ถนนทางหลวง) ก่อน) 2. แบ่ งแยกการบริโภคออกจากกันไม่ ได้ 2. การแบ่ งแยกการบริโภคออกจากกัน ผู้บริโภคสามารถบริโภคสิ นค้ าร่ วมกับ ผู้บริโภคไม่ สามารถบริโภคร่ วมกับ ผู้อื่นได้ (เช่ น ใช้ ถนน ก็ต้องใช้ ร่วมกัน) ผู้อื่นได้ (ซื้อแล้ วเป็ นเราของเรา ใช้ เอง กินเอง) กระแสการไหลเวียนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หน่ วยเศรษฐกิจ 2 หน่ วยทีส่ ํ าคัญ ได้ แก่ หน่ วยครัวเรื อน และหน่ วยธุรกิจ โดยทําหน้ าทีเ่ ป็ นทั้ง 1. ผู้บริโภค หรื อผู้ซื้อ และ 2. ผู้ผลิตหรื อผู้ขาย ในตลาดธุรกิจทีส่ ํ าคัญ 2 ตลาด ซึ่งได้ แก่ 1. ตลาดสิ นค้ าและบริการ/ตลาด ผลผลิต และ 2. ตลาดทรัพยากรทางเศรษฐกิจ/ตลาดปัจจัยการผลิต (ปัจจัยการผลิต ได้ แก่ แรงงาน ทุน ทีด่ นิ และวัตถุดบิ ) ซึ่งเป็ นการกระทําร่ วมกันของหน่ วยครัวเรื อนและหน่ วยธุรกิจนั่นเอง สิ นค้ าถูกขาย ผู้ซื้อ ตลาดสิ นค้ าและบริการ สิ นค้ า (หน่ วยครัวเรื อน) ทําการผลิต ผู้ซื้อทําหน้ าทีข่ ายปัจจัยการผลิต ตลาดปัจจัยการผลิต ผู้ผลิต ปัจจัยการ (หน่ วยธุรกิจ) ผลิต ปัจจัยการผลิตถูกขาย กระแสการไหลเวียนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภาพกระแสการไหลเวียนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจทีไ่ ม่ มรี ัฐบาลเข้ ามาเกีย่ วข้ อง และไม่ มกี ารติดต่ อค้ าขายกับต่ างประเทศ กระแสการไหลเวียนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภาพกระแสการไหลเวียนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจทีไ่ ม่ รัฐบาลเข้ ามาเกีย่ วข้ อง และมีการติดต่ อค้ าขายกับต่ างประเทศ 4. ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคกับเศรษฐศาสตร์ การจัดการ ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคมีหลายตัวแปรทีม่ ีการรายงานผลต่ อสาธารณะ โดย หน่ วยงานภาครัฐและหน่ วยงานภาคเอกชน เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลในการปรับตัวเพื่อรองรับการ เปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบันและในอนาคต คําศัพท์ ทคี่ วรรู้ !! ถ้ าเศรษฐกิจมีการขยายตัวตํ่า/ติดลบ รัฐจะใช้ นโยบายการเงินแบบผ่ อนคลาย โดย นโยบายการคลังแบบขาดดุล เพิม่ ปริมาณเงินเข้ าไปในระบบเศรษฐกิจผ่ านการให้ สินเชื่ อของสถาบันการเงิน รายจ่ ายของรัฐ สู งกว่ าภาษีทเี่ ก็บได้ (เน้ นดอกเบีย้ ตํ่า) เพื่อกระตุ้นการลงทุนและการบริโภค ถ้ าเศรษฐกิจมีการขยายตัวร้ อนแรงมากเกินไป จนอาจเกิดภาวะฟองสบู่ รัฐจะใช้ นโยบายการคลังแบบเกินดุล นโยบายการเงินแบบตึงตัว โดยลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ (เน้ นดอกเบีย้ สู ง) รายจ่ ายของรัฐ ตํ่ากว่ าภาษีทเี่ ก็บได้ เพื่อลดความร้ อนแรงทางเศรษฐกิจลง วัฏจักรเศรษฐกิจ หรื อวัฏจักรธุรกิจ (Business Cycle) หมายถึง การเปลีย่ นแปลงหรื อความผันผวนขึน้ ลงซํ้า ๆ กันของกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวมที่ เกิดขึน้ อย่ างต่ อเนื่องตลอดเวลา โดยมีระยะเวลาของการผันแปรขึน้ ลงไม่ แน่ นอน ทั้งนีข้ นาดของการ เปลีย่ นแปลงขึน้ ลงก็จะแตกต่ างกันไปด้ วย เศรษฐกิจเมื่อขยายตัวถึงจุดสู งสุ ด (Peak) หรื อจุดวกกลับตอนบน (Upper Turning Point) แล้ว การชะลอตัวและการหดตัวทางเศรษฐกิจเข้ ามาแทนทีไ่ ปถึงอีกจุดหนึ่ง ซึ่งเป็ น จุดตํา่ สุ ด (Trough) หรื อจุดวกกลับตอนล่าง (Lower Turning Point) หลังจากนั้นเศรษฐกิจก็จะกลับมาฟื้ นตัว และจะขยายตัวขึน้ อีก เป็ นแบบนีไ้ ปเรื่ อย ดังภาพ วัฏจักรเศรษฐกิจ วัฏจักรเศรษฐกิจ มี 4 ระยะ ดังนี้ ระยะฟื้ นตัว/ ระยะถดถอย ขยายตัว ศก.ขยายตัวจากจุดตํา่ สุ ด ศก.ชะลอตัวลงจากจุดสู งสุ ด ความต้ องการซื้อสู ง/ราคาสิ นค้ าสู ง วัฏจักร ความต้ องการซื้อตํา่ /ราคาสิ นค้ าตํา่ จ้ างงานสู ง/ว่ างงานตํา่ จ้ างงานตํา่ /ว่ างงานสู ง เศรษฐกิจ ระยะรุ่ งเรื อง ระยะตกตํา่ ศก.ขยายตัวสู งสุ ด จนเกิดจุดสู งสุ ด ศก.ขยายตัวตํา่ สุ ด จนเกิดจุดตํา่ สุ ด ความต้ องการซื้อสู งมาก/ราคาสิ นค้ าสู งมาก /จ้ างงานสู งมาก/ว่ างงานตํา่ มาก ความต้ องการซื้อตํา่ สุ ด/ราคาสิ นค้ าตํา่ สุ ด เงินทุนหมุนเวียนมากกว่ าความต้ องการซื้อ จ้ างงานตํา่ มาก/ว่ างงานสู งมาก รัฐใช้ นโยบายการเงินเข้ มงวด เพื่อลดความร้ อนแรง รัฐใช้ นโยบายการเงินผ่ อนคลาย เพื่อศก.คึกคัก การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ แบ่ งออกเป็ น 2 ด้ าน 1. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายใน หรื อสมดุลภายใน คือ มีการจ้ างงานเต็มทีแ่ ละอัตราเงินเฟ้ ออยู่ในระดับที่ เหมาะสมไม่ สูงไม่ ตาํ่ เกินไป มีการผลิตสิ นค้ าและบริการเพียงพอต่ อความต้ องการทีแ่ ท้ จริงในระบบเศรษฐกิจ ระดับราคาเปลีย่ นแปลงไปตามกลไกราคาที่แท้ จริงในระดับราคาทีไ่ ม่ สูงไม่ ตาํ่ เกินไป ทําให้ เกิดการจ้ างงานเต็มที่ 2. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายนอก หรื อสมดุลภายนอก คือ ความสมดุลของดุลบัญชีเดินสะพัด (ไม่ ขาดดุล เดินสะพัดมากเกินไป) มีภาวะสมดุลของเศรษฐกิจทีต่ ดิ ต่ อค้ าขายกับต่ างประเทศ นั่นคือ มูลค่ าการส่ งออกสิ นค้ า และบริการไปยังต่ างประเทศ เท่ ากับหรื อใกล้เคียง กับมูลค่ าการนําเข้ าสิ นค้ าและบริการมาจากต่ างประเทศ คําศัพท์ ทคี่ วรรู้ !! การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ประเทศมีการส่ งออกสิ นค้ าและบริการน้ อยกว่ าการนําเข้ า ส่ งผลให้ เงินตรา ต่ างประเทศไหลออกโดยสุ ทธิ ทําให้ ค่าเงินบาทอ่ อนตัว การเกินดุลบัญชีเดินสะพัด ประเทศมีการส่ งออกสิ นค้ าและบริการมากกว่ าการนําเข้ า ส่ งผลให้ เงินตราใน ประเทศไหลเข้ าโดยสุ ทธิ ทําให้ ค่าเงินบาทแข็งตัว ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคทีส่ ํ าคัญในการวิเคราะห์ ธุรกิจ ทีจ่ ะกล่ าวถึง มี 6 ตัว ดังนี้ ตัวแปรที่ 1. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ ( Gross Domestic Product: GDP ) หมายถึง มูลค่ าตลาดของสิ นค้ าและบริการขั้นสุ ดท้ ายทีผ่ ลิตในประเทศในช่ วงเวลาหนึ่ง ๆ โดยไม่ คาํ นึงว่ าผลผลิตนั้นจะผลิต ขึน้ มาด้ วยทรัพยากรของประเทศใด ทั้งนีก้ ารวัด GDP สามารถวัดได้ 3 วิธี ดังนี้ 1. การวัด GDP จากด้ านผลผลิต ( Value-added Approach or Production Approach ) เป็ นการหาผลรวมมูลค่ า ของสิ นค้ าและบริการขั้นสุ ดท้ ายทีผ่ ลิตขึน้ ในประเทศไทยในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยคํานวณจากผลรวมของมูลค่ าเพิม่ ของ สิ นค้ าและบริการขั้นสุ ดท้ ายในทุก ๆขั้นตอนการผลิต 2. การวัด GDP จากรายจ่ าย ( Expenditure Approach ) ทีร่ ะบบเศรษฐกิจจ่ ายให้ ในการซื้อสิ นค้ าและบริการขั้นสุ ดท้ าย ซึ่งเป็ นผลรวมของค่ าใช้ จ่ายทีผ่ ้ ูซื้อจ่ ายเพื่อนําไปใช้ ประโยชน์ ในการอุปโภคบริโภคและการลงทุน ซึ่งคํานวณได้ จาก GDP = C + I + G + (X – M) โดยที่ C หมายถึง การบริโภคของภาคเอกชน I หมายถึง การลงทุนของภาคเอกชนและรัฐบาล G หมายถึง ค่ าใช้ จ่ายทั้งหมดของรัฐบาลทีใ่ ช้ ซื้อเพื่อการบริโภคสิ นค้ าและบริการขั้นสุ ดท้ าย รวมเงินเดือนข้ าราชการด้ วย X หมายถึง การส่ งออกสิ นค้ าและบริการจากประเทศของเราไปยังต่ างประเทศ (เราได้ รับเงินตราต่ างประเทศ) M หมายถึง การนําเข้ าสิ นค้ าและบริการของประเทศเรามาจากต่ างประเทศ (เราสู ญเสี ยเงินตราต่ างประเทศ) ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคทีส่ ํ าคัญในการวิเคราะห์ ธุรกิจ 3. การวัด GDP จากรายได้ ( Income Approach ) ทีร่ ะบบเศรษฐกิจได้ รับรายได้ จากการขายสิ นค้ าและบริการขั้น สุ ดท้ าย ซึ่งเป็ นผลรวมจากรายได้ หรื อผลตอบแทนของปัจจัยการผลิตทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ คํานวณได้ จาก GDP = ค่ าจ้ างและเงินเดือนลูกจ้ าง + รายได้ เจ้ าของธุรกิจส่ วนตัว + กําไรของบริษทั (รายได้ ผู้ถือหุ้น) + ดอกเบีย้ (รายได้ เจ้ าหนี)้ + ค่ าเช่ า (รายได้ เจ้ าของสิ นทรัพย์ ) + ภาษีธุรกิจทางอ้ อม + ค่ าเสื่ อมราคา + รายได้ สุทธิของคนต่ างชาติในประเทศ ตัวแปรที่ 2. อัตราเงินเฟ้อ ( Inflation ) คือ อัตราการเพิม่ ขึน้ ของระดับราคาสิ นค้ าและบริการโดยทัว่ ไป เมื่อเปรียบเทียบกับช่ วงเวลาเดียวกันของปี ก่ อน อัตราเงิน เฟ้อทีเ่ ป็ นบวก ไม่ ได้ หมายความว่ าสิ นค้ าทุกชนิดมีราคาสู งขึน้ อัตราเงินเฟ้ อคํานวณจาก อัตราการเปลีย่ นแปลงของดัชนีราคา ผู้บริโภค ( Consumer Price Index: CPI ) ซึ่งแยกออกเป็ น 2 รายการ คือ 1. ดัชนีราคาผู้บริโภคทัว่ ไป (Headline CPI) คือ ดัชนีคาํ นวณการเปลีย่ นแปลงของราคาสิ นค้ าและบริการทีป่ ระชาชน จําเป็ นต้ องใช้ ในการดํารงชีวติ 2. ดัชนีราคาผู้บริโภคพืน้ ฐาน (Core CPI) คือ ดัชนีราคาสิ นค้ าและบริการทัว่ ไปทีห่ ักด้ วยรายการสิ นค้ ากลุ่มอาหารสด ทีข่ นึ้ ลงตามฤดูกาล และสิ นค้ ากลุ่มพลังงาน ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคทีส่ ํ าคัญในการวิเคราะห์ ธุรกิจ ตัวแปรที่ 3. อัตราดอกเบีย้ ( Interest Rate ) คือ อัตราผลตอบแทนทีผ่ ู้ยืมเงิน ( ลูกหนี้ ) จ่ ายดอกเบีย้ สํ าหรับการใช้ เงินทีต่ นยืมมาจากผู้ให้ ยืม ( เจ้ าหนี้ ) โดยอัตรา ดอกเบีย้ จะคิดเป็ นร้ อยละของเงินต้ นทีจ่ ่ ายเป็ นจํานวนงวดต่ อเวลา โดยอัตราดอกเบีย้ ทีส่ ํ าคัญ ได้ แก่ อัตราดอกเบีย้ นโยบาย อัตรา ดอกเบีย้ เงินให้ ก้ ยู ืมระหว่ างธนาคาร อัตราดอกเบีย้ เงินฝาก และอัตราดอกเบีย้ เงินกู้ ตัวแปรที่ 4. อัตราการว่ างงาน ( Unemployment Rate ) คือ อัตราร้ อยละของสั ดส่ วนของกําลังแรงงานทีว่ ่ างงานหรื อไม่ มงี านทําต่ อกําลังแรงงานทั้งหมด ซึ่งกําลังแรงงานสํ าหรับ ประเทศไทย คือ บุคคลทีอ่ ยู่ในวัยทํางานทีม่ อี ายุต้ังแต่ 15 ปี ขึน้ ไปทีต่ ้ องการทํางานหรื อหางาน ทั้งนีไ้ ม่ รวมถึงบุคคลทีม่ อี ายุ 15 ปี ขึน้ ไป แต่ ไม่ ประสงค์ ทจี่ ะทํางานหรื อไม่ สามารถทํางานได้ เช่ น นักเรียน นักศึกษา นักบวช ผู้เจ็บป่ วย ผู้พกิ าร ผู้เกษียณอายุ ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคทีส่ ํ าคัญในการวิเคราะห์ ธุรกิจ ตัวแปรที่ 5. ดุลการชําระเงิน ( Balance of Payment ) คือ บัญชีผลสรุปของการทําธุรกรรมทางเศรษฐกิจ (Economic transaction) ทีเ่ กิดจากการค้ าและการลงทุนระหว่ าง ประเทศ ระหว่ างผู้มถี ิ่นฐานในประเทศ (Resident) กับผู้มถี ิ่นฐานในต่ างประเทศ (Nonresident) ทีท่ าํ ให้ เงินตราต่ างประเทศ ไหลเข้ าประเทศและออกจากประเทศในช่ วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรื อบัญชีรายรับรายจ่ ายของแต่ ละประเทศทีแ่ สดงกิจกรรมทาง การเงินของประเทศหนึ่งกับต่ างประเทศทั้งหมด ประกอบไปด้ วย ดุลบัญชีเดินสะพัด และดุลบัญชีเงินทุน - ดุลบัญชีเดินสะพัด คือ บัญชีทแี่ สดงการซื้อขายสิ นค้ าและบริการของประเทศไทย - ดุลบัญชีเงินทุน ประกอบ ด้ วยบัญชีทุน กับ บัญชีการเงิน ตัวแปรที่ 6. อัตราแลกเปลีย่ น ( Exchange Rate ) เป็ นอัตราทีเ่ ทียบระหว่ างค่ าของเงินสกุลหนึ่ง ( เงินสกุลท้ องถิ่น ) กับหนึ่งหน่ วยของเงินอีกสกุลหนึ่ง ( เงินสกุล ต่ างประเทศ ) เช่ น ค่ าเงินบาทกับค่ าเงินดอลลาร์ สหรัฐ กล่ าวคือ ถ้ าเงิน 1 ดอลลาร์ สหรัฐแลกเป็ นเงินบาทได้ เท่ ากับ 30 บาท แสดงว่ า ค่ าเงินไทย 1 บาท จะเท่ ากับ 0.3333 ดอลลาร์ สหรัฐ ( = 1/30 ) ในขณะเดียวกัน ค่ าเงินดอลลาร์ สหรัฐ 1 ดอลลาร์ สหรัฐ เท่ ากับ 30 บาทไทย เป็ นต้ น

Use Quizgecko on...
Browser
Browser