ชีตติวเศรษฐกิจพอเพียง PDF

Summary

This document contains study notes about Thai economics, a detailed study on the Royal Thai Philosophy of Sufficiency Economy, which was a guiding principle of the country. The notes are likely a resource for students studying this subject.

Full Transcript

1 ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น ติวทฤษฏี หัวข้อที่ 1 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระราชประวัตพิ ระบาทสมเด็จพระปรมินทร...

1 ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น ติวทฤษฏี หัวข้อที่ 1 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระราชประวัตพิ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพในราชสกุล มหิ ด ลอั น เป็ น สายหนึ่ ง ในราชวงศ์ จั ก รี ณ โรงพยาบาลเมาต์ อ อเบิ ร์ น เมื อ งเคมบริ ด จ์ รั ฐ แมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ซึ่งเหตุที่พระราชสมภพในสหรัฐ เนื่องจากพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกาลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ที่นั่น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระ บรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระ ศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า เบบี สงขลา (อังกฤษ: Baby Songkla) ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช เมื่อ ได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีแ ละสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช ๒ พระองค์ คือ สมเด็จ พระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียก พระองค์เป็นการลาลองว่า "เล็ก" พระนามภูมิ พลอดุ ลเดชนั้นพระบรมราชชนนีไ ด้รับพระราชทานทางโทรเลขจาก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ โดยทรงกากับตัวสะกด เป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทาให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้า พระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล" ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกด เป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเอง ทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลัง ซึ่งมีตัว "ย" สะกดตราบปัจจุบัน พระนามของพระองค์มีความหมายว่า  ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"  อดุ ล ยเดช - อดุ ล ย หมายความว่ า "ไม่ อ าจเที ย บได้ " และ เดช หมายความว่ า "อ านาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อานาจที่ไม่อาจเทียบได้" เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑ ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก พร้อมด้วยสมเด็จ พระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระ ปทุม ต่อมาวัน ที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๒ สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา 2 ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น คาอ่านพระนาม “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช” 3 ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น 4 สรุปตามเอกสารประชาสัมพันธ์ของ “สานักงานราชบัณฑิตยสภา” การออกพระนามตามพระสุพรรณบัฏของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช อ่านออกพระนามได้ ๓ แบบ คือ ก. อ่านตามจังหวะหนักเบาในภาษาไทยซึ่งใช้ในราชสานักมาแต่โบราณ คือ อ่านว่า ๑) พระ-บาด-สม-เด็ด-พระ-ปอ-ระ-มิน-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ-เดด มะ- หิด-ตะ-ลา-ทิ-เบด-รา-มา-ทิ-บอ-ดี จัก-กรี-นะ-รึ-บอ-ดิน สะ-หยา-มิน-ทรา-ทิ-ราด บอ- รม-มะ-นาด-บอ-พิด ๒) พระ-บาด-สม-เด็ด-พระ-ปะ-ระ-มิน-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ-เดด มะ- หิด-ตะ-ลา-ทิ-เบด-รา-มา-ทิ-บอ-ดี จัก-กรี-นะ-รึ-บอ-ดิน สะ-หยา-มิน-ทรา-ทิ-ราด บอ- รม-มะ-นาด-บอ-พิด ข. อ่านตามคาอ่านที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตแบบมีการสมาสคา อ่านว่า ๓) พระ-บาด-สม-เด็ด-พระ-ปะ-ระ-มิน-ทระ-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ-เดด ที่มา : หนังสือสานักงานราชบัณฑิตยสภา ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๙ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ “มติชน” https://www.matichon.co.th/news/336545 ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น ถาม : ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการอ่านออกพระนาม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช ได้อย่างถูกต้องตามที่สานักงานราชบัณฑิตยสภาแจ้งประชาสัมพันธ์ ก. พระ-บาด-สม-เด็ด-พระ-ปอ-ระ-มิน-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ-เดด มะ-หิด- ตะ-ลา-ทิ-เบด-รา-มา-ทิ-บอ-ดี จัก-กรี-นะ-รึ-บอ-ดิน สะ-หยา-มิน-ทรา-ทิ-ราด บอ-รม- มะ-นาด-บอ-พิด ข. พระ-บาด-สม-เด็ด-พระ-ปะ-ระ-มิน-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ-เดด มะ-หิด- ตะ-ลา-ทิ-เบด-รา-มา-ทิ-บอ-ดี จัก-กรี-นะ-รึ-บอ-ดิน สะ-หยา-มิน-ทรา-ทิ-ราด บอ-รม- มะ-นาด-บอ-พิด ค. พระ-บาด-สม-เด็ด-พระ-ปะ-ระ-มิน-ทระ-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ-เดด ง. ถูกทุกข้อ เฉลย ข้อ ง. 5 ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็นต้นมา โดยมีพระราช ดารัส ดังนี้ (ที่มา : http://www.chaipat.or.th) “...การพั ฒ นาประเทศจ าเป็ น ต้ อ งท าตามล าดั บ ขั้ น ต้ อ งสร้ า งพื้ น ฐานคื อ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และ ปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดย ลาดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) ต่อจากนั้นก็มีพระราชดารัสเรื่อยมา ดังจะกล่าวต่อไปนี้ “...คนอื่ น จะว่ า อย่ า งไรก็ ช่ า งเขา จะว่ า เมื อ งไทยล้ า สมั ย ว่ า เมื อ งไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่ เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่ จะให้เมืองไทย พออยู่พอกิน มีความสงบ และทางานตั้งจิตอธิษฐานตั้งปณิธานในทางนี้ที่ จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอ กิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็ จะยอดยิ่งยวดได้...” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗) “...เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาของเศรษฐกิจ การที่ต้องใช้ร ถไถต้องไปซื้อ เราต้องใช้ ต้องหาเงินมาสาหรับซื้อน้ามันสาหรับรถไถ เวลารถไถเก่าเราต้องยิ่งซ่อมแซม แต่เวลาใช้ นั้นเราก็ต้องป้อนน้ามันให้เป็นอาหาร เสร็จแล้วมันคายควัน ควันเราสูดเข้าไปแล้วก็ปวด หัว ส่วนควายเวลาเราใช้เราก็ต้องป้อนอาหาร ต้องให้หญ้าให้อาหารมันกิน แต่ว่ ามันคาย ออกมา ที่ มั น คายออกมาก็ เ ป็ น ปุ๋ ย แล้ ว ก็ ใ ช้ ไ ด้ ส าหรั บ ให้ ที่ ดิ น ของเราไม่ เ สี ย... ” (พระราชด ารั ส เนื่ อ งในพระราชพิ ธี พื ช มงคลจรดพระนั ง คั ล แรกนาขวั ญ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙) 6 “...เราไม่ เ ป็น ประเทศร่ ารวย เรามี พ อสมควร พออยู่ ไ ด้ แต่ไ ม่ เ ป็ นประเทศที่ ก้า วหน้า อย่ างมาก เราไม่ อยากจะเป็นประเทศก้า วหน้า อย่ างมาก เพราะถ้า เราเป็น ประเทศก้ า วหน้ า อย่ า งมากก็ จ ะมี แ ต่ ถ อยกลั บ ประเทศเหล่ า นั้ น ที่ เ ป็ น ประเทศ อุตสาหกรรมก้าวหน้า จะมีแต่ถอยหลังและถอยหลังอย่างน่ากลัว แต่ถ้าเรามีการบริหาร แบบเรียกว่าแบบคนจน แบบที่ ไม่ติดกับตารามากเกินไป ทาอย่างมีสามัคคีนี่แหละคือ เมตตากัน จะอยู่ได้ตลอดไป...” (พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔) “...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดี ที่เขาเรียกว่าเล็งผลเลิศ ก็เห็นว่า ประเทศไทย เรานี่ก้าวหน้าดี การเงินการอุตสาหกรรมการค้าดี มีกาไร อีกทางหนึ่งก็ต้อง บอกว่ า เราก าลั ง เสื่ อ มลงไปส่ ว นใหญ่ ทฤษฎี ว่ า ถ้ า มี เ งิ น เท่ า นั้ น ๆ มี ก ารกู้ เ ท่ า นั้ น ๆ หมายความว่ า เศรษฐกิจ ก้า วหน้า แล้ วก็ป ระเทศก็เ จริ ญ มี ห วังว่า จะเป็ นมหาอ านาจ ขอโทษเลยต้อ งเตือนเขาว่า จริ งตัวเลขดี แต่ว่ าถ้าเราไม่ ระมั ดระวังในความต้อ งการ พื้นฐานของประชาชนนั้นไม่มีทาง...” (พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระ ชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖) “...เดี๋ยวนี้ประเทศไทยก็ยังอยู่ดีพอสมควร ใช้คาว่า พอสมควร เพราะเดี๋ยวมีคน เห็นว่ามีคนจน คนเดือดร้อน จานวนมากพอสมควร แต่ใช้คาว่า พอสมควรนี้ หมายความ ว่า ตามอั ต ตภาพ...” (พระราชดารั ส เนื่ อ งในโอกาสวัน เฉลิ ม พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙) “...ที่เป็นห่วงนั้น เพราะแม้ในเวลา ๒ ปี ที่เป็นปีกาญจนาภิเษกก็ได้เห็นสิ่งที่ทาให้ เห็นได้ว่า ประชาชนยังมีค วามเดือดร้อนมาก และมีสิ่งที่ควรจะแก้ไขและดาเนินการ ต่อไปทุกด้าน มีภัยจากธรรมชาติกระหน่า ภัยธรรมชาตินี้เราคงสามารถที่จะบรรเทาได้ หรื อ แก้ไ ขได้ เพี ย งแต่ว่า ต้ อ งใช้ เ วลาพอใช้ มี ภั ย ที่ ม าจากจิตใจของคน ซึ่ งก็แก้ ไ ขได้ เหมือนกัน แต่ว่ายากกว่าภัยธรรมชาติ ธรรมชาตินั้นเป็น สิ่งนอกกายเรา แต่นิสัยใจคอ ของคนเป็นสิ่งที่อยู่ข้างใน อันนี้ก็เป็นข้อหนึ่งที่อยากให้จัดการให้มีความเรียบร้อย แต่ก็ไม่ หมดหวั ง...” (พระราชด ารั ส เนื่ อ งในโอกาสวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙) ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น 7 “...การจะเป็นเสือนั้นไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบ พอมีพอกินนั้น หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนี้ ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่าง นั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่ง บางอย่างผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสีย ค่ า ขนส่ ง มากนั ก...” (พระราชด ารั ส เนื่ อ งในโอกาสวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙) “...เมื่อปี ๒๕๑๗ วันนั้นได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็ แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่งถ้าทั้งประเทศ พอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเป็นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ ไ ม่ มี เ ลย...” (พระราชด ารั ส เนื่อ งในโอกาสวัน เฉลิ ม พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) “...พอเพียง มีความหมายกว้างขวางยิ่งกว่านี้อีก คือคาว่าพอ ก็พอเพียงนี้ก็พอแค่ นั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียน คนอื่นน้อย ถ้าประเทศใดมีความคิดอันนี้ มีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความ ว่าพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงนี้อาจจะมี มีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น...” (พระราชดารัส เนื่องใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) “...ไฟดับถ้ามีความจาเป็น หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เต็มที่ เรามีเครื่องปั่น ไฟก็ใช้ปั่นไฟ หรือถ้าขั้นโบราณกว่า มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแก้ปัญหาเสมอ ฉะนั้น เศรษฐกิจพอเพียงก็มีเป็นขั้นๆ แต่จะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้พอเพียงเฉพาะตัว เองร้อยเปอร์เซ็นต์นี่เป็นสิ่งทาไม่ได้ จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการช่วยกัน ถ้ามีการ ช่วยกัน แลกเปลี่ยนกัน ก็ไม่ใช่พอเพียงแล้ว แต่ว่าพอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้ คือให้ สามารถที่จะดาเนินงานได้...” (พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒) ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น 8 “...โครงการต่างๆ หรือเศรษฐกิจที่ใหญ่ ต้องมีความสอดคล้องกันดีที่ไม่ใช่เหมือน ทฤษฎีใหม่ ที่ใช้ที่ดินเพียง ๑๕ ไร่ และสามารถทีจ่ ะปลูกข้าวพอกิน กิจการนี้ใหญ่กว่า แต่ ก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน คนไม่เข้าใจว่ากิจการใหญ่ๆ เหมือนสร้างเขื่อนป่าสักก็ เป็นเศรษฐกิจพอเพี ย งเหมื อ นกั น เขานึก ว่า เป็นเศรษฐกิจสมั ย ใหม่ เป็น เศรษฐกิจ ที่ ห่างไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง แต่ที่จริงแล้ว เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...” (พระ ราชดารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒) “...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคือ ทาอะไรให้เหมาะสมกับฐานะของ ตัวเอง คือทาจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ขึ้นไปเป็นสองหมื่น สามหมื่นบาท คนชอบเอา คาพู ดของฉัน เศรษฐกิจพอเพีย งไปพู ดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพี ย ง คื อ ทาเป็น Self-Sufficiency มั น ไม่ ใ ช่ ค วามหมายไม่ ใ ช่ แ บบที่ ฉั น คิ ด ที่ ฉั น คิ ด คื อ เป็ น Self-Sufficiency of Economy เช่น ถ้าเขาต้องการดูทีวี ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจากัด เขาไม่ให้ซื้อทีวีดู เขาต้องการดูเพื่อความสนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ที่ฉันไป เขามีทีวีดู แต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถ้า Sufficiency นั้น มีทีวี เขาฟุ่มเฟือย เปรียบเสมือน คนไม่มีสตางค์ไปตัดสูทใส่ และยังใส่เนคไทเวอร์ซาเช่ อันนี้ก็เกินไป...” (พระตาหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔) “เศรษฐกิจพอเพียง” ในภาษาอังกฤษควรใช้คาใด เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เป็ น ปรั ช ญาที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงชี้ แ นว ทางการดาเนินชีวิตแก่ปวงชนชาวไทยมาตลอดตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ เพื่อให้ พสกนิกรได้ดารงชีวิตอยู่ได้อย่างยั่งยืน มั่นคง และปลอดภัย ภายใต้ความเปลี่ยนแปลง ต่างๆ ในกระแสโลกาภิวัฒน์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานความหมาย ของ เศรษฐกิจพอเพียง ไว้ว่า Sufficiency Economy ดังพระราชดารัส เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ “ ในที่นี้เราฟังเขาถามว่า เศรษฐกิจพอเพียง จะแปลเป็นภาษาอังกฤษว่าอย่างไร ก็อยากจะตอบว่ามีแล้วในหนังสือ ไม่ใช่หนังสือตาราเศรษฐกิจ แต่เป็นหนังสือพระราช ดารัสที่อุตส่าห์มาปรับปรุงให้ฟังได้ และแปลเป็นภาษาอังกฤษ เพราะคนที่ฟังภาษาไทย บางทีไม่เข้าใจภาษาไทย ต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษ จึงได้แปลเป็นภาษาอังกฤษ และ เน้นว่า เศรษฐกิจพอเพียง แปลว่า Sufficiency Economy โดยเขียนเป็นตัวหนาใน หนังสือ” (ที่มา : เว็บไซต์มูลนิธิชัยพัฒนา http://www.chaipat.or.th) 9 เหตุที่ “เศรษฐกิจพอเพียง” ใช้ภาษาอังกฤษว่า Sufficiency Economy เนื่องจากคาว่า Sufficiency Economy เป็นคาที่เกิดมาจากความคิดใหม่ และ เป็นทฤษฎีใหม่ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ จึงไม่มีปรากฏอยู่ในตารา เศรษฐศาสตร์ บางคนอาจยังสงสัยอยู่ว่า คาว่า Self-Sufficient Economy สามารถใช้แทนคา ว่า Sufficiency Economy ได้หรือไม่ หากไม่ได้มีความหมายอย่างเดียวกัน หรือใช้ได้ เหมือนกันแล้วนั้น จะมีความคล้ายคลึง หรือแตกต่างกันอย่างไร คาว่า Self-Sufficiency ตามพจนานุกรมมีความหมายว่า ความไม่ต้องพึ่งใคร และความไม่ ต้ อ งพึ่ ง ใครในนิ ย ามของพระองค์ ท่ า นนั้ น คื อ Self-Sufficiency นั้ น หมายความว่า ผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่น อยู่ได้ด้วยตนเอง (พระราช ดารัส วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) ดังนั้นเมื่อเติมคาว่า Economy เป็น Self-Sufficient Economy แล้วนั้น จะหมายความว่าเศรษฐกิจแบบพอเพียงกับตัวเอง คืออยู่ด้วยตัวเอง ได้อย่างไม่เดือดร้อน โดยไม่ต้องพึ่งพาคนอื่น แต่ทุกวันนี้ประเทศไทยเรายังเดือดร้อน ยัง ต้ อ งพึ่ ง พาคนอื่ น อยู่ แม้ จ ะช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองได้ ก็ ต าม เพราะฉะนั้ น Self-Sufficient Economy ซึ่งหมายถึงเศรษฐกิจแบบพอเพียงกับตัวเอง จึงแตกต่างจาก Sufficiency Economy ซึ่งหมายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ที่ยังคงมีการพึ่งพากันและกันอยู่ ดังพระราช ดารัส วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น (ที่มา : เว็บไซต์มูลนิธิชัยพัฒนา http://www.chaipat.or.th) “เศรษฐกิจพอเพียง” ได้ถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. ๒๕๔๐ ให้สามารถ ด ารงอยู่ ไ ด้ อ ย่ า งมั่ น คงและยั่ ง ยื น ในกระแสโลกาภิ วั ต น์ แ ละความเปลี่ ย นแปลง ต่างๆ นักวิชาการไทยหลายคนร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี ศ.เสน่ห์ จามริก, ศ.อภิชัย พันธเสน และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา เชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน ด้านสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอืน่ ๆ มาร่วมกันประมวลเพื่อ บรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ 10 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูจากองค์การสหประชาชาติ ว่าเป็น ปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิก ยึดเป็นแนวทางสู่ “การพัฒนาแบบยั่งยืน” โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลาย คนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง ที่ชี้แนวทางการดารงอยู่ และแนวทางปฏิบัติให้ประชาชนทุกระดับดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความ รอบรู้ รอบคอบ และระมั ด ระวั ง ในการวางแผนและด าเนิ น การทุ ก ขั้ น ตอน ทั้ ง นี้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ใน โลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง ตัวอย่างแนวข้อสอบ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ ๑ ถาม : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดารัสแก่ชาว ไทยในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งแต่ พ.ศ.ใด ตอบ : พ.ศ.๒๕๑๗ ถาม : ข้อต่อไปนี้ ไม่เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ก. การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน ข. สาคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ค. พอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภอย่างมาก ต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ง. การจะพอเพียงได้ ต้องมีเศรษฐกิจดีเป็นทุนเดิม เพราะระบบเศรษฐกิจที่ดี จะ ช่วยให้คุณธรรมในใจของมนุษย์สูงขึ้น เฉลย : ข้อ ง. ถาม : ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรากฏในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็น ครั้งแรกในแผนฯ ฉบับใด ตอบ : แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น 11 ถาม : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ใช้คาภาษาอังกฤษที่มีความ หมายถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ว่าอย่างไร ก. Sufficiency ข. Sufficiency Economy ค. Sustainable Development ง. Sustainable Sufficiency เฉลย : ข้อ ข. ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น “เศรษฐกิจพอเพียง” กับนิยาม “3 ห่วง 2 เงื่อนไข” ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งที่ ท รงปรั บ ปรุ ง พระราชทานเป็ น ที่ ม าของนิ ย าม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่างๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม" พื้นฐาน : ทางสายกลาง และความไม่ประมาท พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไข : ความรู้ เงื่อนไข : คุณธรรม 12 ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพียง อธิบายถึงการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ว่า เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่ บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนการใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทาต่าง ๆ ความพอประมาณ หมายถึ ง ความพอดี ที่ ไ ม่ ม ากและไม่ น้ อ ยจนเกิ น ไป ไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมี เ หตุ ผ ล หมายถึ ง การใช้ ห ลั ก เหตุ ผ ลในการตั ด สิ น ใจเรื่ อ งต่ า งๆ โดย พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก การเปลี่ยนแปลงรอบตัว ปัจจัย เหล่ า นี้จะเกิ ดขึ้นได้นั้น จะต้อ งอาศั ย ความรู้ และคุ ณ ธรรม เป็นเงื่อ นไข พื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการ ดาเนินชีวิตและการประกอบการงาน เงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่าง ๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความ อดทน ความเพียร การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญาระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถ ประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงิ นให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตาม กาลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือก็แบ่งเก็บ ออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้อ งหรือเกินกว่าปัจจัยในการดารงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัว ตามแฟชั่น การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความ ต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่ งไม่สามารถ หลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดารงชีวิต 13 ตัวอย่างแนวข้อสอบ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ ๒ ข้อสอบ โมเดลของเศรษฐกิจพอเพียงได้แก่ ก. 3 เงื่อนไข 2 ประเด็น ข. 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ค. 3 หลักการ 2 เหตุผล ง. ไม่มีข้อใดถูก เฉลย ข้อ ข. ข้อสอบ โมเดลของเศรษฐกิจพอเพียง ข้อใดคือองค์ประกอบใน “3 ห่วง” ก. ความพอประมาณ ข. ความรู้ ค. ความมีคุณธรรม ง. ไม่มีข้อใดถูก เฉลย ข้อ ก. ข้อสอบ โมเดลของเศรษฐกิจพอเพียง “ความมีเหตุผล” หมายความว่า ก. ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ข. การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ ค. ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมั ด ระวั ง ในการด าเนิ น ชี วิ ต และการ ประกอบการงาน ง. ไม่มีข้อใดถูก เฉลย ข้อ ข. ถาม : ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งอยู่บนพื้นฐานของสิ่งใด ตอบ : ทางสายกลาง และความไม่ประมาท ถาม : ๓ ห่วง แห่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร ตอบ : ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี ถาม : “ความพอประมาณ” หมายความว่าอย่างไร ตอบ : ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและ การบริโภคที่พอประมาณ ถาม : “ความมีเหตุผล” ในปรัชญาเศรษฐิจพอเพียง หมายความว่าอย่างไร ตอบ : การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ 14 ถาม : “การมีภูมิคุ้มกันที่ดี” ในปรัชญาเศรษฐิจพอเพียง หมายความว่าอย่างไร ตอบ : การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ถาม : ๒ เงื่อนไข แห่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร ตอบ : ความรู้ คู่ คุณธรรม ถาม : “เงื่อนไข ความรู้” ในปรัชญาเศรษฐิจพอเพียง หมายความว่าอย่างไร ตอบ : ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดาเนินชีวิตและการประกอบการ งาน ถาม : “เงื่อนไข คุณธรรม” ในปรัชญาเศรษฐิจพอเพียง หมายความว่าอย่างไร ตอบ : การยึดถือคุณธรรมต่างๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุ่งต่อ ประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตัวอย่างการนาปรัชญาเศรษฐกิจไปสู่การปฏิบัติจริง (ที่มา : http://www.chaipat.or.th) ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น ๑. ทฤษฏีใหม่ “ทฤษฎีใหม่” คือ ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมของการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงที่เด่นชัด ที่สุ ด ซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ าอยู่ หัว ได้ พ ระราชทานพระราชด าริ นี้ เพื่ อเป็ น การช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรที่มักประสบปัญหาทั้งภัยธรรมชาติและปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อการทาการเกษตร ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้าได้โดยไม่เดือดร้อนและยากลาบาก นัก ความเสี่ยงที่เกษตรกร มักพบเป็นประจา ประกอบด้วย ๑. ความเสี่ยงด้านราคาสินค้าเกษตร ๒. ความเสี่ยงในราคาและการพึ่งพาปัจจัยการผลิตสมัยใหม่จากต่างประเทศ ๓. ความเสี่ยงด้านน้า ฝนทิ้งช่วง ฝนแล้ง ๔. ภัยธรรมชาติอื่นๆ และโรคระบาด ๕. ความเสี่ยงด้านแบบแผนการผลิต ๖. ความเสี่ยงด้านโรคและศัตรูพืช ๗. ความเสี่ยงด้านการขาดแคลนแรงงาน ๘. ความเสี่ยงด้านหนี้สินและการสูญเสียที่ดิน 15 ทฤษฎี ใ หม่ จึ ง เป็ น แนวทางหรื อ หลั ก การในการบริ ห ารการจั ด การที่ ดิ น และน้ า เพื่ อ การเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทฤษฎีใหม่มีขั้นตอนการดาเนินการ ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ๑. ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่ง หมายถึง - พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน และ ใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่างๆ - พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับ ครอบครัวให้เพียงพอตลอด ปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้ - พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย - พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่นๆ ๒. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจน ได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจ กันดาเนินการในด้าน (๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ย การจัดหาน้า และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก (๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่ายผลผลิต ) เมื่อมีผลผลิตแล้ ว จะต้องเตรียมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าว ร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ ราคาดีและลดค่าใช้จ่ายลงด้วย (๓) การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ) ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมี ความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้าปลา เสื้อผ้า ที่พอเพียง (๔) สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จาเป็น เช่น มี สถานีอนามัยเมื่อยามป่วยไข้ หรือมีกองทุนไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน (๕) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียนให้แก่เยาวชนของชมชนเอง (๖) สังคมและศาสนา ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็น ที่ยึดเหนี่ยว โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้น 16 ๓. ทฤษฎี ใ หม่ ขั้ น ที่ ส าม เมื่ อ ด าเนิ น การผ่ า นพ้ น ขั้ น ที่ ส องแล้ ว เกษตรกร หรื อ กลุ่ ม เกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่ง เงิ น เช่ น ธนาคาร หรือ บริษั ท ห้ างร้านเอกชน มาช่ ว ยในการลงทุ น และพั ฒ นาคุ ณภาพชี วิ ต ทั้ ง นี้ ทั้ ง ฝ่ า ยเกษตรกรและฝ่ า ยธนาคาร หรื อ บริ ษั ท เอกชนจะได้ รั บ ประโยชน์ ร่ ว มกั น กล่าวคือ เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าว บริโภคในราคาต่า (ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภค ได้ ในราคาต่ า เพราะรวมกั นซื้ อ เป็ นจ านวนมาก (เป็น ร้า นสหกรณ์ร าคาขายส่ ง) ธนาคารหรือ บริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น ตัวอย่างแนวข้อสอบ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ ๓ ถาม : “ทฤษฏีใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อสิ่งใด ตอบ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดารินี้ เพื่อเป็นการช่วยเหลือ เกษตรกรที่มักประสบปัญหาทั้งภัยธรรมชาติและปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อการทาการเกษตร ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้าได้โดยไม่เดือดร้อนและยากลาบาก นัก ความเสี่ยงที่เกษตรกร มักพบเป็นประจา ถาม : “ทฤษฏีใหม่” แบ่งพื้นที่ ที่ดินของเกษตรกรเป็นกี่ส่วน ตอบ : ๔ ส่วน ถาม : ข้อใดต่อไปนี้ คือ สูตรของทฤษฎีใหม่ ก. ๔๐ : ๓๐ : ๒๐ : ๑๐ ข. ๓๐ : ๓๐ : ๒๐ : ๒๐ ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น ค. ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐ ง. ๓๐ : ๓๐ : ๒๕ : ๑๕ เฉลย : ข้อ ค. ถาม : “ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่างๆ” พื้นที่ส่วนนี้ ตามแนวทฤษฏีใหม่ ใช้ร้อยละเท่าใดของพื้นที่ ตอบ : ร้อยละ ๓๐ ถาม : “ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อ ตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้” พื้นที่ส่วนนี้ ตามแนวทฤษฏีใหม่ ใช้ร้อยละเท่าใดของพื้นที่ ตอบ : ร้อยละ ๓๐ 17 ถาม : “ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน หาก เหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย” พื้นที่ส่วนนี้ ตามแนวทฤษฏีใหม่ ใช้ร้อยละเท่าใดของพื้นที่ ตอบ : ร้อยละ ๓๐ ถาม : “เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่นๆ” พื้นที่ส่วนนี้ ตามแนวทฤษฏี ใหม่ ใช้ร้อยละเท่าใดของพื้นที่ ตอบ : ร้อยละ ๑๐ ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น ๒. โครงการในพระราชดาริ ปัจจุบันมีโครงการในพระราชดาริกว่า ๔,๔๔๗ โครงการ (ที่มา : เดลินิวส์ ฉบับวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๐ ปัจจุบันมีโครงการในพระราชดาริ อยู่จานวน ๔,๔๔๗ โครงการ ในที่นี้ขอยกตัวอย่าง ดังนี้ ๒.๑ โครงการพระราชดาริเกี่ยวกับ “ป่า” - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน จ.ฉะเชิงเทรา - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง จ.นราธิวาส - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน จ.สกลนคร - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย จ.เพชรบุรี เน้นเรื่องป่าเปียก, ป่าชายเลน - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน จ.จันทบุรี เน้นเรื่องสภาพแวดล้อม การ ฟื้นฟูป่าชายเลนและโครงการอนุรักษ์หญ้าทะเล - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ จ.เชียงใหม่ เน้นเรื่องทฤษฏีการปลูกป่า ๓ อย่าง - โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าแม่อาว จ.ลาพูน เน้นเรื่องการพัฒนาและฟื้นฟู - โครงการห้วยองคต จ.กาญจนบุรี เน้นเรื่องการฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อม (rehabilitation) - โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย จ.เพชรบุรี เน้นการรักษาสภาพ ป่าชายเลนโดยวิธีทางธรรมชาติ - โครงการพัฒนาปากน้าปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ - โครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่มน้าสาขาแม่ปิง จ.เชียงใหม่และลาพูน เน้นการปลูกป่า การทา แนวกันไฟ - โครงการพัฒนาพื้นที่ป่าขุนแม่กวง จ.เชียงใหม่ ซึ่งเป็นแหล่งต้นน้าลาธาร - โครงการศูนย์ศึกษาวิจัยธรรมชาติและป่าพรุสิรินทร จ.นราธิวาส 18 ๒.๒ โครงการพระราชดาริเกี่ยวกับ “ดิน” - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จ.ฉะเชิงเทรา - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จ.นราธิวาส - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จ.เพชรบุรี - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จ.เชียงใหม่ - โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มแม่อาว จ.ลาพูน - โครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม จ.ราชบุรี - โครงการทดลองแก้ปัญหาดินเปรี้ยว จ.นครนายก - แนวพระราชดาริ "แกล้งดิน" - แนวพระราชดาริเกี่ยวกับการนา "หญ้าแฝก" มาใช้ป้องกันการพังทลายของดิน - แนวพระราชดาริ "ห่มดิน" เพื่อการฟื้นฟูดินที่เสื่อมสภาพ ๒.๓ โครงการพระราชดาริเกี่ยวกับ “น้า” - โครงการห้วยโสมงอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จ.ปราจีนบุรี - โครงการพัฒนาลุ่มน้าป่าสัก จ.ลพบุรี,จ.สระบุรี - โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าแม่อาว จ.ลาพูน - โครงการห้วยองคต จ.กาญจนบุรี - โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล จ.นครนายก - โครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่มน้าสาขาแม่ปิง จ.เชียงใหม่,จ.ลาพูน - โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย จ.เพชรบุรี - โครงการน้าดีไล่น้าเสียตามคลองต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร - โครงการบาบัดน้าเสียโดยใช้พืช บึงมักกะสัน กรุงเทพมหานครร - แนวพระราชดาริ "แก้มลิง" - โครงการพระราชดาริฝนหลวง" - โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย จ.เพชรบุรี เน้นการบาบัดน้า เสียภชุมชน โดยวิธีทางธรรมชาติ - โครงการผั นน้ าเข้าที่ ส่ว นพระองค์ บริ เวณพระราชานุส าวรี ย์ส มเด็ จพระสุ ริโ ยทั ย ทุ่งมะขามหย่อง จ.พระนครศรีอยุธยา - โครงการป้องกันน้าท่วมด้วยการเบี่ยงน้า คลองลัดโพธิ์ กรุงเทพมหานคร - โครงการพัฒนาลุ่มน้าห้วยทอีน โครงการพัฒนาลุ่มน้าห้วยทอน จังหวัดหนองคาย - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรี - กังหันนาชัยพัฒนา 19 ๒.๔ โครงการพระราชดาริเกี่ยวกับ “วิศวกรรม” - โครงการทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี - โครงการสะพานพระราม ๘ - โครงการด้านการจราจร เกี่ยวกับการขยายถนนคอขวดจุดต่างๆ - ไบโอดีเซลและแก๊สโซฮอล์จากพืชของไทย - กังหันชัยพัฒนา - ฝายแม้ว หรือการจัดทาฝายชะลอน้า เพื่อฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม โครงการในพระราชดาริที่สายบริหารหรืออานวยการท้องถิ่นควรรู้ ๑.โครงการแกล้งดิน “…ให้มีการทดลองทาดินให้เปรี้ยวจัดโดยการระบายน้าให้แห้งและศึกษาวิธีการแกล้งดิน เปรี้ยว เพื่อนาผลไปแก้ปัญหาดินเปรี้ยวให้แก่ราษฎรที่มีปัญหาเรื่องนี้ในเขตจังหวัดนราธิวาสโดยให้ ทาโครงการศึกษาทดลองในกาหนด ๒ ปี และพืชที่ทาการทดลองควรเป็นข้าว…” วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดของดินจึงมี “การแกล้งดิน” ขึ้น คือ การทาให้ดินเปรี้ยวเป็นกรดจัดที่สุด ด้วยการทาให้ดินแห้งและเปียกสลับกันโดยการนาน้าเข้า แปลงทดลองและระบายน้าออกให้ดินแห้งอีกครั้งหนึ่ง สลับไปเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงจุดที่พืชไม่ สามารถเจริญงอก งามได้ จากนั้นจึง หาวิธีการปรับปรุงดินดังกล่าวให้สามารถปลูกพืชได้ ผลการทดลอง จากการทดลองแกล้งดิน ทาให้พบวิธีปรับปรุงดินทาให้สามารถนามาทา เกษตรกรรมต่อได้ดังนี้ ใช้น้าชะล้างความเป็นกรดเพราะเมื่อดินหายเปรี้ยวจะมีค่า pH เพิ่มขึ้นหากใช้ปุ๋ย ไนโตรเจน และฟอสเฟต ก็จะทาให้พืชให้ผลผลิตได้ ใช้ปูนมาร์ลผสมคลุกเคล้ากับหน้าดิน ใช้ทั้งสองวิธีข้างต้นผสมกัน ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น 20 ๒.โครงการชั่งหัวมัน ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น Concept “มันอยู่ที่ไหนก็งอกได้” ในหลวงรั ช กาลที่ ๙ ได้ ท รงซื้ อ ที่ ดิ น มาจากราษฎรบริ เ วณอ่ า งเก็ บ น้ าหนองเสื อ รวม ประมาณ ๒๕๐ ไร่ โดยมีพระราชดาริให้ทาเป็นโครงการตัวอย่างด้านการเกษตรกรรมพันธุ์พืช เศรษฐกิจในพื้นที่อาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเดิมที่ดินบริเวณนี้แห้งแล้งมาก โดยมีชาวบ้าน นามันเทศที่ปลูกมาทูลเกล้าฯ ถวาย ท่านจึงได้ทรงมีพระราชดาริให้ปลูกแปลงทดลองมันเทศใน ที่ดินส่วนนี้ แต่เมื่อเสด็จกลับมิได้ทรงนามันหัวนั้นไปด้วย ครั้นเมื่อพระองค์เสด็จกลับมาอีก ทรง พบว่ามันหัวนั้นงอกเป็นต้น จึงมีพระราชดาริให้จัดเป็นพื้นที่เพาะปลูกพืชต่าง ๆ โดยเน้นที่พืช ท้องถิ่นของเพชรบุรี เช่น มะพร้าว, ชมพู่เพชร, มะนาว, กะเพรา, สับปะรด, ข้าวไร่พันธุ์ต่าง ๆ และ พระราชทานพันธ์มันเทศ ซึ่งนามาจากหัวมันที่ตั้งโชว์ไว้บนตาชั่งภายในห้องทรงงานที่วังไกลกังวล ให้นามาปลูกไว้ อีกทั้งยังทรงพระราชทานชื่อ “โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดาริ ” พร้อมทั้งพัฒนาให้ เป็นแหล่งท่องเที่ยว และเป็นศูนย์การเรียนด้านการปลูกพืชเกษตรในพื้นที่แห้งแล้งในปัจจุบันอีก ด้วย โดยในปัจจุบันโครงการชั่งหัวมันเป็นพื้นที่สาคัญในการศึกษาความรู้ด้านการเกษตรยั่งยืน ๓.โครงการแก้มลิง “ลิงโดยทั่วไปถ้าเราส่งกล้วยให้ ลิงจะรีบปอกเปลือก เอาเข้าปากเคี้ยว แล้วนาไปเก็บไว้ ที่แก้มก่อนลิงจะทาอย่างนี้จนกล้วยหมดหวีหรือ เต็มกระพุ้งแก้ม จากนั้นจะค่อยๆ นาออกมา เคี้ยวและกลืนกินภายหลัง” โครงการนี้ใช้แนวคิดจากการที่ลิงอมกล้วยไว้ในกระพุ้งแก้มคราวละมากๆ แล้วค่อยแบ่งมา กินที่ละน้อย “แก้มลิง” เป็นการบริหารจัดการน้าตามแนวพระราชดาริ โดยมีทั้งหมด 3 ขนาดคือ ใหญ่ กลาง และเล็ก โดยมีพระราชดาริให้จัดหาพื้นที่ลุ่ม บึง สระ เป็นที่รองรับน้าเมื่อฝนตกหนักให้นา น้าเข้ามาเก็บกักไว้ในแก้มลิงชั่วคราว น้าฝนจึงไม่ไหลลงสู่ทางระบายน้าในทันที แต่จะขังไว้ในพื้นที่ พักน้า เมื่อน้าในคลองมีสภาพปกติ จึงระบายน้าออกจากแก้มลิง ซึ่งนอกจะแก้ไขปัญหาน้าท่วม แล้วยังช่วยแก้ไขปัญหาการขาดน้าในฤดูแล้งได้ด้วย นอกจากนี้โครงการแก้มลิงยังมีส่วนสาคัญในการบาบัดน้าเสีย เพราะเมื่อปล่อยน้าที่กักจาก แก้ม ลิง ลงสู่คลองต่างๆ ก็จ ะไปบ าบัด เจือ จางน้าเน่ าเสีย ให้เบาบางลง ก่ อนดัน ลงสู่ ทะเลด้ว ย ปัจจุบันมีพื้นที่แก้มลิงขนาดใหญ่อยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุงเทพ เหนือท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยกาหนดในผังการใช้ที่ดินเป็นพื้นที่เขียวลาย ไม่เหมาะกับการพัฒนา นอกจากนี้ยังมีแก้มลิงเล็ก ใหญ่กระจายอยู่ทั่ว กรุงเทพ กว่า ๒๐ จุด 21 ๔.โครงการปลูกหญ้าแฝก ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น “….ให้ใช้หญ้าแฝกในการพัฒนา ปรับปรุงบารุงดิน ฟื้นฟูดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ และแก้ปัญหาดินเสื่อมโทรม…” หลายคนอาจจะไม่รู้จัก “หญ้าแฝก” ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตระกูลหญ้ าชนิด หนึ่ง เช่นเดียวกับ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง อ้อย ซึ่งทั่วโลก สามารถพบหญ้าแฝกได้ประมาณ ๑๒ ชนิด แต่ในประเทศนั้นมีหญ้าแฝกอยู่ ๒ ชนิด ได้แก่ ๑. กลุ่มพันธุ์หญ้าแฝกลุ่ม ได้แก่ พันธุ์สุราษฎร์ธานี กาแพงเพชร ๒ ศรีลังกา สงขลา ๓ และพระราชทาน ฯลฯ ๒. กลุ่มพันธุ์หญ้าแฝกดอน ได้แก่ พันธุ์ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ร้อยเอ็ด กาแพงเพชร ๑ นครสวรรค์ และเลย เป็นต้น หญ้าแฝกเป็นหญ้าที่ขึ้นเป็นกอ หน่อเบียดกันแน่น ใบของหญ้าแฝกมีลักษณะ แคบยาว ขอบขนานปลายสอบแหลม ด้านท้องใบจะมีสีจางกว่าด้านหลังใบ มีรากเป็นระบบรากฝอยที่สาน กันแน่นยาว หยั่งลึกในดิน มีช่อดอกตั้ง ประกอบด้วยดอกขนาดเล็กดอกจานวนครึ่งหนึ่งเป็นหมัน การพั ง ทลายของหน้ า ดิ น เป็ น ปั ญ หาอั น ดั บ ต้ น ๆ ของประเทศ พระบาทสมเด็ จ พระ เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ได้พระราขทานพระราชดาริให้มีการนาหญ้าแฝกมาใช้ในการอนุรักษ์ดินและ น้า เนื่องจากจุดเด่นของหญ้าแฝกที่มีรากยาวแผ่กระจายลงดินได้เป็นแผงๆ คล้ายกาแพงช่วยกรอง ตะกอนดินและรักษาหน้าดินได้ดี และปรับปรุงสภาพพื้นที่เสื่อมโทรม นอกจากนี้หญ้าแฝกยังเป็น พืชมหัศจรรย์ทุกส่วนของลาต้นสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น ทาวัสดุมุงหลังคา ทาปุ๋ยหมัก เป็นต้น โดยปลูกเป็นพื้นที่เชิงลาด ๕.โครงการฝายชะลอน้า “…ให้พิจารณาดาเนินการสร้างฝายราคาประหยัด โดยใช้วัสดุราคาถูกและหาง่ายใน ท้องถิ่น เช่น แบบทิ้งหินคลุมด้วยตาข่ายปิดกั้นร่องน้ากับลาธารเล็กๆ เป็นระยะๆ เพื่อให้เก็บ กักน้าและตะกอนดินไว้บางส่วน โดยน้าที่กักเก็บไว้จะซึมเข้าไปในดินทาให้ความชุ่มชื้นแผ่ ขยายออกไปทั้งสองข้าง ต่อไปจะสามารถปลูกพันธุ์ไม้ป้องกันไฟ พันธุ์ไม้โตเร็ว และพันธุ์ไม้ไม่ ทิ้งใบ เพื่อฟื้นฟูที่ต้นน้าลาธารให้มีสภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นลาดับ…” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ทรงตระหนักถึงความสาคัญของการอยู่รอดของ ป่าไม้เป็นอย่างยิ่ง ทรงเสนออุปกรณ์อันเป็นเครื่องมือที่จะใช้ประโยชน์ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่า ไม้ที่ได้ผลดียิ่งกล่าวคือ ปัญหาสาคัญที่เป็นตัวแปรแห่งความอยู่รอดของป่าไม้นั้น น้า คือสิ่งที่ขาด ไม่ได้โดยแท้ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวทรงแนะนาให้ใช้ฝายกั้นน้าหรือเรียกว่า Check Dam หรืออาจเรียกขานกันว่า “ฝายชะลอความชุ่มชื้น” ก็ได้เช่นกัน 22 ฝายชะลอน้าสร้างขวางทางไหลของน้าบนลาธารขนาดเล็กไว้ เพื่อชะลอการไหล ลดความ รุนแรงของกระแสน้า ลดการชะล้างพังทลายของตลิ่ง เมื่อน้าไหลช้าลง ก็มีน้าอยู่ ในลาห้วยนานขึ้น โดยเฉพาะในหน้าแล้ ง ช่ วยดักตะกอนที่ ไหลมากับ น้า ลดการตื้น เขิ นที่ป ลายน้า ทาให้ น้าใสมี คุณภาพดีขึ้น ช่วยให้ดินชุ่มชื้น ป่ามีความอุดมสมบูรณ์ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ สัตว์ป่า สัตว์น้า ได้อาศัยน้าในการดารงชีวิต คืนพืชแก่เนินเขา ภูเขาหัวโล้น ดินชื้น ป่าก็ชื้น กลายเป็นแนว กันไฟป่า ลดความรุนแรงของไฟได้ ๖.โครงการฝนหลวง ปลัดเอด ติวสอบสายบริ หาร อานวยการท้ องถิ่น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงมีพระราชดาริส่วน พระองค์ใ นเรื่องการจัด ทาฝนหลวง เพื่อบรรเทาปั ญหาขาดแคลนน้าในการเกษตร โดยมีการ ค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนหลวงขึ้น ซึ่งจะใช้ สารเคมีโปรยในท้องฟ้า จนกระทั่งไอน้าอิ่มตัวและ กลั่นตัวออกมากลายเป็นเม็ดฝน เพื่อช่วยเหลือพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดารที่ประสบปัญหาแห้ง แล้ง หรือขาดแคลนน้าเพื่อการอุปโภค บริโ ภค และการเกษตร ซึ่งมีสาเหตุมาจากความผันแปร และความคลาดเคลื่อนของฤดูกาลธรรมชาติ ทาให้บางครั้งฝนได้ทิ้งช่วงนาน พระองค์จึงทรงคิดค้น วิธีการที่ทาให้เกิดฝนตกนอกเหนือจากที่เกิดโดยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ได้ทรงกาหนดขั้นตอนของกรรมวิธีการทาฝน หลวงขึ้นเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายๆ ตามลาดับ ดังนี้ ขั้นตอนที่หนึ่ง : “ก่อกวน” เริ่มจากการใช้สารเคมีไปกระตุ้นให้มวลอากาศเกิดการลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน เพื่อให้เกิด กระบวนการชักนาไอน้า หรือ ความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิดเมฆ ทาให้กระบวนการดูดซับความชื้น ในอากาศให้กลายเป็นเม็ดน้าเกิดเร็วขึ้นกว่าธรรมชาติ และเกิดกลุ่มเมฆจานวนมาก ซึ่งเมฆเหล่านี้ จะพัฒนาเป็นเมฆก้อนใหญ่ในเวลาต่อมา ขั้นตอน ที่ สอง : “เลี้ยง ให้ อ้วน” เป็นขั้นตอนที่ต้องใช้สารเคมีในการดัดแปรสภาพอากาศเพื่อเร่งหรือเสริ มเพิ่มขนาดของ เมฆและขนาดของเม็ดน้าในก้อนเมฆ ในขณะที่กาลัง ก่อตัวเจริญเติบโต ซึ่งเป็นระยะสาคัญมากใน การปฏิบัติการฝนหลวง เพราะปฏิกิริยาเหล่านี้เป็นปัจจัยเร่งกระบวนการชนกันและรวมตัวกันของ เม็ดน้า ส่งผลให้เม็ดน้าขนาดใหญ่จานวนมากเกิดขึ้นในก้อนเมฆ และยอดเมฆพัฒนาตัวสูงขึ้น ขั้นตอน ที่ สาม : “โจมตี” เป็ นขั้ นตอนสุด ท้ าย ซึ่ งสามารถทาได้ หลายวิ ธี โดยมี เป้ า หมายคือ การดัด แปลงสภาพ อากาศเพื่อเร่งให้เมฆ หรือ กลุ่มเมฆฝนมี ความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็น ฝนได้ 23 เศรษฐกิจพอเพียง กับ การพัฒนาที่ยั่งยืน ปรั ช ญาเศรษฐกิจ พอเพี ย งนั้น เป็น แนวทางการดารงชีวิ ตและปฏิ บัติต นของ ประชาชนทุกระดับ โดยยึดแนวทางการพัฒ?

Use Quizgecko on...
Browser
Browser