Document Details

CompliantSelkie8339

Uploaded by CompliantSelkie8339

โรงเรียนนาคประสิทธิ์

Tags

real numbers mathematics algebra number theory

Summary

This document covers various topics related to real numbers, including different types of real numbers, properties of equality, properties of addition and multiplication, polynomials, factorization of polynomials, linear equations, inequalities, absolute values, and equations and inequalities containing absolute values. It also features exercises (แบบฝึกหัด) and examples, potentially from an O-NET exam (based on the phrases 'O-NET 56/3' and 'O-NET 52/5').

Full Transcript

จำนวนจริ ง 1 May 2019 สารบัญ จำนวนชนิดต่ำงๆ...................................................................................................................................................................... 1 สมบัติกำรเท่ำกัน................................................................

จำนวนจริ ง 1 May 2019 สารบัญ จำนวนชนิดต่ำงๆ...................................................................................................................................................................... 1 สมบัติกำรเท่ำกัน...................................................................................................................................................................... 5 สมบัติกำรบวกและคูณ............................................................................................................................................................ 7 พหุนำม..................................................................................................................................................................................... 9 กำรแยกตัวประกอบพหุนำม................................................................................................................................................. 13 สมกำรตัวแปรเดียว............................................................................................................................................................... 17 สมบัติกำรไม่เท่ำกัน............................................................................................................................................................... 25 ช่วง......................................................................................................................................................................................... 28 อสมกำรตัวแปรเดียว............................................................................................................................................................. 30 ค่ำสัมบูรณ์............................................................................................................................................................................. 38 สมกำร อสมกำร ค่ำสัมบูรณ์................................................................................................................................................. 41 จำนวนจริง 1 จำนวนชนิดต่ำงๆ จำนวนเต็ม (I) คือ จำนวนที่ลงตัวเป็ นเลขเต็มหน่วย ไม่มีสว่ นทีเ่ ป็ นเศษส่วนหรื อทศนิยม จำนวนเต็ม (I) เต็มบวก (I + ) เต็มศูนย์ (I 0 ) เต็มลบ (I − ) จำนวนเต็ม แบ่งเป็ น 3 กลุม่ ได้ แก่  จำนวนเต็มบวก (I + ) หรื อ จำนวนนับ หรื อ จำนวนธรรมชำติ (N) ได้ แก่ 1, 2, 3,...  จำนวนเต็มศูนย์ (I 0 ) ได้ แก่ 0  จำนวนเต็มลบ (I − ) ได้ แก่ −1, −2, −3,... หมำยเหตุ: จำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สดุ คือ 1 แต่จะไม่มจี ำนวนเต็มบวกที่มำกที่สดุ จำนวนเต็มลบที่มำกที่สดุ คือ −1 แต่จะไม่มจี ำนวนเต็มลบที่น้อยทีส่ ดุ จำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ (Q) คือ จำนวนที่เขียนในรูป จำนวนเต็ม ได้ (เมื่อตัวส่วน ≠ 0) จำนวนตรรกยะ (Q) จำนวนเต็ม (I) เศษส่วน ทศนิยม รู้จบ เต็มบวก (I + ) เต็มศูนย์ (I 0 ) เต็มลบ (I − ) ทศนิยม ไม่ร้ ูจบ ซ ้ำ จำนวนตรรกยะ ประกอบด้ วย จำนวนเต็ม 5 −2  จำนวนเต็ม เพรำะเขียนเป็ น 1 ได้ เช่น 5 = 1 , −2 = 1 จำนวนเต็ม  เศษส่วน ที่อยูใ่ นรูป (หรื อทำให้ อยูใ่ นรูป) จำนวนเต็ม ได้ (เมื่อตัวส่วน ≠ 0)  ทศนิยม รู้จบ เพรำะเขียนเป็ น สิจบำนวนเต็ ม ร้ อย พัน 7 ได้ เช่น 0.7 = 10 153 , 1.53 = 100  ทศนิยม ไม่ร้ ูจบ ซ ้ำ เพรำะมีสตู รแปลงเป็ นเศษส่วนได้ เช่น 0. 3̇ = 39 , 0. 3̇26̇ = 326 999 , 12356−12 12344 0.123̇56̇ = 99900 = 99900 จำนวนอตรรกยะ (Q′) คือ จำนวนที่เขียนในรูป จจำนวนเต็ ม ำนวนเต็ม ไม่ได้ ซึง่ ประกอบด้ วย  ทศนิยม ไม่ร้ ู จบ ไม่ซ ้ำ เช่น 1.010010001… , 2.21452301520136455202…  พวกถอดรำกไม่ลงตัว เช่น √2 , √3 , √5 , √10 , …  ค่ำคงที่พิเศษบำงตัว เช่น 𝜋 , 𝑒 22 หมำยเหตุ: 𝜋 ไม่ได้ เท่ำกับ หรื อ 3.14 แต่ 𝜋 มีคำ่ ประมำณ 22 7 7 หรื อ 3.14 ค่ำ 𝜋 จริ งๆ มีคำ่ เท่ำกับ 3.141592653589793238462643383279502884197169399… หมำยเหตุ2: ควรจำค่ำประมำณของ √2 และ √3 ให้ ได้ (√2 ~ 1.414 , √3 ~ 1.732) 2 จำนวนจริง กำรบวกลบคูณหำร ของจำนวนตรรกยะและอตรรกยะ จะได้ ผลลัพธ์ดงั นี ้  จำนวนตรรกยะ บวกลบคูณหำรกัน ได้ ผลลัพธ์ เป็ นจำนวนตรรกยะเสมอ (เมื่อตัวหำร ≠ 0)  จำนวนอตรรกยะ บวกลบคูณหำรกัน มีสท ิ ธิเป็ น ตรรกยะ หรื อ อตรรกยะ ก็ได้ เช่น √2 × √3 = √6 → อต × อต = อต √2 × √8 = √16 = 4 → อต × อต = ต  ตรรกยะ บวกลบ อตรรกยะ ได้ อตรรกยะ เสมอ ตรรกยะ คูณหำร อตรรกยะ ได้ อตรรกยะ เสมอ ยกเว้ น กรณีที่จำนวนตรรกยะนันเป็ ้ นศูนย์ จำนวนจริ ง (R) คือ จำนวนที่มีอยูจ่ ริ งๆ (บนเส้ นจำนวน) ซึง่ ประกอบด้ วย จำนวนตรรกยะ และจำนวนอตรรกยะ ดังรูป จำนวนจริง (R) จำนวนตรรกยะ (Q) จำนวนอตรรกยะ (Q′ )  ทศนิยม ไม่ร้ ูจบ ไม่ซ ้ำ จำนวนเต็ม (I) เศษส่วน  พวกถอดรำกไม่ลงตัว ทศนิยม รู้จบ เต็มบวก (I + ) เต็มศูนย์ (I 0 ) เต็มลบ (I − )  ค่ำคงที่พิเศษ บำงตัว เช่น 𝜋 ทศนิยม ไม่ร้ ูจบ ซ ้ำ และเรำสำมำรถเติมเครื่ องหมำย + หรื อ − ไปบนหัว R หรื อ Q ได้  R+ หมำยถึง จำนวนจริ งที่เป็ นบวก  R− หมำยถึง จำนวนจริ งที่เป็ นลบ  Q+ หมำยถึง จำนวนตรรกยะที่เป็ นบวก  Q− หมำยถึง จำนวนตรรกยะที่เป็ นลบ หมำยเหตุ: จำนวนทุกจำนวนที่เรำรู้จกั ในชันนี ้ ้ จะเป็ นจำนวนจริงทังหมด ้ จำนวนที่ไม่ใช่จำนวนจริ ง ได้ แก่ รำกที่คขู่ องจำนวนลบ เช่น √−1 ซึง่ จะได้ เรี ยนในเรื่ องจำนวนเชิงซ้ อน แบบฝึ กหัด 1. ข้ อใดถูกต้ อง 1. −1 เป็ นจำนวนจริ ง 2. √2 เป็ นจำนวนตรรกยะ 𝜋 3. 5 เป็ นจำนวนตรรกยะ 4. 2 เป็ นจำนวนตรรกยะ 30 5. 6 เป็ นจำนวนนับ 6. 0 เป็ นจำนวนอตรรกยะ 22 7. √25 เป็ นจำนวนอตรรกยะ 8. 7 เป็ นจำนวนอตรรกยะ 9. 12.45254 เป็ นจำนวนตรรกยะ 10. 1.212121… เป็ นจำนวนอตรรกยะ 2 11. 5 เป็ นทังจ ้ ำนวนตรรกยะ และจำนวนจริ ง 12. 0 เป็ นทังจ ้ ำนวนเต็มบวก และจำนวนเต็มลบ จำนวนจริง 3 13. 1 เป็ นทังจ ้ ำนวนนับ จำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ และจำนวนจริ ง 14. 1 + √2 เป็ นจำนวนอตรรกยะ 15. √3 − √2 เป็ นจำนวนตรรกยะ 1+√2 16. √2 ∙ √18 เป็ นจำนวนอตรรกยะ 17. 3 เป็ นจำนวนอตรรกยะ 18. จำนวนนับบำงจำนวน เป็ นจำนวนอตรรกยะ 19. จำนวนอตรรกยะทุกจำนวน เป็ นจำนวนจริ ง จำนวนเต็ม 20. จำนวนตรรกยะบำงจำนวน เป็ นจำนวนเต็ม 21. ทศนิยมซ ้ำทุกตัว เขียนในรูป จำนวมเต็ม ได้ 2. จงหำค่ำของจำนวนต่อไปนี ้ (ถ้ ำมี) 1. จำนวนเต็มลบ ที่มำกที่สดุ 2. จำนวนเต็ม ที่น้อยที่สดุ 3. จำนวนเต็มบวก ที่น้อยที่สดุ ที่มำกกว่ำ 3 4. จำนวนเต็มลบ ที่น้อยที่สดุ ที่มำกกว่ำ −1 5. จำนวนเต็มลบ ที่มำกที่สดุ ที่น้อยกว่ำ 8 6. จำนวนเต็มบวก ที่มำกที่สดุ ที่มำกกว่ำ 5 7. จำนวนตรรกยะ ที่มำกที่สดุ ที่น้อยกว่ำ 2 8. จำนวนอตรรกยะ ที่มำกที่สดุ ที่น้อยกว่ำ 2 5 3. ให้ 𝐴 = √2 − 1.4 , 𝐵 = 𝜋 − 3.1 และ 𝐶 = − 1.63̇ 3 จงเรี ยงลำดับ 𝐴, 𝐵, 𝐶 จำกน้ อยไปมำก [O-NET 56/3] 4. ข้ อใดต่อไปนี ้มีจำนวนตรรกยะอยูเ่ พียงสองจำนวน [O-NET 56/2] 1. −√4 , 𝜋 − 22 7 , 1.010010001 2. 3√2 , √8 , 𝜋 2 3. 𝜋 + 1 , √16 , 0.101001000100001… 4. 119 , 1.11111… , 3 √8 5. 0.8̇ , √8 − √2 , 3√3 4 จำนวนจริง 5. ข้ อใดถูกต้ องบ้ ำง [O-NET 53/3] 1. จำนวนทีเ่ ป็ นทศนิยมไม่ร้ ูจบบำงจำนวนเป็ นจำนวนอตรรกยะ 2. จำนวนทีเ่ ป็ นทศนิยมไม่ร้ ูจบบำงจำนวนเป็ นจำนวนตรรกยะ 6. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนตรรกยะที่แตกต่ำงกัน ให้ 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจำนวนอตรรกยะที่แตกต่ำงกัน ข้ อสรุปใดต่อไปนี ้ถูกต้ องบ้ ำง [O-NET 52/5] 1. 𝑎 − 𝑏 เป็ นจำนวนตรรกยะ 2. 𝑐 − 𝑑 เป็ นจำนวนอตรรกยะ −2 7. ค่ำของ (√3 − 1) เป็ นจริ งตำมข้ อใดต่อไปนี ้บ้ ำง [O-NET 54/4] 1. เป็ นจำนวนอตรรกยะ 2. เป็ นจำนวนที่น้อยกว่ำ 1.8 8. ข้ อสรุปใดต่อไปนี ้ถูกต้ องบ้ ำง [O-NET 52/1] 1. มีจำนวนตรรกยะที่น้อยที่สดุ ที่มำกกว่ำ 0 2. มีจำนวนอตรรกยะที่น้อยที่สดุ ที่มำกกว่ำ 0 จำนวนจริง 5 สมบัติกำรเท่ำกัน จำนวนจริ ง มีสมบัติเกี่ยวกับกำรเท่ำกันอยู่ 5 ข้ อ ดังนี ้  สมบัติกำรสะท้ อน 𝑎 = 𝑎 เสมอ  สมบัติกำรสมมำตร ถ้ ำ 𝑎 = 𝑏 แล้ ว 𝑏 = 𝑎  สมบัติกำรถ่ำยทอด ถ้ ำ 𝑎 = 𝑏 และ 𝑏 = 𝑐 แล้ ว 𝑎 = 𝑐  สมบัติกำรบวกด้ วยตัวเท่ำ ถ้ ำ 𝑎 = 𝑏 แล้ ว 𝑎 + 𝑐 = 𝑏 + 𝑐  สมบัติกำรคูณด้ วยตัวเท่ำ ถ้ ำ 𝑎 = 𝑏 แล้ ว 𝑎𝑐 = 𝑏𝑐 ที่ผำ่ นมำ เรำได้ ใช้ สมบัติเหล่ำนี ้โดยไม่ร้ ูตวั เช่น ในกำรแก้ สมกำร 2𝑥 − 3 = 7 บวกด้ วยตัวเท่ำ 2𝑥 − 3 + 3 = 7+3 2𝑥 = 10 1 1 คูณด้ วยตัวเท่ำ 2𝑥 ∙ 2 = 10 ∙ 2 𝑥 = 5 แบบฝึ กหัด 1. จงบอกชื่อสมบัติที่ทำให้ กำรเท่ำกันในแต่ละข้ อต่อไปนี ้เป็ นจริ ง 1. 3 = 3 2. ถ้ ำ 𝑥−1 = 5 แล้ ว 𝑥−1+1 = 5+1 3. ถ้ ำ 𝑧 = −1 แล้ ว −1 = 𝑧 4. ถ้ ำ 𝑥 = 𝑦 + 1 และ 𝑦+1=𝑧+2 แล้ ว 𝑥 = 𝑧 + 2 5. ถ้ ำ 𝑥 = 6 แล้ ว 3𝑥 = 18 6. ถ้ ำ 𝑥 + 1 = 2𝑎 + 𝑏 และ 2𝑎 + 𝑏 = 5 แล้ ว 𝑥 + 1 = 5 𝑥 7. ถ้ ำ 𝑥 + 2 = 6 8. ถ้ ำ 2 = 3 แล้ ว 𝑥 = 6 แล้ ว 𝑥 + 2 + (−2) = 6 + (−2) 9. ถ้ ำ 𝑥+3 = 4 แล้ ว 𝑥 = 1 10. 7 × (9 − 1) = 7 × (9 − 1) 6 จำนวนจริง 11. ถ้ ำ 3(𝑥 + 1) = 6 แล้ ว 𝑥+1 = 2 12. ถ้ ำ 𝑥+𝑦 = 𝑥 แล้ ว 𝑥 = 𝑥+𝑦 2. จงเติมสมบัติทใี่ ช้ ในกำรแก้ สมกำรต่อไปนี ้ 5 − 3𝑥 = 23 1......................... 5 = 23 + 3𝑥 2......................... −18 = 3𝑥 3......................... −6 = 𝑥 4......................... 𝑥 = −6 จำนวนจริง 7 สมบัติกำรบวกและคูณ จำนวนจริ ง มีสมบัติเกี่ยวกับกำรบวกและกำรคูณอยู่ 11 ข้ อ ดังนี ้ กำรบวก กำรคูณ สมบัติปิด จำนวนจริงบวกกัน ยังคงได้ ผลลัพธ์ จำนวนจริงคูณกัน ยังคงได้ ผลลัพธ์ เป็ นจำนวนจริง เป็ นจำนวนจริง สมบัติสลับที่ 𝑎+𝑏 =𝑏+𝑎 𝑎×𝑏=𝑏×𝑎 สมบัติเปลี่ยนกลุม่ (𝑎 + 𝑏) + 𝑐 = 𝑎 + (𝑏 + 𝑐) (𝑎 × 𝑏) × 𝑐 = 𝑎 × (𝑏 × 𝑐) สมบัติกำรมีเอกลักษณ์ มีเอกลักษณ์กำรบวก คือ 0 มีเอกลักษณ์กำรคูณ คือ 1 สมบัติกำรมีอินเวอร์ ส จำนวนจริงทุกตัว มีอินเวอร์ สกำรบวก จำนวนจริงทุกตัว (ยกเว้ น 0) มีอินเวอร์ ส ที่เป็ นจำนวนจริง กำรคูณที่เป็ นจำนวนจริง สมบัติกำรแจกแจง 𝑎 × (𝑏 + 𝑐) = (𝑎 × 𝑏) + (𝑎 × 𝑐) จำนวนที่ไม่ใช่จำนวนจริ ง อำจมีหรื อไม่มีสมบัติปิด ก็ได้ เช่น จำนวนเต็ม มีสมบัติปิดกำรบวก เพรำะ ถ้ ำเรำเอำจำนวนเต็มมำบวกกัน จะยังคงได้ ผลลัพธ์เป็ นจำนวนเต็มอยู่ จำนวนคู่ มีสมบัติปิดกำรคูณ เพรำะ ถ้ ำเรำเอำจำนวนคูม่ ำคูณกัน จะยังคงได้ ผลลัพธ์เป็ นจำนวนคูอ่ ยู่ จำนวนอตรรกยะ ไม่มีสมบัติปิดกำรคูณ เพรำะ มีจำนวนอตรรกยะบำงคูค่ ณ ู กันแล้ วไม่ใช่อตรรกยะ เช่น √3 × √3 = √9 = 3 “เอกลักษณ์” หมำยถึง ตัวเลขที่ไม่มีคำ่ ไม่วำ่ เอำไปทำกับอะไรก็ได้ คำ่ เท่ำเดิม  เอกลักษณ์กำรบวก คือ 0 เพรำะ 0 + 𝑎 = 𝑎 + 0 = 𝑎  เอกลักษณ์กำรคูณ คือ 1 เพรำะ 1 × 𝑎 = 𝑎 × 1 = 𝑎 “อินเวอร์ ส” หมำยถึง ตัวตรงข้ ำม ที่จะหักล้ ำงค่ำให้ หำยไป กลำยเป็ นเอกลักษณ์ เช่น อินเวอร์ สกำรบวก ของ 2 คือ −2 เพรำะ 2 + (−2) = (−2) + 2 = 0 อินเวอร์ สกำรบวก ของ −7 คือ 7 เพรำะ (−7) + 7 = 7 + (−7) = 0 √3 √3 อินเวอร์ สกำรบวก ของ 2 คือ − 2 เพรำะ √23 + (− √23) = (− √23) + √23 = 0 อินเวอร์ สกำรบวก ของ 0 คือ 0 เพรำะ 0 + 0 = 0 + 0 = 0 1 อินเวอร์ สกำรคูณ ของ 2 คือ 2 เพรำะ 2 × 12 = 12 × 2 = 1 √3 2 อินเวอร์ สกำรคูณ ของ 2 คือ √3 เพรำะ √23 × √23 = √23 × √23 = 1 2 3 อินเวอร์ สกำรคูณ ของ − 3 คือ − 2 เพรำะ (− 23) × (− 32) = (− 32) × (− 23) = 1 อินเวอร์ สกำรคูณ ของ 0 จะหำไม่ได้ เพรำะ ไม่มีอะไรเลย ที่คณ ู กับ 0 แล้ วได้ 1 8 จำนวนจริง แบบฝึ กหัด 1. จำนวนต่อไปนี ้ มีสมบัติปิด กำรบวก และ / หรื อ กำรคูณ หรื อไม่ 1. จำนวนคู่ 2. จำนวนคี่ 3. จำนวนนับ 4. จำนวนเต็ม 5. จำนวนเต็มลบ 6. จำนวนที่หำรด้ วย 3 ลงตัว 7. จำนวนตรรกยะ 8. จำนวนอตรรกยะ 2. ข้ อใดต่อไปนี ้ ถูกต้ อง 1. 𝑥 + 𝑦 = 𝑥 + 𝑦 เป็ นจริ งตำมสมบัตกิ ำรสลับที่กำรบวก 2. 𝑥∙2 = 2∙𝑥 เป็ นจริ งตำมสมบัติกำรสลับที่กำรคูณ 3. 2 + (3 + 4) = (3 + 4) + 2 เป็ นจริ งตำมสมบัติกำรเปลีย่ นกลุม่ กำรบวก 4. จำนวนจริ งบำงจำนวน ไม่มีอินเวอร์ สกำรคูณ 5. ถ้ ำ 𝑎 เป็ นอินเวอร์ สกำรบวกของ 𝑏 แล้ ว จะได้ วำ่ 𝑏 เป็ นอินเวอร์ สกำรบวกของ 𝑎 ด้ วย 6. 𝑥 + (𝑦 ∙ 𝑧) = (𝑥 + 𝑦)(𝑦 + 𝑧) เป็ นจริงตำมสมบัติกำรแจกแจง 3. จงเติมคำตอบทีถ่ กู ต้ อง 1. อินเวอร์ สกำรบวกของ 8 คือ 2. อินเวอร์ สกำรคูณของ 2 คือ 3. อินเวอร์ สกำรบวกของ 12 คือ 4. อินเวอร์ สกำรคูณของ −2 คือ 5. อินเวอร์ สกำรบวกของ 0 คือ 6. อินเวอร์ สกำรบวกของ −1 คือ 7. อินเวอร์ สกำรคูณของ 1 คือ 8. อินเวอร์ สกำรคูณของ √2 คือ 9. อินเวอร์ สกำรบวกของ √12 คือ 10. 𝑥 อินเวอร์ สกำรคูณของ 𝑥+1 คือ 4. ข้ อสรุปใดต่อไปนี ้ถูกต้ องบ้ ำง [O-NET 52/4] 1. สมบัติกำรมีอินเวอร์ สกำรบวกของจำนวนจริงกล่ำวว่ำ สำหรับจำนวนจริ ง 𝑎 จะมีจำนวนจริ ง 𝑏 ที่ 𝑏 + 𝑎 = 0 = 𝑎 + 𝑏 2. สมบัติกำรมีอินเวอร์ สกำรคูณของจำนวนจริงกล่ำวว่ำ สำหรับจำนวนจริ ง 𝑎 จะมีจำนวนจริ ง 𝑏 ที่ 𝑏𝑎 = 1 = 𝑎𝑏 จำนวนจริง 9 พหุนำม หัวข้ อนี ้ จะทบทวนคำศัพท์ทคี่ วรทรำบในเรื่ องพหุนำม  เอกนำม คือ กำรคูณกันของ ตัวเลข กับ ตัวแปรยกกำลัง เต็มบวก หรื อ ศูนย์ เช่น 2𝑥 5 , −3𝑎4 𝑏2 , √5𝑥 3 𝑦2 𝑧 , 𝑥 2 , 6 , −𝑥 , 2−1 𝑥𝑦 , 0  “สัมประสิทธิ์” คือ ส่วนที่เป็ นตัวเลข , “ดีกรี ของเอกนำม” คือ ผลบวกของเลขชี ้กำลังของตัวแปร เอกนำม 2𝑥 5 −3𝑎4 𝑏 2 √5𝑥 3 𝑦 2 𝑧 𝑥2 6 −𝑥 2−1 𝑥𝑦 0 สัมประสิทธิ์ 2 −3 √5 1 6 −1 2 −1 0 ดีกรี 5 6 6 2 0 1 2 หำไม่ได้  บวกลบเอกนำม บวกได้ เฉพำะเอกนำมที่มชี ดุ ตัวแปรเหมือนกัน โดยให้ เอำสัมประสิทธิ์มำบวกกัน เช่น 2𝑥 5 + 3𝑥 5 = 5𝑥 5 3𝑎2 𝑏 + 𝑎2 𝑏 = 4𝑎2 𝑏 2𝑎2 𝑏 − 𝑎𝑏 2 = 2𝑎2 𝑏 − 𝑎𝑏 2 (บวกลบกันไม่ได้ เพรำะชุดตัวแปรไม่เหมือนกัน) 3 3 3−2 1 2 𝑥𝑦𝑧 2 − 𝑧 2 𝑥𝑦 = (2 − 1) 𝑥𝑦𝑧 2 = ( 2 ) 𝑥𝑦𝑧 2 = 2 𝑥𝑦𝑧 2  คูณหำรเอกนำม ให้ เอำสัมประสิทธิ์ คูณหำร สัมประสิทธิ์ และเอำตัวแปร คูณหำร ตัวแปร ได้ เลย เช่น 2𝑎2 𝑏 × 3𝑎𝑏𝑐 = 6𝑎3 𝑏2𝑐 3𝑥𝑦 2 𝑧 × 𝑎2 𝑏𝑐 = 3𝑎2 𝑏𝑐𝑥𝑦 2 𝑧 1 2 4 2 6𝑥 3 𝑦𝑧 3𝑥 2 𝑦 2 𝑥 × 3 𝑥2 = 3 𝑥4 2𝑥𝑧 3 = 𝑧2  พหุนำม คือ กำรบวกกันของเอกนำม ตังแต่ ้ 1 ตัวขึ ้นไป เช่น 2𝑥 5 + 4𝑥 + 5 , 3𝑎2 𝑏 + 𝑏2 − 2 , 6 − 3𝑥 2 , 2−3  เรำจะเรี ยกเอกนำมแต่ละตัวทีม่ ำบวกกันเป็ นพหุนำม ว่ำ “พจน์” เช่น 2𝑥 5 + 4𝑥 + 5 มี 3 พจน์ โดยพจน์แรกคือ 2𝑥 5 , พจน์ที่สองคือ 4𝑥 , พจน์ที่สำมคือ 5  ดีกรี ของพหุนำม คือ ดีกรี ของเอกนำมที่ดกี รี สงู สุดแค่พจน์เดียว พหุนำม 2𝑥 5 + 4𝑥 + 5 3𝑎2 𝑏 + 𝑏 2 − 2 6 − 3𝑥 2 2−3 ดีกรี 5 3 2 0  เรำนิยมแทน พหุนำม ด้ วยสัญลักษณ์ 𝑃(𝑥) , 𝑄(𝑥) , 𝑅(𝑥) และสัญลักษณ์ 𝑃(𝑐) จะหมำยถึง ค่ำของ 𝑃(𝑥) เมื่อแทน 𝑥 ด้ วย 𝑐 เช่น ถ้ ำให้ 𝑃(𝑥) = 2𝑥 5 + 4𝑥 + 5 จะได้ 𝑃(1) = 2(1)5 + 4(1) + 5 = 11 5 𝑃(−2) = 2(−2) + 4(−2) + 5 = −67 ถ้ ำให้ 𝑄(𝑥) = 6 − 3𝑥 2 จะได้ 𝑄(0) = 6 − 3(0)2 = 6 𝑄(1) = 6 − 3(1)2 = 3 10 จำนวนจริง  บวกลบพหุนำม ให้ บวกลบเฉพำะเอกนำมที่บวกลบกันได้ ถ้ ำบวกลบกันไม่ได้ ก็ให้ ปล่อยไว้ เหมือนเดิม เช่น (2𝑥 5 + 4𝑥 + 5) + (𝑥 5 − 𝑥 2 − 2𝑥) = 3𝑥 5 − 𝑥 2 + 2𝑥 + 5 (𝑥 2 − 2𝑥 − 1) − (2𝑥 2 − 𝑥 − 2) = 𝑥 2 − 2𝑥 − 1 − 2𝑥 2 + 𝑥 + 2 = −𝑥 2 − 𝑥 + 1  คูณพหุนำม ให้ ใช้ หลักกำรกระจำย เช่น (2𝑥 2 + 4𝑥 + 5)(𝑥 2 − 2) = 2𝑥 4 − 4𝑥 2 + 4𝑥 3 − 8𝑥 + 5𝑥 2 − 10 = 2𝑥 4 + 4𝑥 3 + 𝑥 2 − 8𝑥 − 10 สังเกตว่ำ ดีกรี ของผลลัพธ์ จะเท่ำกับ ผลรวมดีกรี ของพหุนำมทีม่ ำคูณกัน เสมอ  หำรพหุนำม ให้ ตงหำรยำว ั้ 𝑥−4 เช่น (𝑥 2 − 2𝑥 + 5) ÷ (𝑥 + 2) 𝑥+2 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 โดยจะได้ ตัวตัง้ = (ตัวหำร × ผลหำร) + เศษ 𝑥 2 + 2𝑥 −4𝑥 + 5 นัน่ คือ 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 = (𝑥 + 2)(𝑥 − 4) + 13 −4𝑥 − 8 13 สังเกตว่ำ ดีกรี ของผลลัพธ์ จะเท่ำกับ ดีกรี ตวั ตัง้ − ดีกรี ตวั หำร เสมอ  กำรเทียบสัมประสิทธิ์ ทำได้ เมื่อ พหุนำมมีคำ่ เท่ำกัน ไม่วำ่ จะแทน 𝑥 ด้ วยอะไร เช่น ถ้ ำ 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 = 2𝑥 3 − 3𝑥 2 + 5 สำหรับ ทุกๆ 𝑥 เรำจะได้ ทนั ทีวำ่ 𝑎 = 2 , 𝑏 = −3 , 𝑐 = 0 , 𝑑 = 5 แบบฝึ กหัด 1. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) = 𝑥 2 − 1 , 𝑄(𝑥) = 3𝑥 + 2 , 𝑅(𝑥) = 𝑃(𝑥) − 𝑄(𝑥) จงหำค่ำของ 𝑅(2) 2. ถ้ ำ 𝑃(𝑥) หำรด้ วย 2𝑥 − 1 ลงตัว ได้ ผลลัพธ์ 𝑥+2 แล้ ว จงหำ 𝑃(𝑥) 3. ถ้ ำ 𝑃(𝑥) หำรด้ วย 𝑥2 − 1 ได้ ผลลัพธ์ 2𝑥 + 3 เศษ 𝑥−1 แล้ ว จงหำ 𝑃(𝑥) จำนวนจริง 11 4. ถ้ ำ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = (2𝑥 + 1)(2𝑥 − 3) แล้ ว จงหำค่ำของ 𝑎+𝑏+𝑐 5. ถ้ ำ (𝑎𝑥 + 2)(𝑥 − 𝑏) = 3𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 10 แล้ ว จงหำค่ำของ 𝑎+𝑏+𝑐 6. ถ้ ำ (𝑎𝑥 + 𝑏)2 = 4𝑥 2 − 12𝑥 + 𝑐 และ 𝑎>0 แล้ ว จงหำค่ำของ 𝑎+𝑏+𝑐 2 7. ถ้ ำ (𝑃(𝑥)) = 𝑥 2 + 6𝑥 + 𝑐 แล้ ว จงหำค่ำ 𝑐 12 จำนวนจริง 8. กำหนดให้ 𝑃(𝑥) = 2𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 3 ถ้ ำ 𝑃(𝑥) = (𝑥 2 + 1)𝑄(𝑥) แล้ ว จงหำค่ำ 𝑃(1) 9. ถ้ ำ 𝑎 , 𝑏 , 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจำนวนจริงซึง่ (𝑥 − 1)2 (𝑎𝑥 + 𝑏) = 𝑐𝑥 3 + 𝑑𝑥 + 4 ทุกจำนวนจริง 𝑥 แล้ ว 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 54/25] จำนวนจริง 13 กำรแยกตัวประกอบพหุนำม “กำรแยกตัวประกอบ” คือ กำร “เขียนให้ อยูใ่ นรูปผลคูณ” ของพหุนำมย่อยๆ เช่น 𝑥 2 + 2𝑥 − 3 = (𝑥 + 3)(𝑥 − 1) เป็ นต้ น เทคนิคกำรแยกตัวประกอบ จะมีหลำยวิธี ดังนี ้ 1. ดึงตัวร่วม ดูวำ่ แต่ละพจน์ มีอะไรบ้ ำงที่มเี หมือนๆกัน แล้ วดึงสิง่ ที่มใี นทุกๆพจน์ออกมำ เช่น 3𝑎2 𝑏𝑐 − 12𝑎2 𝑏2 + 6𝑎𝑏2 𝑐 = (3𝑎𝑏)(𝑎𝑐 − 4𝑎𝑏 + 2𝑏𝑐) 2𝑥 4 − 4𝑥 3 + 3𝑥 2 = (𝑥 2 )(2𝑥 2 − 4𝑥 + 3) 2. จัดหมูด่ งึ ตัวร่วม คือกำรจัดกลุม่ เป็ นกลุม่ ย่อยๆ ทีล่ กั ษณะคล้ ำยกัน ดึงตัวร่วมแต่ละกลุม่ ย่อย ให้ เกิดตัวร่วมในทุกกลุม่ ย่อย เช่น 𝑥 3 − 2𝑥 2 + 3𝑥 − 6 = (𝑥 3 − 2𝑥 2 ) + (3𝑥 − 6) = 𝑥 2 (𝑥 − 2) + 3(𝑥 − 2) = (𝑥 2 + 3)(𝑥 − 2) 𝑥 3 − 𝑥 2 − √3𝑥 + √3 = (𝑥 3 − 𝑥 2 ) − (√3𝑥 − √3) = 𝑥 2 (𝑥 − 1) − √3(𝑥 − 1) = (𝑥 2 − √3)(𝑥 − 1) 3. ใช้ สตู ร น2 + 2นล + ล2 = (น + ล)2 น − ล = (น − ล)(น + ล) 2 2 น2 − 2นล + ล2 = (น − ล)2 น3 − ล3 = (น − ล)(น2 + นล + ล2 ) น3 + 3น2 ล + 3นล2 + ล3 = (น + ล)3 น3 + ล3 = (น + ล)(น2 − นล + ล2 ) น3 − 3น2 ล + 3นล2 − ล3 = (น − ล)3 เช่น 𝑥2 − 1 = (𝑥)2 − (1)2 = (𝑥 − 1)(𝑥 + 1) 2 4𝑥 2 − 3 = (2𝑥)2 − (√3) = (2𝑥 − √3)(2𝑥 + √3) 8𝑥 3 − 27 = (2𝑥)3 − (3)3 = (2𝑥 − 3)(4𝑥 2 + 6𝑥 + 9) 64𝑥 6 − 1 = (8𝑥 3 )2 − (1)2 = (8𝑥 3 − 1)(8𝑥 3 + 1) = ((2𝑥)3 − 13 )((2𝑥)3 + 13 ) = (2𝑥 − 1)(4𝑥 2 + 2𝑥 + 1)(2𝑥 + 1)(4𝑥 2 − 2𝑥 + 1) 4. กรณีพหุนำมอยูใ่ นรูป 𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 หำตัวเลข 2 ตัว ที่ คูณกันได้ 𝑐 + × บวกกันได้ 𝑏 (𝑥 + ? )(𝑥 + ? ) เช่น 𝑥 2 + 5𝑥 + 6 = (𝑥 + 2)(𝑥 + 3) 𝑥 2 + 7𝑥 + 6 = (𝑥 + 1)(𝑥 + 6) 14 จำนวนจริง 𝑥 2 + 2𝑥 − 8 = (𝑥 − 2)(𝑥 + 4) 𝑎2 − 2𝑎 − 8 = (𝑎 − 4)(𝑎 + 2) 𝑥 2 − 4𝑥 + 3 = (𝑥 − 1)(𝑥 − 3) 𝑥 4 − 6𝑥 2 + 8 = (𝑥 2 − 4)(𝑥 2 − 2) 5. กรณีพหุนำมอยูใ่ นรูป 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 แตก 𝑎 เป็ น น1 × น2 แตก 𝑐 เป็ น ล1 × ล2 (น1 𝑥 + ล1 )(น2 𝑥 + ล2 ) เช็คว่ำ (ใกล้ × ใกล้ ) + (ไกล × ไกล) ได้ 𝑏 ไหม ถ้ ำไม่ได้ ให้ กลับไปแตก น1 , น2 , ล1 , ล2 ใหม่ จนกว่ำจะได้ 𝑏 เช่น 2𝑥 2 + 7𝑥 + 6 = (2𝑥 + 3)(𝑥 + 2) 6𝑥 2 − 17𝑥 − 3 = (6𝑥 + 1)(𝑥 − 3) 4𝑥 2 + 4𝑥 − 3 = (2𝑥 − 1)(2𝑥 + 3) 4𝑥 2 − 11𝑥 + 6 = (4𝑥 − 3)(𝑥 − 2) 6 − 𝑛 − 2𝑛2 = (3 − 2𝑛)(2 + 𝑛) 2𝑥 4 − 5𝑥 2 + 2 = (2𝑥 2 − 1)(𝑥 2 − 2) 6. ทำเป็ นกำลังสองสมบูรณ์ 6.1. เติมตัวหลัง ÷2 𝑥 2 − 6𝑥 − 7 = 𝑥 2 − 2(3)(𝑥) + 32 − 32 − 7 น2 ± 2นล + ล2 = (น ± ล)2 = (𝑥 − 3)2 − 32 − 7 = (𝑥 − 3)2 − 16 = (𝑥 − 3)2 − 42 น2 − ล2 = (น − ล)(น + ล) = (𝑥 − 3 − 4)(𝑥 − 3 + 4) = (𝑥 − 7)(𝑥 + 1) 3 3 2 3 2 เช่น 𝑥 2 + 2𝑥 − 5 = 𝑥 2 + 2(1)𝑥 + 12 − 12 − 5 𝑥 2 + 3𝑥 + 1 = 𝑥 2 + 2 ( ) 𝑥 + ( ) − ( ) + 1 2 2 2 = (𝑥 + 1)2 − 12 − 5 3 2 3 2 = (𝑥 + 1)2 − 6 = (𝑥 + ) − ( ) + 1 2 2 = (𝑥 + 1 − √6)(𝑥 + 1 + √6) 3 2 5 = (𝑥 + ) − 2 4 3 √5 3 √5 = (𝑥 + − ) (𝑥 + + ) 2 2 2 2 7 1 2𝑥 2 − 7𝑥 − 1 = 2 (𝑥 2 − 𝑥 − ) 2 2 2 7 7 2 7 2 1 𝑥 2 − 4𝑥 + 7 = 𝑥 2 − 2(2)𝑥 + 22 − 22 + 7 = 2 (𝑥 − 2 ( ) 𝑥 + ( ) − ( ) − ) 4 4 4 2 = (𝑥 − 2)2 − 22 + 7 7 2 57 = 2 ((𝑥 − ) − ) = (𝑥 − 2)2 + 3 4 16 7 √57 7 √57 = แยกไม่ได้ (เข้ ำสูตร น2 − ล2 ไม่ได้ ) = 2 (𝑥 − − ) (𝑥 − + ) 4 4 4 4 6.1. เติมตัวกลำง เติม 𝑥 4 + 𝑥 2 + 1 = 𝑥 4 + 2𝑥 2 + 12 − 2𝑥 2 + 𝑥 2 = (𝑥 2 + 1)2 − 𝑥2 = (𝑥 − 𝑥 + 1)(𝑥 2 + 𝑥 + 1) 2 จำนวนจริง 15 แบบฝึ กหัด 1. จงแยกตัวประกอบของพหุนำมต่อไปนี ้ 1. 𝑥 2 + 𝑥 − 12 2. 𝑥 2 − 6𝑥 − 16 3. 3𝑥 2 + 𝑥 − 24 4. 4𝑥 2 − 19𝑥 + 12 5. 6𝑥 2 − 3𝑥 − 18 6. 𝑥 4 − 5𝑥 3 + 6𝑥 2 7. 3𝑚3 𝑛2 − 24𝑛2 8. 2𝑥 3 + 𝑥 2 − 8𝑥 − 4 9. 𝑚4 − 20𝑚2 + 64 10. 𝑎6 + 7𝑎3 − 8 16 จำนวนจริง 11. 𝑥 3 − 3𝑥 2 − 6𝑥 + 8 12. 𝑥 2 + 5√2𝑥 + 12 2. จงแยกตัวประกอบของพหุนำมต่อไปนี ้ ด้ วยวิธีทำเป็ นกำลังสองสมบูรณ์ 1. 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 2. 𝑥 2 − 4𝑥 + 1 จำนวนจริง 17 สมกำรตัวแปรเดียว กำรแก้ สมกำร คือ กำรหำค่ำที่เมือ่ แทนในตัวแปรแล้ วทำให้ สมกำรเป็ นจริ ง เรำจะเรี ยกค่ำที่แทนในตัวแปรแล้ วทำให้ สมกำรเป็ นจริ ง ว่ำ “คำตอบของสมกำร” หรื อ “รำกของสมกำร” เนื่องจำกคำตอบที่ทำให้ สมกำรเป็ นจริ ง อำจมีได้ หลำยตัว บำงทีเรำจะใช้ คำว่ำ “เซตคำตอบ” ของสมกำร “เซตคำตอบ” ของสมกำร ก็คือ เซตของค่ำที่แทนในตัวแปรแล้ วทำให้ สมกำรเป็ นจริ งนัน่ เอง เช่น เซตคำตอบของสมกำร 𝑥 2 − 3𝑥 + 2 = 0 คือ {1, 2} เพรำะเมื่อแทน 1 กับ 2 ลงไปใน 𝑥 จะทำให้ สมกำรเป็ นจริง กำรแก้ สมกำรดีกรี 1 ให้ จดั แบ่งข้ ำง ให้ ตวั แปรอยูฝ่ ั่งหนึง่ ตัวเลขอยูอ่ ีกฝั่งหนึง่ ย้ ำยข้ ำงให้ ฝั่งตัวแปรเหลือ 𝑥 เพียงตัวเดียว เช่น 4𝑥 + 5 = 2𝑥 − 13 4𝑥 − 2𝑥 = −13 − 5 2𝑥 = −18 −18 𝑥 = 2 = −9 กำรแก้ สมกำรดีกรี 2 ให้ จดั ฝั่งหนึง่ ให้ เป็ นศูนย์ ให้ สมกำรอยูใ่ นรูป 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 จำกนัน้ แยกตัวประกอบ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 แล้ วจับให้ แต่ละวงเล็บเท่ำกับ 0 เพื่อหำคำตอบ ในกรณีที่แยกตัวประกอบไม่ได้ ให้ ใช้ สตู ร −𝑏±√𝑏2 −4𝑎𝑐 𝑥= 2𝑎 เช่น 5 + 2𝑥 2 = 9 − 4𝑥 − 𝑥 2 5 + 2𝑥 2 = 9 − 4𝑥 − 𝑥 2 2 2 3𝑥 + 4𝑥 − 4 = 0 3𝑥 + 4𝑥 − 4 = 0 (3𝑥 − 2)(𝑥 + 2) = 0 หรือ 𝑎=3 𝑏 = 4 𝑐 = −4 3𝑥 − 2 = 0 𝑥+2 =0 −4±√42 −4(3)(−4) 𝑥 = 2 𝑥 = −2 𝑥 = 2(3) 3 2 −4±√64 −4±8 𝑥 = , −2 = 6 = 6 3 4 −12 = , 6 6 2 = 3 , −2 สูตรหำจำนวนคำตอบ  สมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 จะมีคำตอบได้ ไม่เกิน 2 คำตอบที่แตกต่ำงกัน o ถ้ ำ 𝑏 2 − 4𝑎𝑐 > 0 สมกำรนี ้ จะมี 2 คำตอบ o ถ้ ำ 2 𝑏 − 4𝑎𝑐 = 0 สมกำรนี ้ จะมี 1 คำตอบ o ถ้ ำ 𝑏 2 − 4𝑎𝑐 < 0 สมกำรนี ้ จะไม่มคี ำตอบ เช่น สมกำร 𝑥 2 − 3𝑥 + 2 = 0 จะมี 2 คำตอบ เพรำะ (−3)2 − 4(1)(2) = 9 − 8 = 1 > 0 18 จำนวนจริง สูตรผลบวกรำก - ผลคูณรำก  ถ้ ำสมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 มี 2 คำตอบที่แตกต่ำงกันแล้ ว o ทัง้ 2 คำตอบจะบวกกันได้ − 𝑏𝑎 o ทัง้ 2 คำตอบจะคูณกันได้ 𝑎𝑐 (−3) 2 เช่น สมกำร 𝑥 2 − 3𝑥 + 2 = 0 จะมีคำตอบที่บวกกันได้ − 1 =3 และคูณกันได้ 1 =2 ตัวอย่ำง ถ้ ำสมกำร 2𝑥 2 − 4𝑥 + 𝑚 = 0 มีเพียงคำตอบเดียวแล้ ว จงหำค่ำ 𝑚 วิธีทำ สมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 จะมี 1 คำตอบ เมื่อ 𝑏2 − 4𝑎𝑐 = 0 จะเห็นว่ำข้ อนี ้ 𝑎 = 2 , 𝑏 = −4 , 𝑐 = 𝑚 ดังนัน้ (−4)2 − 4(2)(𝑚) = 0 16 − 8𝑚 = 0 2 =𝑚 # ตัวอย่ำง ถ้ ำสมกำร 2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6 = 0 มีคำตอบหนึง่ คือ 32 จงหำอีกคำตอบหนึง่ วิธีทำ ข้ อนี ้ ทำได้ หลำยวิธี ดังนี ้ 3 2 3 3 2( ) − 𝑘( ) + 6 =0 วิธีที่ 1 โจทย์บอกว่ำ 2 เป็ นคำตอบหนึง่ ของสมกำร 2 9 2 3𝑘 − +6 =0 ้ ำแทน 32 ลงไปที่ 𝑥 จะต้ องทำให้ สมกำรเป็ นจริ ง ดังนันถ้ 2 2 9 − 3𝑘 + 12 =0 ซึง่ จะทำหำค่ำ 𝑘 ออกมำได้ 21 = 3𝑘 𝑘 =7 จำกนัน้ แทนค่ำ 𝑘 กลับเข้ ำไปในสมกำร 2𝑥 2 − 7𝑥 + 6 = 0 แล้ วหำคำตอบที่เหลือ (2𝑥 − 3)(𝑥 − 2) = 0 3 𝑥= , 2 จะได้ อีกคำตอบของสมกำรนี ้ คือ 2 2 # วิธีที่ 2 เรำจะทำย้ อนกลับจำกคำตอบ 32 3 𝑥 = , ? 2 (2𝑥 − 3)(? 𝑥 + ? ) = 0 โดยสืบกลับไปหำสำเหตุของคำตอบนี ้ 2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6 = 0 จะเห็นว่ำ 2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6 ต้ องแยกตัวประกอบได้ เป็ น (2𝑥 − 3)(? 𝑥 + ? ) 2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6 × × (2𝑥 − 3)(? 𝑥 + ? ) ดังนัน้ อีกตัวประกอบต้ องเป็ น 𝑥 − 2 1 −2 นัน่ คือ อีกคำตอบคือ 2 นัน่ เอง # วิธีที่ 3 จำกสูตรผลบวกรำก - ผลคูณรำก คำตอบของสมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 จะบวกกันได้ − 𝑏𝑎 และคูณกันได้ 𝑐 𝑎 ดังนัน้ คำตอบของสมกำร 2𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 6 = 0 จะคูณกันได้ 62 = 3 จำนวนจริง 19 เนื่องจำกคำตอบหนึง่ คือ 32 3 3 𝑥 = 3 ดังนัน้ อีกคำตอบต้ องคูณกับ 2 แล้ วได้ 3 2 𝑥 = 3× 2 = 2 3 นัน่ คือ จะได้ อีกคำตอบคือ 2 # กำรแก้ สมกำรดีกรี สงู กว่ำ 2 จะทำแบบเดียวกัน คือให้ จดั รูปให้ ฝั่งหนึง่ เป็ นศูนย์ แยกตัวประกอบให้ ถึงที่สดุ ให้ แต่ละวงเล็บเป็ นดีกรี 1 หรื อ ดีกรี 2 จับให้ แต่ละวงเล็บเท่ำกับ 0 เพื่อหำคำตอบ ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของสมกำร 𝑥 3 − 3𝑥 2 − 4𝑥 + 12 = 0 วิธีทำ จัดทำงขวำให้ เป็ น 0 แล้ วแยกตัวประกอบ 𝑥 2 (𝑥 − 3) − 4(𝑥 − 3) = 0 (𝑥 2 − 4)(𝑥 − 3) = 0 (𝑥 − 2)(𝑥 + 2)(𝑥 − 3) = 0 𝑥 = 2, −2, 3 ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ {2, −2, 3} # สิง่ ที่เป็ นปั ญหำมำกสำหรับนักเรียนส่วนใหญ่ก็คือเรื่ อง “โจทย์สมกำร” ในเรื่ องนี ้ โจทย์จะไม่ให้ สมกำรมำตรงๆ แต่จะสร้ ำงเรื่ องรำวมำเป็ นฉำกๆ แล้ วถำมสิง่ ที่โจทย์ต้องกำร ขันตอนในกำรท ้ ำโจทย์สมกำร มีดงั นี ้ 1. สมมติให้ 𝑥 แทนปริ มำณอะไรบำงอย่ำง  ส่วนใหญ่จะให้ 𝑥 แทนสิง่ ที่โจทย์ถำม เพื่อให้ เมื่อแก้ หำค่ำ 𝑥 ได้ จะได้ ตอบได้ เลย  หลักสำคัญคือ ให้ 𝑥 แทนสิง่ ที่เป็ นพื ้นฐำนของกำรหำปริ มำณต่ำงๆที่โจทย์กล่ำวถึง 2. อ่ำนโจทย์ แล้ วเขียนปริ มำณต่ำงๆที่โจทย์กล่ำวถึง ในรูปของ 𝑥 3. จับควำมสัมพันธ์ของปริ มำณต่ำงๆที่เขียนออกมำในขันตอนที ้ ่ 2 แล้ วสร้ ำงสมกำร 4. แก้ สมกำร หำค่ำ 𝑥 ตัดค่ำ 𝑥 ที่ใช้ ไม่ได้ ทิ ้งไป (เช่น ควำมยำว เป็ นเลขติดลบไม่ได้ , จำนวนคน เป็ นทศนิยมไม่ได้ ) แล้ วนำค่ำ 𝑥 ไปคำนวณหำสิง่ ที่โจทย์ถำม ตัวอย่ำง ที่ดินแปลงหนึง่ มีด้ำนยำว ยำวกว่ำสองเท่ำของด้ ำนกว้ ำงอยู่ 3 เมตร ถ้ ำที่ดินแปลงนี ้มีพื ้นที่ 90 ตำรำงเมตร จง หำว่ำที่ดินแปลงนี ้ กว้ ำงและยำว กี่เมตร วิธีทำ 1. สมมติ 𝑥 เรำจะให้ 𝑥 แทนด้ ำนกว้ ำง นัน่ คือ ให้ ที่ดินแปลงนี ้กว้ ำง 𝑥 เมตร 2. เขียนปริ มำณต่ำงๆที่โจทย์กล่ำวถึง ในรูปของ 𝑥 “สองเท่ำของด้ ำนกว้ ำง” จะเท่ำกับ 2𝑥 เมตร ดังนัน้ ด้ ำนยำว ต้ องยำวกว่ำ 2𝑥 อยู่ 3 เมตร ดังนัน้ ที่ดินแปลงนี ้ยำว 2𝑥 + 3 เมตร ดังนัน้ ที่ดินแปลงนี ้ มีพื ้นที่ = กว้ ำง × ยำว = (𝑥)(2𝑥 + 3) ตำรำงเมตร 3. จับควำมสัมพันธ์ สร้ ำงสมกำร โจทย์บอกว่ำที่ดินแปลงนี ้ มีพื ้นที่ 90 ตำรำงเมตร ดังนัน้ สมกำรคือ (𝑥)(2𝑥 + 3) = 90 20 จำนวนจริง 4. แก้ สมกำร แล้ วตอบ (𝑥)(2𝑥 + 3) = 90 ได้ 𝑥 = − 15 2 กับ 6 2𝑥 2 + 3𝑥 = 90 2 2𝑥 + 3𝑥 − 90 = 0 แต่ควำมกว้ ำง เป็ นเลขติดลบไม่ได้ ดังนัน้ เหลือ 6 ค่ำเดียว (2𝑥 + 15)(𝑥 − 6) = 0 15 นัน่ คือ ที่ดินกว้ ำง = 𝑥 = 6 เมตร 𝑥=− , 6 2 และยำว = 2𝑥 + 3 = 2(6) + 3 = 15 เมตร # แบบฝึ กหัด 1. จงหำคำตอบของสมกำรต่อไปนี ้ 9 1. 𝑥 2 − 5𝑥 + 4 = 0 2. 4𝑥 2 − 3𝑥 = 2 3. (𝑥 − 3)(𝑥 − 5) = 11 − 4𝑥 4. 𝑥 3 − 2𝑥 2 − 𝑥 + 2 = 0 5. 𝑥2 + 𝑥 − 1 = 0 6. 𝑥 2 + 4𝑥 + 1 = 0 2. จงพิจำรณำว่ำสมกำรต่อไปนี ้ มีคำตอบที่แตกต่ำงกันกี่คำตอบ พร้ อมทังหำผลบวกและผลคู ้ ณของคำตอบนัน้ 1. 𝑥 2 − 5𝑥 + 6 = 0 2. 𝑥 2 = 9 จำนวนจริง 21 3. 𝑥2 + 𝑥 + 1 = 0 4. 2𝑥 2 + 3𝑥 − 6 = 0 5. 𝑥 2 + 6𝑥 + 9 = 0 6. 𝑥2 + 1 = 0 3. ถ้ ำสมกำร 𝑎𝑥 2 + 𝑥 − 1 = 0 มีคำตอบหนึง่ คือ 12 จงหำอีกคำตอบหนึง่ 4. ถ้ ำสมกำร 𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 9 = 0 มีรำกเพียง 1 รำกแล้ ว จงหำค่ำ 𝑘 5. สมกำรในข้ อใดต่อไปนี ้ มีคำตอบที่เป็ นจำนวนจริ งมำกกว่ำ 2 คำตอบ [O-NET 51/6] 1. (𝑥 − 2)2 + 1 = 0 2. (𝑥 2 + 2)(𝑥 2 − 1) = 0 3. (𝑥 − 1)2 (𝑥 2 + 2) = 0 4. (𝑥 2 − 1)(𝑥 + 2)2 = 0 22 จำนวนจริง 𝑥−1 6. ผลบวกของรำกทังหมดของสมกำร ้ 𝑥+2 +𝑥 = 1 เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 57/9] 7. ถ้ ำสมกำร (𝑥 2 + 1)(2𝑥 2 − 6𝑥 + 𝑐) = 0 มีรำกที่เป็ นจำนวนจริงเพียง 1 รำก ค่ำของ 𝑐 จะอยูใ่ นช่วงใด ต่อไปนี ้ [O-NET 54/7] 1. (0 , 3) 2. (3 , 6) 3. (6 , 9) 4. (9 , 12) 8. ถ้ ำ 34 เป็ นผลเฉลยหนึง่ ของสมกำร 4𝑥 2 + 𝑏𝑥 − 6 = 0 เมื่อ 𝑏 เป็ นจำนวนจริ งแล้ ว อีกผลเฉลยหนึง่ ของสมกำรนี ้มี ค่ำเท่ำใด [O-NET 53/6] 9. ถ้ ำ 𝑥 = − 12 เป็ นรำกของสมกำร 𝑎𝑥 2 + 3𝑥 − 1 = 0 แล้ ว รำกอีกรำกหนึง่ ของสมกำรนี ้ มีคำ่ เท่ำใด [O-NET 50/6] จำนวนจริง 23 10. ต้ องกำรล้ อมรัว้ รอบที่ดินรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ ำซึง่ มีพื ้นที่ 65 ตำรำงวำ โดยด้ ำนยำวของที่ดินยำวกว่ำสองเท่ำของด้ ำน กว้ ำงอยู่ 3 วำ จะต้ องใช้ รวั ้ ที่มีควำมยำวกี่วำ [O-NET 52/21] 11. ถ้ ำรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ ำมีด้ำนยำว ยำวกว่ำ ด้ ำนกว้ ำงอยู่ 3 ฟุต และเส้ นแทยงมุมยำวกว่ำด้ ำนกว้ ำงอยู่ 7 ฟุต แล้ ว เส้ นรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ มนี ้ยำวกี่ฟตุ [O-NET 56/11] 12. รูปสำมเหลีย่ มมุมฉำกรูปหนึง่ มีพื ้นที่ 600 ตำรำงเซนติเมตร ถ้ ำด้ ำนประกอบมุมฉำกด้ ำนหนึง่ ยำวเป็ น 75% ของ ด้ ำนประกอบมุมฉำกอีกด้ ำนหนึง่ แล้ ว เส้ นรอบรูปสำมเหลีย่ มมุมฉำกรูปนี ้ ยำวกี่เซนติเมตร [O-NET 53/14] 24 จำนวนจริง 13. โรงพิมพ์แห่งหนึง่ คิดค่ำจ้ ำงในกำรพิมพ์แผ่นพับแยกเป็ น 2 ส่วนคือ ส่วนที่หนึง่ เป็ นค่ำเรี ยงพิมพ์ ซึง่ ไม่ขึ ้นกับจำนวน แผ่นพับที่พิมพ์ กับส่วนที่สองเป็ นค่ำพิมพ์ ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั จำนวนแผ่นพับที่พิมพ์ โดยโรงพิมพ์เสนอรำคำดังนี ้ ถ้ ำสัง่ พิมพ์ 100 ใบ จะคิดค่ำจ้ ำงรวมทังหมดเป็ ้ นเงิน 800 บำท และ ถ้ ำสัง่ พิมพ์ 200 ใบ จะคิดค่ำจ้ ำงรวมทังหมดเป็ ้ นเงิน 1,100 บำท โรงพิมพ์คิดค่ำเรียงพิมพ์กี่บำท [O-NET 56/35] 14. ห้ องประชุมแห่งหนึง่ จัดที่นงั่ เป็ นแถวโดยนำโต๊ ะมำเรี ยงต่อกันเป็ นแถว แถวละ 5 ตัว หลังจำกจัดแล้ วได้ ที่นงั่ ทังหมด ้ 60 ที่นงั่ ถ้ ำจำนวนแถวน้ อยกว่ำจำนวนที่นงั่ ในแต่ละแถวอยู่ 4 ห้ องประชุมนี ้มีโต๊ ะทังหมดกี ้ ่ตวั [O-NET 57/38] 15. แม่ค้ำนำเมล็ดมะม่วงหิมพำนต์ 1 กิโลกรัม ถัว่ ลิสง 3 กิโลกรัม และเมล็ดฟั กทอง 4 กิโลกรัม มำผสมกัน แล้ วแบ่งใส่ถงุ ถุงละ 100 กรัม ถ้ ำแม่ค้ำซื ้อเมล็ดมะม่วงหิมพำนต์ ถัว่ ลิสง และเมล็ดฟั กทองมำในรำคำกิโลกรัมละ 250 บำท 50 บำท และ 100 บำท ตำมลำดับแล้ ว แม่ค้ำจะต้ องขำยเมล็ดพืชผสมถุงละ 100 กรัมนี ้ ในรำคำกี่บำท จึงจะได้ กำไร 20 % เมื่อขำยหมด [O-NET 51/37] จำนวนจริง 25 สมบัติกำรไม่เท่ำกัน เมื่อก่อน เรำเรี ยนสมบัติกำรเท่ำกันมำแล้ ว ครำวนี ้มำเรี ยนสมบัติกำรไม่เท่ำกันบ้ ำง  สมบัติกำรถ่ำยทอด ถ้ ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑏 < 𝑐 แล้ ว 𝑎 < 𝑐  สมบัติกำรบวกด้ วยตัวเท่ำ ถ้ ำ 𝑎 < 𝑏 แล้ ว 𝑎 + 𝑐 < 𝑏 + 𝑐  สมบัติกำรคูณด้ วยตัวเท่ำ o ถ้ ำคูณด้ วยเลขบวก ได้ เหมือนปกติ ถ้ ำ 𝑎 < 𝑏 แล้ ว 5𝑎 < 5𝑏 o ถ้ ำคูณด้ วยเลขลบ ต้ องกลับเครื่ องหมำย ถ้ ำ 𝑎 < 𝑏 แล้ ว −5𝑎 > −5𝑏 สิง่ ที่ต้องระวังคือ ห้ ำม คูณทังสองข้ ้ ำง จนกว่ำจะรู้วำ่ ตัวทีม่ ำคูณเป็ นบวกหรื อลบ เพรำะไม่ร้ ูวำ่ ต้ องกลับเครื่ องหมำยหรื อไม่ เรำสำมำรถนำอสมกำรมำบวกกันได้ กล่ำวคือ ถ้ ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑐 < 𝑑 แล้ ว เรำสำมำรถสรุปได้ วำ่ 𝑎 + 𝑐 < 𝑏 + 𝑑 แต่เรำไม่สำมำรถนำอสมกำรมำลบกันได้ เพรำะ กำรลบ แฝงไว้ ด้วยกำรคูณด้ วยเลขลบ กล่ำวคือ 𝑎 − 𝑏 = 𝑎 + (−𝑏) ทำให้ ต้องกลับ >↔< ดังนัน้ ถ้ ำ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑐 < 𝑑 แล้ ว เรำไม่สำมำรถสรุปได้ วำ่ 𝑎 − 𝑐 < 𝑏 − 𝑑 ถ้ ำอยำกจะลบอสมกำร ให้ แบ่งเป็ น 2 ขัน้ คือ คูณ −1 ก่อน แล้ วค่อยเอำอสมกำรมำบวกกัน ตัวอย่ำง กำหนดให้ 6 < 𝑎 < 15 และ 1 < 𝑏 < 4 จงหำค่ำทีเ่ ป็ นไปได้ ของ 𝑎 − 𝑏 วิธีทำ เรำไม่สำมำรถนำอสมกำรมำลบกันได้ ถ้ ำจะหำ 𝑎 − 𝑏 ต้ องคูณ −1 แล้ วนำอสมกำรมำบวกกัน 6 < 𝑎 < 15 6 < 𝑎 < 15 1 < 𝑏 < 4 −1 > −𝑏 > −4 −4 < −𝑏 < −1 5 < 𝑎 − 𝑏 < 11  2 < 𝑎 − 𝑏 < 14  (ห้ ำมทำแบบนี ้) ดังนัน้ ค่ำทีเ่ ป็ นไปได้ ของ 𝑎−𝑏 คือ 2 < 𝑎 − 𝑏 < 14 # กำรนำอสมกำรมำคูณหรื อหำร กัน ทำได้ เมื่อมีทงสองอสมกำรเป็ ั้ นค่ำบวก กล่ำวคือ ถ้ ำ 0 < 𝑎 < 𝑏 และ 0 < 𝑐 < 𝑑 แล้ ว เรำสำมำรถสรุปได้ วำ่ 𝑎𝑐 < 𝑏𝑑 กำรนำอสมกำรมำหำรกัน ต้ องแบ่งทำเป็ น 2 ขัน้ คือ กลับเศษเป็ นส่วนก่อน แล้ วค่อยเอำอสมกำรมำคูณกัน กล่ำวคือ ถ้ ำ 0 < 𝑎 < 𝑏 และ 0 < 𝑐 < 𝑑 แล้ ว ห้ ำมสรุปว่ำ 𝑎𝑐 < 𝑑𝑏 0< 𝑎 < 𝑏 0< 𝑎 < 𝑏 1 1 0< 𝑐 < 𝑑 0< < 𝑑 𝑐 𝑎 𝑏 𝑐 < 𝑑  𝑎 𝑑 < 𝑏 𝑐  (ห้ ำมทำแบบนี ้) 26 จำนวนจริง โจทย์ยอดนิยมในเรื่ องนี ้ คือ โจทย์ข้อใดถูกข้ อใดผิด สิง่ ที่ห้ำมลืม คือ กฎที่เกี่ยวกับกำรคูณหำรจำนวนมำก จะใช้ ไม่ได้ กบั เลขลบ ดังนัน้ ก่อนจะตอบว่ำข้ อไหนถูก ลองแทนทังเลขบวกและเลขลบ ้ ลงไปให้ คลุมหลำยๆกรณีดกู ่อน แบบฝึ กหัด 1. ข้ อใดถูกต้ อง 1 1 1. ถ้ ำ 𝑎 < 𝑏 แล้ ว 𝑎𝑏 < 𝑏 2 2. ถ้ ำ 𝑎 0 − + − + + − + − + −3 −1 2 −3 −1 2 5 เซตคำตอบ คือ (−∞, −3) ∪ (−1, 2) เซตคำตอบ คือ (−∞, −3) ∪ (−1, 2) ∪ (5, ∞) แบบผึกหัด 2. จงแก้ อสมกำรต่อไปนี ้ 1. 𝑥 2 − 5𝑥 + 6 < 0 2. 𝑥 2 + 7𝑥 + 12 > 0 1 1 3. 𝑥2 − 4 > 0 4. 𝑥+2 < 𝑥+1 จำนวนจริง 33 ในกรณีที่เป็ น ≥ หรื อ ≤ ให้ ทำเหมือนเดิม แต่ให้ รวมจุดบนเส้ นจำนวนไปในคำตอบด้ วย พูดง่ำยๆคือ ให้ ใช้ จุดทึบ แทนที่จะเป็ นจุดกลวง เหมือนก่อน ยกเว้ น ตัวที่มำจำก “ส่วน” ห้ ำมใช้ จดุ ทึบ เช่น 𝑥2 + 𝑥 − 6 ≤ 0 (𝑥−2)(𝑥+3) (𝑥 − 2)(𝑥 + 3) ≤ 0 (𝑥+1)(𝑥−5) ≥ 0 + − + + − + − + −3 2 −3 −1 2 5 เซตคำตอบ คือ [−3, 2] เซตคำตอบ คือ (−∞, −3] ∪ (−1, 2] ∪ (5, ∞) แบบฝึ กหัด 3. จงแก้ อสมกำรต่อไปนี ้ 1. 2𝑥 2 − 3𝑥 − 2 ≤ 0 2. 6𝑥 2 + 5𝑥 − 1 ≥ 0 3. 𝑥(2𝑥 − 1) ≥ 15 4. 3𝑥 3 + 2𝑥 2 − 3𝑥 − 2 ≤ 0 3𝑥−5 3𝑥−5 5. 𝑥+1 ≥ 0 6. 𝑥+1 ≥ 1 34 จำนวนจริง ในกรณีที่มี (วงเล็บ)ยกกำลังคู่ อยู่ ตอนที่สลับ + − + … ให้ ไม่ต้องสลับตรงจุดทีม่ ำจำก (วงเล็บ)ยกกำลังคู่ โดยให้ ใช้ เครื่ องหมำยเดิมเดียวกับช่องทำงขวำ เช่น (𝑥−3)2 (2𝑥−1) ≤0 (𝑥−1)4 (𝑥−2)3 >0 (𝑥+2)(𝑥+1) (𝑥−3)2 (𝑥−4) ไม่ต้องสลับ ไม่ต้องสลับ ไม่ต้องสลับ − + − + + + + − − + −2 1 −1 3 1 2 3 4 2 1 เซตคำตอบ คือ (−∞, −2) ∪ (−1, ] ∪ {3} 2 เซตคำตอบ คือ (−∞, 1) ∪ (1, 2) ∪ (4, ∞) แบบฝึ กหัด 4. จงแก้ อสมกำรต่อไปนี ้ (𝑥−1)2 (𝑥−2) 1. (𝑥 + 1)3 (𝑥 − 2)4 (𝑥 + 3)5 < 0 2. 𝑥+1 ≥ 0 (𝑥−1)4 (𝑥−2)3 3. (𝑥 2 − 1)(𝑥 + 1) ≥ 0 4. (𝑥−3)2 (𝑥−4) ≥ 0 ในกรณีที่ 𝑥 ตัวซ้ ำยสุด (ที่ยกกำลังสูงสุด) มีเลขลบคูณอยู่ ให้ จดั รูปใหม่ให้ เป็ นบวก โดยกำรคูณ −1 ทังสองข้ ้ ำง แล้ วสลับเครื่ องหมำย มำกกว่ำ ↔ น้ อยกว่ำ เช่น −2𝑥 + 3𝑥 + 2 ≤ 0 2 → 2𝑥 2 − 3𝑥 − 2 ≥ 0 (−𝑥 + 2)(𝑥 + 1) > 0 → (𝑥 − 2)(𝑥 + 1) < 0 (−𝑥 + 2)(−𝑥 + 1) > 0 → (𝑥 − 2)(𝑥 − 1) > 0 (คูณ −1 สองครัง้ ) (−𝑥 + 2)4 (−𝑥 + 1) > 0 → (𝑥 − 2)4 (𝑥 − 1) < 0 (ยกกำลังคู่ (−𝑥 + 2)4 = (𝑥 − 2)4) จำนวนจริง 35 แบบฝึ กหัด 5. จงแก้ อสมกำรต่อไปนี ้ 1. 4 − 𝑥 2 ≥ 0 2. (𝑥−1)(𝑥+2) 2−𝑥 ≥ 0 (3−𝑥)2 (1−2𝑥) (1−𝑥)4 (2−𝑥)3 3. (−𝑥−2)(𝑥+1) ≤ 0 4. (3−𝑥)2 (𝑥−4) > 0 และในกรณีทมี่ ีตวั ที่แยกตัวประกอบไม่ได้ (เช่น 𝑥 2 + 1) ตัวเหล่ำนี ้ จะเป็ นบวกเสมอ จึงย้ ำยข้ ำงแบบคูณหำรได้ โดยไม่ ต้ องระวังเรื่ องกำรสลับเครื่ องหมำย มำกกว่ำ ↔ น้ อยกว่ำ เช่น (𝑥 2 + 1)(𝑥 − 3)(𝑥 + 1) > 0 → เอำ 𝑥 2 + 1 หำรตลอดได้ เพรำะ 𝑥 2 + 1 เป็ นบวกเสมอ ไม่ต้องกลับมำกกว่ำเป็ นน้ อยกว่ำ เหลือ (𝑥 − 3)(𝑥 + 1) > 0 เป็ นต้ น แบบฝึ กหัด 6. จงแก้ อสมกำรต่อไปนี ้ 3𝑥−5 𝑥 3 −𝑥 2 +𝑥−1 1. 𝑥 2 +5 ≥ 0 2. 𝑥−2 ≥ 0 36 จำนวนจริง 3. 𝑥2 + 4 > 0 4. 𝑥2 + 4 ≤ 0 7. เซตคำตอบของอสมกำร −1 ≤ √2 + 1−𝑥√2 ≤ 1 คือเซตในข้ อใดต่อไปนี ้ [O-NET 51/4] 1. [√2 − 1, 1] 2. [√2 − 1, 2] 3. [3 − 2√2, 1] 4. [3 − 2√2, 2] 8. ให้ 𝐴 = { 𝑥 | (2𝑥 + 1)(4 − 3𝑥) > 0 } ข้ อใดเป็ นเซตย่อยของ 𝐴 [O-NET 56/6] 1. (–1.2, –0.2) 2. (–0.9, 0.3) 3. (–0.6, 1.2) 4. (0.4, 1.5) 5. (0.3, 1.3) จำนวนจริง 37 9. เซตของจำนวนจริ ง 𝑚 ซึง่ ทำให้ สมกำร 𝑥 2 − 𝑚𝑥 + 4 = 0 มีรำกเป็ นจำนวนจริ ง เป็ นสับเซตของเซตใดต่อไปนี ้ [O-NET 50/26] 1. (−5, 5) 2. (−∞, − 4) ∪ [3, ∞) 3. (−∞, 0) ∪ [5, ∞) 4. (−∞, − 3) ∪ [4, ∞) 10. พี่มีเงินมำกกว่ำน้ อง 120 บำท ถ้ ำทังสองคนมี ้ เงินรวมกันไม่เกิน 1,240 บำท แล้ ว พี่มีเงินมำกที่สดุ ได้ กี่บำท [O-NET 56/36] 11. แม่ค้ำขำยก๋วยเตีย๋ วชำมละ 25 บำท โดยมีคำ่ เช่ำร้ ำนวันละ 120 บำท และต้ นทุนค่ำวัตถุดิบทังหมดคิ ้ ดเป็ นชำมละ 18 บำท ถ้ ำต้ องกำรให้ ได้ กำไรไม่ต่ำกว่ำวันละ 500 บำท เขำต้ องขำยให้ ได้ อย่ำงน้ อยวันละกี่ชำม [O-NET 57/37] 38 จำนวนจริง ค่ำสัมบูรณ์ “ค่ำสัมบูรณ์” ของ 𝑥 แทนด้ วยสัญลักษณ์ |𝑥| หมำยถึง “ค่ำที่เป็ นบวก” ของ 𝑥 เช่น |−2| = 2 , |5| = 5 , |−√3| = √3 สูตรสำหรับหำ |𝑥| จะเป็ นดังนี ้ |𝑥| = { 𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ 0 ถ้ ำ 𝑥 เป็ นบวกอยูแ่ ล้ ว |𝑥| จะได้ เท่ำเดิม −𝑥 เมื่อ 𝑥 < 0 ถ้ ำ 𝑥 เป็ นลบอยู่ จะถูกทำให้ เป็ นบวกโดยคูณลบเข้ ำไป (ใช้ หลักว่ำลบคูณลบได้ บวก) สมบัติที่สำคัญของค่ำสัมบูรณ์ คือ  กำรยกกำลังสอง กำจัดเครื่ องหมำยค่ำสัมบูรณ์ได้ กล่ำวคือ |𝑥|2 = 𝑥 2 𝑥 |𝑥|  กระจำยในคูณหำรได้ |𝑥𝑦| = |𝑥||𝑦| |𝑦| = |𝑦| แต่กระจำยในบวกลบไม่ได้ |𝑥 + 𝑦| ≠ |𝑥| + |𝑦| |𝑥 − 𝑦| ≠ |𝑥| − |𝑦|  |𝑥 + 𝑦| ≤ |𝑥| + |𝑦| เสมอ  √𝑥 2 = |𝑥| เวลำทำโจทย์ประเภท ข้ อใดถูกข้ อใดผิด ให้ ระวังเรื่ องเลขบวกเลขลบให้ ดี ในบำงที เรำอำจต้ องแบ่งคิดเป็ นสองกรณี คือ กรณีที่ 𝑥 ≥ 0 กับกรณี 𝑥 < 0 แบบฝึ กหัด 1. ข้ อใดถูกต้ อง 1. 𝑎 < |𝑎| 2. 𝑎|𝑏| = |𝑎|𝑏 |𝑎| 𝑎 3. 𝑎 = |𝑎| 4. (𝑎 − |𝑎|)2 ≤ 4𝑎2 5. ถ้ ำ 𝑎 0 ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ องบ้ ำง [O-NET 54/6] 1. 𝑎𝑐 > 0 2. 𝑏𝑐 > 0 6. กำหนดให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริ งใดๆ ข้ อใดถูกต้ องบ้ ำง [O-NET 57/1] 1. ถ้ ำ 𝑎𝑏 = 𝑎𝑐 แล้ ว 𝑏 = 𝑐 2. ถ้ ำ 𝑎|𝑏𝑐| < 0 และ 𝑏 < 0 แล้ ว |𝑎𝑏|𝑐 < 0 3. ถ้ ำ 𝑎 > 0 และ 𝑏 > 0 แล้ ว 𝑎 + 𝑏 ≥ √2𝑎𝑏 40 จำนวนจริง 7. ถ้ ำ 𝑥 ≤ 5 แล้ ว ข้ อใดต่อไปนี ้ถูก [O-NET 50/4] 1. 𝑥 2 ≤ 25 2. |𝑥| ≤ 5 3. 𝑥|𝑥| ≤ 25 4. (𝑥 − |𝑥|)2 ≤ 25 1 2 1 2 8. จำนวนสมำชิกของเซต {𝑥 | 𝑥 = (𝑎 + |𝑎|) − (|𝑎| − 𝑎) เมื่อ 𝑎 เป็ นจำนวนจริ งซึง่ ไม่เท่ำกับ 0} เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 51/21] 9. ถ้ ำช่วงเปิ ด (𝑎 , 𝑏) เป็ นเซตคำตอบของอสมกำร |𝑥 − 1| + |6 − 3𝑥| < 17 และ 𝑥>2 แล้ ว 𝑎 + 𝑏 เท่ำกับเท่ำใด [O-NET 54/27] จำนวนจริง 41 สมกำร อสมกำร ค่ำสัมบูรณ์ หลักในกำรแก้ คือ ต้ องกำจัดเครื่องหมำยค่ำสัมบูรณ์ออกไปให้ ได้ ซึง่ มีวิธีดงั นี ้ 1. สมกำรในรูป | | = แปลว่ำ = หรื อ = − และคำตอบต้ องทำให้ ≥0 ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของสมกำร |𝑥 2 + 2𝑥 − 1| = 2 วิธีทำ จะได้ 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 = 2 หรื อ 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 = −2 และคำตอบต้ องทำให้ 2≥0 𝑥 2 + 2𝑥 − 3 = 0 𝑥 2 + 2𝑥 + 1 = 0 ยังไงก็จริง (𝑥 − 1)(𝑥 + 3) = 0 (𝑥 + 1)2 = 0 𝑥 = 1, −3 𝑥 = −1 ดังนัน้ ใช้ ได้ ทกุ คำตอบ ดังนัน้ เซตคำตอบ คือ {−3, −1, 1} # ตัวอย่ำง จงหำเซตคำตอบของส?

Use Quizgecko on...
Browser
Browser