รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย PDF

Summary

เอกสารนี้สรุปเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยเน้นในส่วนของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) รวมถึงประเด็นสำคัญอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายและองค์กรอิสระต่างๆ ซึ่งอาจเป็นประโยชน์ในการศึกษาและเตรียมตัวสอบ

Full Transcript

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ส่วนที่ ๔ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ลําดับ ประเด็น จุดสําคัญ เน้นออกสอบ 1. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป้ อ...

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ส่วนที่ ๔ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ลําดับ ประเด็น จุดสําคัญ เน้นออกสอบ 1. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ หน้าที่และอํานาจ ปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ มี 1. ไต่สวน หน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ 2. และมีความเห็นกรณีมีการกล่าวหา (ชุดที่ 1 กลุ่มคนใหญ่) (1) ผู้ดาํ รงตําแหน่งทางการเมือง (2) ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (3) ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ (4) หรือผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน พฤติกรรม 1. ผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ 2. ทุจริตต่อหน้าที่ 3. หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อํานาจขัดต่อ บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย 4. หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทาง จริยธรรมอย่างร้ายแรง ตามรัฐธรรมนูญหรือ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 2. คณะกรรมการป้องกันและ หน้าที่และอํานาจ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมี 1. ไต่สวน หน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ 2. และวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ พฤติกรรม 1. ผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ 2. กระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ 3. กระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการ ยุติธรรมเพื่อดําเนินการต่อไปตาม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ลําดับ ประเด็น จุดสําคัญ เน้นออกสอบ 3 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ กําหนดให้ ปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ มี 1. ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง หน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ 2. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 3. ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ 4. ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน 5. และเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน (1) ของตน (2) คู่สมรส (3) และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิตภิ าวะ (4) รวมทั้งตรวจสอบและเปิดเผยผลการ ตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน “ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง”คือใคร “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” คือใคร ในสายตา ปปช. 1. นายกรัฐมนตรี 1. ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง 2. รัฐมนตรี 2. ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น 3. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3. พนักงานหรือบุคคลผู้ปฏิบัติงานใน 4. สมาชิกวุฒิสภา รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ 5. ข้าราชการการเมืองอื่นตามกฎหมายว่าด้วย 4. ผู้บริหารท้องถิ่นหรือสมาชิกสภาท้องถิ่นซึ่ง ระเบียบข้าราชการการเมือง มิใช่ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง 5.1 เช่น ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี 5. เจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะ 5.2 เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ปกครองท้องที่ 5.3 โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี 6. อนุกรรมการ ลูกจ้างของส่วนราชการ 6. ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตาม รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ 7. บุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งใช้อํานาจหรือได้รับ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา มอบให้ใช้อํานาจทางการปกครองของรัฐ 6.1 เช่น ที่ปรึกษาประธานรัฐสภา 6.2 ที่ปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎร/ “ผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง” หมายความว่า วุฒิสภา 1. ผู้ ดํ า รงตํ า แหน่ ง หั ว หน้ า ส่ ว นราชการ 6.3 เลขานุการประธานรัฐสภา ระดับกระทรวง หรือกรมสําหรับข้าราชการพลเรือน 2. ปลั ด กระทรวงกลาโหม ผู้ บั ญ ชาการ 7. ผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น และ ทหารสู ง สุ ด ผู้ บั ญ ชาการเหล่ า ทั พ สํ า หรั บ ข้ า ราชการ ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทหาร ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด 3. ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 8. สมาชิกสภาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วน 4. ปลัดกรุงเทพมหานคร ท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด 5. กรรมการและผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ 6. หัวหน้าหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ เช่ น สํ า นั ก งานคณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง สํ า นั ก งาน คณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่งชาติ 7. กรรมการและผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ตามที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ฉะนั้นพวกคุณที่เข้าสอบต้องจําให้ได้แบบนี้นะครับ ด้านตรวจสอบทรัพย์สนิ 1. ป.ป.ช. ที่คุณไปทํางาน = การตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง รวมทั้ง ความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สิน ของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน (ทําอะไร ทํากับใคร) 2. ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง (1) นายกรัฐมนตรี (2) รัฐมนตรี (3) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (4) สมาชิกวุฒิสภา (5) ข้าราขการการเมืองอื่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง (6) ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (7) ผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น และผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด (8) สมาชิกสภาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด 3. เจ้าหน้าที่ของรัฐ เช่น (1) ประธาน/รองประธานศาลฎีกา (2) ประธานศาลรัฐธรรมนูญ (3) ประธาน/รองประธานศาลปกครองสูงสุด (4) อัยการ/รองอัยการสูงสุด (5) กรรมการการเลือกตั้ง (6) ผู้ตรวจการแผ่นดิน การทหาร (7) ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (8) กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (9) หัวหน้าสํานักตุลา (10) ผู้พิพากษาในศาลฎีกา (11) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (12 )ผู้ดํารงตําแหน่งระดังสูง (13) ผู้ว่าราชการจังหวัด (14) ผู้บัญชาการ ตํารวจภูธรภาค (15) ผู้บังคับการ ตํารวจภูธรจังหวัด (16) สรรพากรภาค/พื้นที่ (17) นายด่านศุลกากร (18) ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัด (19) อัยการจังหวัด (20) เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด (21) ผู้บัญชาการเรือนจําจังหวัด (22) โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด เป็นต้น ผังการดําเนินคดีแก่ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ฯลฯ ม.235 ป.ปช. = สงสัยหรือมีการกล่าวหาว่า ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน มีพฤติกรม 1.พฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ 2.ทุจริตต่อหน้าที่ 3.จงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อํานาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย 4. หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติไต่สวนข้อเท็จจริง หากมีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เห็นว่าผู้นั้นมีพฤติการณ์หรือกระทําความผิดตามที่ไต่สวนให้ดําเนินการดังต่อไปนี้ (๑) ถ้าเป็นกรณีฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม (2) ถ้าเป็นกรณีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ / มาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ให้ ทุ จ ริ ต ต่ อ หน้ า ที่ / จงใจปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ห รื อ ใช้ เสนอเรื่อง ต่อศาลฎีกาเพือ่ วินิจฉัย อํานาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือ กฎหมาย ให้ส่งสํานวนการไต่สวนไปยัง อัยการสูงสุดเพื่อดําเนินการฟ้องคดีต่อศาล การไต่ ส วนข้ อ เท็ จ จริ ง และมี ม ติ ป.ป.ช ฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทาง ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในไม่เกิน การเมือง (จําประเด็นออกสอบ)**** 2 ปี นับแต่วันเริ่มดําเนินการไต่สวน 1. เมื่อศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองประทับรับฟ้องให้ ผู้ถูกกล่าวหาหยุดปฏิบัติหน้า/ที่จนกว่าจะมีคําพิพากษา 2. ในกรณี ที่ ศ าลฎี ก าหรื อ ศาลฎี ก าแผนกคดี อ าญาของผู้ ดํ า รงตํ า แหน่ ง ทางการเมื อ ง มี คํ า พิ พ ากษาว่ า ผู้ ถู ก กล่ า วหามี พ ฤติ ก ารณ์ ห รื อ กระทํ า ความผิ ด ตามที่ ถู ก กล่ า วหา ให้ผู้ต้องคําพิพากษานั้นพ้นจากตําแหน่งนับแต่วันหยุดปฏิบัติหน้าที่ **** เคยออกสอบ**** 3. และให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผู้นั้นและจะเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกําหนดเวลา ไม่เกิน 10 ปีด้วยหรือไม่ก็ได้ **** เคยออกสอบ***** 4. ผู้ถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ผู้นั้นไม่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งหรือสมัครรับเลือกเป็น ส.ส. ส.ว. สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นตลอดไปและไม่มีสิทธิดํารงตําแหน่งทาง การเมืองใด ๆ 5. ผู้ถูกกล่าวหามีความผิดฐานร่ํารวยผิดปกติหรือทุจริตต่อหน้าที่ ให้ริบทรัพย์สินที่ผู้นั้นได้มา จากการกระทําความผิด รวมทั้งบรรดาทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่ได้มาแทนทรัพย์สิน นั้นตกเป็นของแผ่นดิน 6. การพิจารณาของศาล ฯ ให้นําสํานวนการไต่สวนของ ป.ปช. เป็นหลักและเพื่อประโยชน์ แห่งความยุติธรรม ให้ศาลมีอาํ นาจไต่สวนข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพิ่มเติมได้ ประเด็น กล่าวหาว่ากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จนมีการตั้งผู้ไต่สวนอิสระ มาตรา ๒๓๖ 1. (ใคร) = 1.1 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา 1.2 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไม่น้อยกว่าสองหมื่นคน 2. (ทําอะไร) = 2.1 มีสิทธิเข้าชื่อกล่าวหาว่ากรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริต แห่งชาติผู้ใดกระทําการตามมาตรา ๒๓๔ (๑) 2.2 จํานวนไม่น้อยกว่า1 ใน 5 ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้ง สองสภาหรือโดยยื่นต่อประธานรัฐสภาพร้อมด้วยหลักฐานตามสมควร 3. (อย่างไร) = 3.1 หากประธานรัฐสภาเห็นว่ามีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการกระทําตามที่ถูก กล่าวหา 3.2 ให้ประธานรัฐสภาเสนอเรื่องไปยังประธานศาลฎีกาเพื่อตั้งคณะผู้ไต่สวน อิสระจากผู้ซึ่งมีความเป็นกลางทางการเมือง ประเด็น เมื่อดําเนินการไต่สวนแล้วเสร็จ ให้คณะผู้ไต่สวนอิสระดําเนินการดังต่อไปนี้ (อํานาจของคณะผู่ไต่สวนอิสระ) มาตรา ๒๓๗ (๑) ถ้าเห็นว่าข้อกล่าวหาไม่มีมูลให้สั่งยุติเรื่อง และให้คําสั่งดังกล่าวเป็นที่สุด***เคยออก สอบ** (๒) ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ให้เสนอเรื่องต่อศาลฎีกาเพื่อวินิจฉัย (๓) ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหามีพฤติการณ์ตามที่ถูกกล่าวหาเป็น (รวย ริต ผิดกฎหมาย) ให้ส่ง สํานวนการไต่ สวนไปยั งอัยการสูงสุ ดเพื่ อ ดําเนินการฟ้องคดีต่ อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ ดํารง ตําแหน่งทางการเมือง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ **มีวาระการดํารงตําแหน่งเจ็ดปี** นับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ดํารงตําแหน่งได้เพียงวาระเดียว ถ้าออกไปก่อนวาระและยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการเท่าที่เหลืออยู่ ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ เว้นแต่จะมีกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึงห้าคน คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีกี่คน ประกอบด้วยใคร และมาอย่างไร มาตรา ๒๓๒ 1. คณะกรรมการมีกี่คน = คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วย กรรมการจํานวน 9 คน 2. มาได้อย่างไร = ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภาจากผู้ซึ่ง ได้รับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา 3. ต้องเคยเป็นอะไรมา = ผู้ซึ่งได้รับการสรรหาต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ ประจักษ์ มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านกฎหมาย บัญชี เศรษฐศาสตร์ การบริหารราชการแผ่นดิน หรือการอื่นใดอันเป็น ประโยชน์ต่อ การป้อ งกันและปราบปรามการทุ จริ ต และต้อ งมีคุ ณ สมบัติ อ ย่า งหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ด้วย 4. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ตําแหน่งตามนี้ ก็เอาไปตอบข้อสอบถ้าถามจะได้แยกได้ (๑) รั บ ราชการหรื อ เคยรั บ ราชการในตํ า แหน่ ง ไม่ ต่ํ า กว่ า อธิ บ ดี ผู้ พิ พ ากษา อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการพระธรรมนูญหัวหน้าศาลทหารกลาง หรืออธิบดีอัยการ (๒) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหน่งไม่ต่ํากว่าอธิบดีหรือหัวหน้าส่วน (๓) เป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ดํ า รงตํ า แหน่ ง ผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของรั ฐ วิ ส าหกิ จ หรื อ หน่วยงานอื่นของรัฐ ที่ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ (๔) ดํ ารงตํ าแหน่ งหรือเคยดํารงตําแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย. ในประเทศไทย และยังมีผลงานทางวิชาการเป็นที่ประจักษ์ 5. ไม่น้อยกว่า 20 ปี (๕) เป็นหรือเคยเป็นผู้ประกอบวิชาชีพที่มีกฎหมายรับรองการประกอบวิชาชีพ โดยประกอบวิชาชีพ อย่างสม่ําเสมอ 5. ไม่น้อยกว่า 10 ปี (๖) เป็นผู้มีความรู้ความชํานาญและประสบการณ์ทางด้านการบริหาร การเงิน การคลัง การบัญชี หรือการบริหารกิจการวิสาหกิจในระดับไม่ต่ํากว่าผู้บริหารระดับสูงของบริษัทมหาชน จํากัด ถ้าเป็น ๆ เปลี่ยน ต้องเอาเวลามารวมกันไม่น้อยกว่าสิบปี การนับระยะเวลาตามวรรคสอง ให้นับถึงวันที่ได้รับการเสนอชื่อหรือวันสมัครเข้ารับการสรรหา องค์กรอิสระ ทีพ่ วกคุณชอบพูดเป็นอย่างไร ประเด็นคําถาม ป.ป.ช. อิสระอย่างไร ที่เคยออกสอบ มาตรา ๒๑๕ 1. องค์กรอิสระเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นให้มีความอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ ให้เป็นไป ตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย 2. การปฏิบัติหน้าที่และการใช้อํานาจขององค์กรอิสระต้องเป็นไปโดยสุจริต เที่ยง ธรรม กล้าหาญ และปราศจากอคติทั้งปวงในการใช้ดุลพินิจ ประเด็นคําถาม สํานักงาน ป.ป.ช. ละ อิสระอย่างไร ที่เคยออกสอบ สํ า นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ (อั ง กฤษ: Office of the National Anti-Corruption Commission) เป็นสานักงานเลขานุการของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 1. เป็นหน่วยงานที่เป็นอิสระ มีฐานะเทียบเท่ากรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน 2. มี เ ลขาธิ ก ารคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ เ ป็ น ผู้บังคับบัญชาขึ้นตรงต่อประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 บทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 1. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วยคณะกรรมการกี่คน ก. 5 คน ข. 7 คน ค. 9 คน ง. 11 คน 2. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ได้รับการแต่งตั้งจากใคร ก. พระมหากษัตริย์ ข. นายกรัฐมนตรี ค. ประธานวุฒิสภา ง. ประธานรัฐสภา 3. ผู้ซึ่งได้รับการสรรหาต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และ ประสบการณ์ด้านใด ก. ด้านกฎหมาย ข. ด้านบัญชี เศรษฐศาสตร์ ค. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ง. ถูกทุกข้อ 4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติผู้ซึ่งได้รับการสรรหา ก. รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ํากว่าอธิบดีผู้พิพากษา อธิบดีศาล ปกครองชั้นต้น ตุลาการพระธรรมนูญหัวหน้าศาลทหารกลาง หรืออธิบดอัยการมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี ข. รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ํากว่าอธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่ เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่าสิบปี ค. เป็นหรือเคยเป็นผู้ดารงตําแหน่งผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของ รัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจมาแล้วไม่น้อยกว่าเจ็ดปี ง. ถูกทุกข้อ 5. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีวาระการดารงตาแหน่งกี่ปี ก. 4 ปี ข. 5 ปี ค. 6 ปี ง. 7 ปี 6. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติดารงตําแหน่งได้กี่วาระ ก. วาระเดียว ข. 2 วาระ ค. ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน ง. หลายวาระ 7. ในระหว่างที่กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ และยังไม่ มีการแต่งตั้งกรรมการแทนตาแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการเท่าที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ เว้นแต่จะมี กรรมการเหลืออยู่กี่คน ก. 7 คน ข. ไม่ถึง 5 คน ค. 3 คน ง. ไม่ถึง 6 คน 8. ข้อใดเป็นหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ก. ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ารวยผิดปกติ กระทาความผิดฐานทุจริตต่อ หน้าที่ หรือกระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ข. ไต่สวนและมีความเห็นกรณีมีการกล่าวหาว่าผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ หรือผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ารวย ผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่ ค. หน้าที่และอานาจอื่นที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ง. ถูกทุกข้อ 9. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจํานวนเท่าไร มีสิทธิเข้าชื่อกล่าวหาว่ากรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติผู้ใดกระทาการตามมาตรา 234 (1) ก. ไม่เกิน 5,000 คน ข. ไม่น้อยกว่า 10,000 คน ค. ไม่น้อยกว่า 20,000 คน ง. ไม่เกิน 30,000 คน 10. จากข้อ 9 ให้ยื่นต่อใครพร้อมด้วยหลักฐานตามสมควร ก. นายกรัฐมนตรี ข. ประธานวุฒิสภา ค. ประธานรัฐสภา ง. คณะรัฐมนตรี