รัฐธรรมนูญ 2560 PDF
Document Details

Uploaded by WellEducatedKoto
Sukhothai Thammathirat Open University
2560
Tags
Summary
เอกสารนี้เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมล่าสุด) เป็นเอกสารทางกฎหมายที่ใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ มีรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดระเบียบการปกครองในประเทศไทย
Full Transcript
คำนำ (พิมพ์ครั้งที่ ๕) ตามที่สำนักกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ได้มีการจัดพิมพ์หนังสือ รัฐ ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบ ัน ) มาแล้วถึง ๔ ครั้ง ซึง่ พบว่ามีการนำหนังสือรัฐธ...
คำนำ (พิมพ์ครั้งที่ ๕) ตามที่สำนักกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ได้มีการจัดพิมพ์หนังสือ รัฐ ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบ ัน ) มาแล้วถึง ๔ ครั้ง ซึง่ พบว่ามีการนำหนังสือรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน) ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามภารกิจในด้านนิติบัญญัติ ของสมาชิกวุฒิสภา กรรมาธิการ และผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องในวงงานของรัฐสภา ตลอดจนประชาชน ผู้ที่สนใจโดยทั่วไปอย่างแพร่หลายในวงกว้าง เพื่อให้ห นังสือรัฐ ธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน) มีจำนวนเพียงพอต่อการเผยแพร่แก่สมาชิกวุฒิสภา ผู้บริหาร ข้าราชการในสังกัดสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา และผู้เกี่ยวข้องในวงงานด้านนิติบัญญัติ ตลอดจนประชาชนผู้สนใจโดยทั่วไป จึงพิจารณาเห็นสมควรจัดพิมพ์หนังสือ “รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน)” หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจ จุบ ัน )” ฉบับ นี้ จักเป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน ตามภารกิจ ในด้านนิติบัญญัติของสมาชิกวุฒิสภา กรรมาธิการ และผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องในวงงานรัฐสภา ตลอดจนประชาชนผู้ที่สนใจโดยทั่วไปตามสมควร สมดังเจตนารมณ์ของการจัดพิมพ์ สำนักกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ คำนำ (พิมพ์ครั้งที่ ๔) ตามที่ส านั กกฎหมาย สานักงานเลขาธิการวุฒิ สภา ได้มีการจั ดพิมพ์หนั งสื อ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยมีการจัดพิมพ์มาแล้วถึง ๓ ครั้ง และต่อมาได้มีการเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมต่อรัฐสภาเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยเกี่ยวกับสัดส่วนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง และแบบบัญชีรายชื่อ รวมทั้งระบบการเลือกตั้ง (แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๘๓ มาตรา ๘๖ และ มาตรา ๙๑) ซึ่งรัฐสภาได้พิจารณาและลงมติเห็นชอบด้วยในการที่จะออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญ โดยนายกรั ฐมนตรี ได้น าร่ างรั ฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจั กรไทย แก้ไขเพิ่ มเติ ม ดังกล่ าว ขึ้นทูลเกล้ าทูลกระหม่อมถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิ ไธยประกาศใช้เป็น รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม (ฉบั บที่ ๑) พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๖๔ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๗๖ ก หน้า ๑ เมื่อวันอาทิตย์ ที่ ๒๑ พฤศจิ กายน ๒๕๖๔ และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป กล่าวคือ มีผลใช้ บังคับตั้งแต่วันจันทร์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เป็นต้นไป เพื่ อให้ ห นั งสื อ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ งราชอาณาจั ก รไทย พุ ทธศั กราช ๒๕๖๐ มีความทันสมัย ครบถ้วนสมบูรณ์ และเป็นปัจจุบันมากที่สุด จึงพิจารณาเห็นสมควรจัดพิมพ์ หนังสือ “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน)” โดยด าเนิ นการรวบรวมรั ฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจั กรไทยฉบับที่ ได้ มี การแก้ ไขเพิ่ มเติ ม ดังกล่าวไว้ สาหรับเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจในด้านนิติบัญญัติของสมาชิกวุฒิสภา กรรมาธิการ และผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องในวงงานของรัฐสภา ตลอดจนประชาชนผู้ที่สนใจ โดยทั่วไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (แก้ ไขเพิ่ มเติ มถึ งปั จจุ บั น)” ฉบั บนี้ จั กเป็ นประโยชน์ ต่ อการปฏิ บั ติ งานในด้ านนิ ติ บั ญญั ติ ของสมาชิกวุฒิสภา กรรมาธิการ ตลอดจนผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับวงงานด้านนิติบัญญัติทุกฝ่าย รวมทั้งประชาชนผู้ที่สนใจตามสมควรตามเจตนารมณ์ของการจัดพิมพ์ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ มิถุนำยน ๒๕๖๕ คำนำ (พิมพ์ครั้งที่ ๑ - ๓) นับตั้งแต่ประเทศไทยได้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา อัน มี พระมหากษั ตริ ย์ ทรงเป็ น ประมุข ตลอดระยะเวลา ๘๕ ปีที่ผ่ านมา (พุท ธศัก ราช ๒๔๗๕ - ๒๕๖๐) ประเทศไทยได้มีการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญ การแก้ไขเพิ่มเติมและ มีการยกเลิกรัฐธรรมนูญมาแล้วหลายฉบับ ทั้งนี้ เพื่อจัดระเบียบการปกครองให้เหมาะสม กับสถานการณ์ของชาติบ้านเมืองในแต่ละยุคและกาลสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป อันรวมถึง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบั บ ที่ ๑) พุท ธศั ก ราช ๒๕๕๘ ที่ไ ด้ บั ญ ญัติ ใ ห้ มี ค ณะกรรมการร่ า งรัฐ ธรรมนู ญ เพื่ อ ทาหน้าที่ในการร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับสาหรับเป็นแนวทางในการปกครอง การพัฒนา และการปฏิรูปประเทศ โดยให้ประชาชนเข้าถึงและมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น เป็ น ส าคั ญ และเมื่ อ จั ด ท าร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ แล้ ว เสร็ จ ได้ มี ก ารเผยแพร่ ใ ห้ ป ระชาชน ทาความเข้าใจและจัดให้มีการออกเสียงประชามติเพื่อให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ ทั้งฉบับ โดยผลการออกเสียงประชามติปรากฏว่า ประชาชนผู้มีสิทธิ ออกเสียงประชามติ โดยคะแนนเสี ย งข้างมากของผู้ มาออกเสี ยงประชามติเห็ นชอบให้ นาร่างรัฐ ธรรมนู ญ มาใช้บังคับและนายกรัฐมนตรีจึงนารั ฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ขึ้นทูลเกล้ าทูล กระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยโดยเป็นรัฐธรรมนูญถาวร ฉบับที่ ๒๐ ของประเทศไทย ซึ่งรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยฉบับนี้มีเจตนารมณ์สาคัญตามที่ปรากฏในคาปรารภของรัฐธรรมนูญ ดังนี้ ๑. ใช้เ ป็ น หลั กในการปกครอง และเป็น แนวทางในการจั ดท ากฎหมาย ประกอบรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่น ๒. กาหนดกลไกเพื่อจัดระเบียบและสร้างความเข้มแข็งแก่การปกครอง ประเทศขึ้ น ใหม่ ด้ ว ยการจั ด โครงสร้ า งของหน้ า ที่ แ ละอ านาจขององค์ ก รต่ า ง ๆ ตาม รัฐธรรมนูญ และสัมพันธภาพระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารให้เหมาะสม ๓. การให้ ส ถาบั น ศาลและองค์ก รอิส ระอื่ น ซึ่ง มี ห น้ า ที่ต รวจสอบการใช้ อานาจรัฐสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สุจริต เที่ยงธรรม และมีส่วนในการ ป้องกันหรือแก้ไขวิกฤติของประเทศตามความจาเป็นและความเหมาะสม ๔. การรั บ รอง ปกป้ อ ง และคุ้ ม ครองสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของปวงชนชาวไทย ให้ ชัดเจนและครอบคลุมอย่ างกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยถือว่าการมีสิ ทธิเสรี ภาพเป็ นหลั ก การจากัดตัดสิทธิเสรีภาพเป็นข้อยกเว้น แต่การใช้สิทธิเสรีภาพดังกล่าวต้องอยู่ภายใต้ กฎเกณฑ์เพื่อคุ้มครองส่วนรวม ๕. การกาหนดให้รัฐมีหน้าที่ต่อประชาชนเช่นเดียวกับการให้ประชาชนมีหน้าที่ ต่อรัฐ ๖. การวางกลไกป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ที่เข้มงวด เด็ดขาด เพื่อมิให้ผู้บริหารที่ ปราศจากคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล เข้ามามีอานาจในการปกครองบ้านเมืองหรือใช้อานาจตามอาเภอใจ ๗. การกาหนดมาตรการป้องกันและบริหารจัดการวิกฤติการณ์ของประเทศ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ๘. การกาหนดกลไกต่าง ๆ ตามแนวทางที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบั บ ชั่ ว คราว) พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๗ ระบุ ไ ว้ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น กรอบในการพั ฒ นาประเทศ ตามแนวนโยบายแห่งรัฐและยุทธศาสตร์ ชาติซึ่งผู้เข้ามาบริหารประเทศแต่ละคณะจะได้ กาหนดนโยบายและวิธีดาเนินการที่เหมาะสมต่อไป ๙. สร้ า งกลไกในการปฏิ รู ป ประเทศในด้ า นต่ า ง ๆ ที่ ส าคั ญ และจ าเป็ น อย่ า งร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น รวมตลอดทั้ ง การลดเงื่ อ นไขความขั ด แย้ ง เพื่ อ ให้ ป ระเทศ มีความสงบสุขบนพื้นฐานของความรู้รักสามัคคีปรองดอง สานักงานเลขาธิการวุฒิสภาในฐานะเป็นหน่วยธุรการของสถาบันที่ทาหน้าที่ ในงานด้านนิติบัญญัติของชาติ จึงได้ตระหนักและเห็นความสาคัญในการส่งเสริมความรู้และ ความเข้าใจถึงเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญและหลักการเนื้อหาสาระสาคัญของบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญ รวมทั้งเพื่อเป็นข้อมูลสาหรับสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ในด้านนิติบัญญัติ ให้กับสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกวุฒิสภา คณะกรรมาธิการ และผู้มีหน้าที่ เกี่ยวข้องกับวงงานด้านนิติบัญญัติทุกฝ่าย รวมทั้งประชาชนที่สนใจทั่วไป จึงได้จัดพิมพ์ หนั งสื อ รัฐ ธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ฉบับนี้ขึ้น ทั้งนี้ เพื่อ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้มีความเจริญรุ่ง เรืองและมั่นคงสถาพรอยู่คู่กับ สยามรัฐสีมาสืบไป สำนักกฎหมำย สำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ สารบัญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ คาปรารภ................................................................................................................................................ ๑ หมวด ๑ บททั่วไป (มาตรา ๑-๕)............................................................................ ๕ หมวด ๒ พระมหากษัตริย์ (มาตรา ๖-๒๔)............................................................. ๕ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย (มาตรา ๒๕-๔๙)....................... ๑๐ หมวด ๔ หน้าที่ของปวงชนชาวไทย (มาตรา ๕๐)................................................ ๑๙ หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ (มาตรา ๕๑-๖๓)............................................................... ๑๙ หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ (มาตรา ๖๔-๗๘).................................................... ๒๔ หมวด ๗ รัฐสภา (มาตรา ๗๙-๑๕๗)....................................................................... ๓๐ ส่วนที่ ๑ บททั่วไป (มาตรา ๗๙-๘๒)..................................................... ๓๐ ส่วนที่ ๒ สภาผู้แทนราษฎร (มาตรา ๘๓-๑๐๖).................................... ๓๒ ส่วนที่ ๓ วุฒิสภา (มาตรา ๑๐๗-๑๑๓).................................................. ๔๔ ส่วนที่ ๔ บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง (มาตรา ๑๑๔-๑๕๕)........................... ๔๘ ส่วนที่ ๕ การประชุมร่วมกันของรัฐสภา (มาตรา ๑๕๖-๑๕๗).............. ๖๗ หมวด ๘ คณะรัฐมนตรี (มาตรา ๑๕๘-๑๘๓)......................................................... ๖๙ หมวด ๙ การขัดกันแห่งผลประโยชน์ (มาตรา ๑๘๔-๑๘๗).................................. ๗๗ หมวด ๑๐ ศาล (มาตรา ๑๘๘-๑๙๙)........................................................................ ๘๐ ส่วนที่ ๑ บททั่วไป (มาตรา ๑๘๘-๑๙๓)................................................ ๘๐ ส่วนที่ ๒ ศาลยุติธรรม (มาตรา ๑๙๔-๑๙๖).......................................... ๘๒ ส่วนที่ ๓ ศาลปกครอง (มาตรา ๑๙๗-๑๙๘)......................................... ๘๓ ส่วนที่ ๔ ศาลทหาร (มาตรา ๑๙๙).................................................................. ๘๔ หมวด ๑๑ ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๐๐-๒๑๔).............................................................. ๘๔ หมวด ๑๒ องค์กรอิสระ (มาตรา ๒๑๕-๒๔๗)........................................................... ๙๑ ส่วนที่ ๑ บททั่วไป (มาตรา ๒๑๕-๒๒๑)................................................ ๙๑ ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการการเลือกตั้ง (มาตรา ๒๒๒-๒๒๗).................... ๙๔ ส่วนที่ ๓ ผู้ตรวจการแผ่นดิน (มาตรา ๒๒๘-๒๓๑)................................ ๙๘ ส่วนที่ ๔ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (มาตรา ๒๓๒-๒๓๗)............................................................... ๙๙ ส่วนที่ ๕ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (มาตรา ๒๓๘-๒๔๕)............ ๑๐๕ ส่วนที่ ๖ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (มาตรา ๒๔๖-๒๔๗)... ๑๐๘ หมวด ๑๓ องค์กรอัยการ (มาตรา ๒๔๘).................................................................. ๑๐๙ -๒- หน้า หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น (มาตรา ๒๔๙-๒๕๔)...................................... ๑๑๐ หมวด ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๕๕-๒๕๖)............................... ๑๑๓ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ (มาตรา ๒๕๗-๒๖๑)................................................. ๑๑๕ บทเฉพาะกาล (มาตรา ๒๖๒-๒๗๙).............................................................................. ๑๒๒ ภาคผนวก หมายกาหนดการพระราชพิธีประกาศใช้รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐.............................................. (๑) สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐.. (๓) กระบวนการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญและกระบวนการตรารัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม................................................... (๓๙) กระบวนการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามบทเฉพาะกาล ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐..................... (๔๐) กระบวนการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามบททัว่ ไป ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐..................... (๔๑) กระบวนการตราพระราชบัญญัติตามบทเฉพาะกาล ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ในระหว่างทีส่ ภานิติบัญญัติแห่งชาติทาหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา)................................................................. (๔๒) กระบวนการตราพระราชบัญญัติ ตามหมวด ๗ รัฐสภา ส่วนที่ ๔ บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐.................................................................................... (๔๓) ที่มาและองค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร (ตามหมวด ๗ รัฐสภา ส่วนที่ ๒ สภาผู้แทนราษฎร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐).................................................................................. (๔๔) ที่มาและองค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร (ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๖๔..... (๔๕) ที่มาและองค์ประกอบของวุฒิสภา (ตามบทเฉพาะกาล มาตรา ๒๖๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐).................... (๔๖) ที่มาและองค์ประกอบของวุฒิสภา (ตามหมวด ๗ รัฐสภา ส่วนที่ ๓ วุฒิสภา ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐)...... (๔๗) ดัชนีค้นเรื่อง............................................................................................... (๔๙) ---------------------------- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๖๔) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย** สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ตราไว้ ณ วันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน ศุ ภ มั ส ดุ พระพุ ท ธศาสนกาลเป็ น อดี ต ภาค ๒๕๖๐ พรรษา ปั จจุ บั นสมั ย จั นทรคติ นิ ยม กุ กกุ ฏสมพั ตสร จิ ตรมาส ชุ ณหปั กษ์ ทสมี ดิ ถี สุริยคติกาล เมษายนมาส ฉัฏฐสุรทิน ครุวาร โดยกาลบริเฉท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าโปรดกระหม่ อมให้ ประกาศว่ า นายกรั ฐมนตรี ได้ นาความกราบบังคมทูลว่า นับแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รสยาม พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๗๕ เป็ น ต้ น มา การปกครองของประเทศไทยได้ดารงเจตนารมณ์ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขต่อเนื่องมาโดยตลอด แม้ได้มีการยกเลิก แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม และประกาศใช้ รั ฐธรรมนู ญเพื่ อจั ดระเบี ย บการปกครอง ให้ เ หมาะสมหลายครั้ง แต่ ก ารปกครองก็ มิ ไ ด้ มี เสถี ย รภาพหรื อ ราบรื่ น * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๐ ก หน้า ๑ วันที่ ๖ เมษายน ๒๕๖๐.* -๒- เรียบร้อยเพราะยังคงประสบปัญหาและข้อขัดแย้งต่าง ๆ บางครั้งเป็นวิกฤติ ทางรัฐธรรมนูญที่หาทางออกไม่ได้ เหตุส่วนหนึ่งเกิดจากการที่มีผู้ไม่นาพา หรื อ ไม่ นั บ ถื อ ย าเกรงกฎเกณฑ์ ก ารปกครองบ้ า นเมื อ ง ทุ จ ริ ต ฉ้ อ ฉลหรื อ บิดเบือนอานาจ หรือขาดความตระหนักสานึกรับผิดชอบต่อประเทศชาติ และประชาชน จนทาให้การบังคับใช้กฎหมายไม่เป็นผล ซึ่งจาต้องป้องกัน และแก้ไขด้วยการปฏิรูปการศึกษาและการบังคับใช้กฎหมาย และเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของระบบคุณธรรมและจริยธรรม แต่เหตุอีกส่วนหนึ่งเกิดจาก กฎเกณฑ์การเมืองการปกครองที่ยังไม่เหมาะสมแก่สภาวการณ์บ้านเมือง และกาลสมัย ให้ความสาคัญแก่ รูปแบบและวิธีการยิ่งกว่าหลักการพื้นฐาน ในระบอบประชาธิปไตยหรือไม่อาจนากฎเกณฑ์ที่มีอยู่มาใช้แก่พฤติกรรม ของบุค คลและสถานการณ์ ในยามวิก ฤติที่มี รู ปแบบและวิ ธี ก ารแตกต่ าง ไปจากเดิมให้ได้ผล รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๘ จึงได้บัญญัติให้ มี คณะกรรมการร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ มี ห น้ า ที่ ร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น หลั ก ในการปกครอง และเป็นแนวทางในการจัดทากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญและ กฎหมายอื่น โดยได้กาหนดกลไกเพื่อจัดระเบียบและสร้างความเข้มแข็ง แก่การปกครองประเทศขึ้นใหม่ด้วยการจัดโครงสร้างของหน้าที่และอานาจ ขององค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ และสัมพันธภาพระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติ กับฝ่ายบริหารให้เหมาะสม การให้สถาบันศาลและองค์กรอิสระอื่นซึ่งมีหน้าที่ ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐสามารถปฏิ บัติห น้า ที่ได้ อย่า งมี ประสิทธิ ภาพ สุจ ริต เที่ ย งธรรมและมี ส่ว นในการป้อ งกัน หรือ แก้ไ ขวิก ฤติข องประเทศ ตามความจาเป็นและความเหมาะสม การรับรอง ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทยให้ชัดเจนและครอบคลุมอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยถื อ ว่ า การมี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพเป็ น หลั ก การจ ากั ด ตั ด สิ ท ธิ เ สรี ภ าพเป็ น ข้ อ ยกเว้ น แต่ ก ารใช้ สิ ท ธิ เสรี ภ าพดั ง กล่ า วต้ อ งอยู่ ภ ายใต้ ก ฎเกณฑ์ เ พื่ อ คุ้มครองส่วนรวม การกาหนดให้รัฐมีหน้าที่ต่อประชาชนเช่นเดียวกับการให้ ประชาชนมีหน้าที่ต่อรัฐ การวางกลไกป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริต -๓- และประพฤติมิชอบที่เข้มงวด เด็ดขาด เพื่อมิให้ผู้บริหารที่ปราศจากคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลเข้ามามีอานาจในการปกครองบ้านเมืองหรือ ใช้อานาจตามอาเภอใจ และการกาหนดมาตรการป้องกันและบริหารจัดการ วิกฤติ การณ์ของประเทศให้ มี ประสิ ทธิภาพยิ่ งขึ้ น ตลอดจนได้ ก าหนดกลไก อื่น ๆ ตามแนวทางที่รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจัก รไทย (ฉบั บชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ระบุไว้ เพื่อใช้เป็น กรอบในการพัฒนาประเทศตาม แนวนโยบายแห่งรัฐและยุทธศาสตร์ชาติซึ่งผู้เข้ามาบริหารประเทศแต่ละคณะ จะได้กาหนดนโยบายและวิธีดาเนินการที่เหมาะสมต่อไป ทั้งยังสร้างกลไก ในการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ ที่สาคัญและจาเป็นอย่างร่วมมือร่วมใจกัน รวมตลอดทั้ งการลดเงื่ อ นไขความขั ดแย้ง เพื่ อให้ ประเทศมีค วามสงบสุ ข บนพื้นฐานของความรู้รักสามัคคีปรองดอง การจะดาเนินการในเรื่องเหล่านี้ ให้ลุล่วงไปได้ จาต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประชาชนทุกภาคส่วนกับ หน่ ว ยงานทั้ ง หลายของรั ฐ ตามแนวทางประชารั ฐ ภายใต้ ก ฎเกณฑ์ ต าม หลั ก การปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตยและประเพณี ก ารปกครอง ที่ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ แ ละลั ก ษณะสั ง คมไทย หลั ก ความสุ จ ริ ต หลักสิทธิมนุษยชน และหลักธรรมาภิบาล อันจะทาให้สามารถขับเคลื่อน ประเทศให้พัฒนาไปข้างหน้าได้อย่างเป็นขั้นตอนจนเกิดความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งในทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในการด าเนิน การดัง กล่ าว คณะกรรมการร่า งรัฐธรรมนูญ ได้ สร้ า งความรั บ รู้ ค วามเข้ า ใจแก่ ป ระชาชนในหลั ก การและเหตุ ผ ลของ บทบัญญัติต่าง ๆ เป็นระยะ ๆ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงร่างรัฐธรรมนูญ และความหมายโดยผ่านทางสื่อต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง และให้ประชาชน มีส่ ว นร่ว มในการพั ฒ นาสารัต ถะของร่ า งรั ฐธรรมนู ญ ด้ ว ยการเสนอแนะ ข้อควรแก้ไขเพิ่มเติม เมื่อการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ ก็ได้เผยแพร่ ร่ า งรั ฐธรรมนู ญ และค าอธิ บ ายสาระส าคั ญ ของร่ างรั ฐธรรมนู ญ โดยสรุ ป ในลักษณะที่ประชาชนสามารถเข้าใจเนื้อหาสาคัญของร่างรัฐธรรมนูญได้ โดยสะดวกและเป็นการทั่วไป และจัดให้มีการออกเสียงประชามติเพื่อให้ ความเห็นชอบแก่ร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ ในการนี้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ -๔- ได้ มี ม ติ เ สนอประเด็ น เพิ่ ม เติ ม อี ก ประเด็ น หนึ่ ง เพื่ อ ให้ มี ก ารออกเสี ย ง ประชามติ ใ นคราวเดี ย วกั น ด้ ว ย การออกเสี ย งประชามติ ป รากฏผลว่ า ประชาชนผู้มีสิทธิออกเสี ยงประชามติโดยคะแนนเสียงข้างมากของผู้ม า ออกเสี ย งประชามติ เ ห็ น ชอบกั บ ร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ และประเด็ น เพิ่ ม เติ ม ดังกล่าว คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจึงดาเนินการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญ ในส่วนที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับผลการออกเสีย งประชามติในประเด็น เพิ่ ม เติ ม และได้ ส่ ง ให้ ศ าลรั ฐ ธรรมนู ญ พิ จ ารณาว่ า เป็ น การชอบด้ ว ยผล การออกเสีย งประชามติแ ล้ว หรื อไม่ ซึ่ง ต่ อ มาศาลรัฐธรรมนูญ ได้ วินิ จฉั ย ให้ ค ณะกรรมการร่า งรั ฐ ธรรมนู ญ แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ข้ อ ความบางส่ ว น และ คณะกรรมการร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ ได้ ด าเนิ น การแก้ ไ ขตามค าวิ นิ จ ฉั ย ของ ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ แล้ ว นายกรั ฐ มนตรี จึ ง น าร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ ขึ้ น ทู ล เกล้ า ทูลกระหม่อมถวาย ต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พุทธศักราช ๒๕๖๐ บัญญัติ ให้นายกรัฐมนตรีขอรับพระราชทานร่างรัฐธรรมนูญนั้นคืนมาแก้ไขเพิ่มเติม เฉพาะบางประเด็ น ได้ เมื่ อ ด าเนิ น การแล้ ว เสร็ จ นายกรั ฐ มนตรี จึ ง น า ร่างรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยสืบไป ทรงพระราชดาริว่า สมควรพระราชทานพระราชานุมัติ จึงมี พระราชโองการด ารั สเหนือ เกล้า เหนือ กระหม่ อมให้ ตรา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับนี้ขึ้นไว้ ให้ใช้แทนรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งได้ตราไว้ ณ วันที่ ๒๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ ตั้งแต่วันประกาศนี้เป็นต้นไป ขอปวงชนชาวไทย จงมีความสมัครสโมสรเป็นเอกฉันท์ ในอัน ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามและพิ ทั ก ษ์ รั ก ษารั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทยนี้ เพื่อธารงคงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยและอานาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทย และนามาซึ่งความผาสุกสิริสวัสดิ์พิพัฒนชัยมงคล อเนกศุภผลสกลเกียรติยศ สถาพรแก่ อ าณาประชาราษฎรทั่ ว สยามรั ฐ สี ม า สมดั่ ง พระราชปณิ ธ าน ปรารถนาทุกประการ เทอญ -๕- หมวด ๑ บททั่วไป มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็ น ราชอาณาจั ก รอั น หนึ่ ง อั น เดี ย ว ราชอาณาจักรไทย จะแบ่งแยกมิได้ มาตรา ๒ ประเทศไทยมี ก ารปกครองระบอบประชาธิ ปไตย ระบอบการปกครอง อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มาตรา ๓ อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ อานาจอธิปไตย ผู้ ทรงเป็ น ประมุ ข ทรงใช้ อ านาจนั้ น ทางรั ฐสภา คณะรั ฐ มนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ การปฏิบัติหน้าที่ ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้ เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิติธรรม ตามหลักนิติธรรม เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค ความคุม้ ครอง ของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง แก่บุคคล ปวงชนชาวไทยย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกัน มาตรา ๕ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใด ความเป็นกฎหมาย ของกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ หรือการกระทาใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ สูงสุด บทบัญญัติหรือการกระทานั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้ เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บั งคับแก่กรณีใด ให้กระทา การใช้ประเพณี การนั้ นหรื อ วิ นิ จ ฉั ย กรณี นั้ น ไปตามประเพณี ก ารปกครองประเทศไทย การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หมวด ๒ พระมหากษัตริย์ มาตรา ๖ องค์ พระมหากษั ตริ ย์ ทรงด ารงอยู่ ในฐานะอั นเป็ นที่ พระมหากษัตริย์ เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ -๖- มาตรา ๗ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็น อัครศาสนูปถัมภก มาตรา ๘ พระมหากษั ต ริ ย์ ท รงด ารงต าแหน่ ง จอมทั พ ไทย มาตรา ๙ พระมหากษั ต ริ ย์ ท รงไว้ ซึ่ ง พระราชอ านาจที่ จ ะ สถาปนาและถอดถอนฐานั น ดรศั ก ดิ์ และพระราชทานและเรี ย กคื น เครื่องราชอิสริยาภรณ์ คณะองคมนตรี มาตรา ๑๐ พระมหากษั ตริ ย์ ทรงเลื อกและทรงแต่ งตั้ ง ผู้ทรงคุณวุ ฒิ เป็น ประธานองคมนตรี ค นหนึ่ ง และองคมนตรีอื่ น อี กไม่ เกิ น สิบแปดคนประกอบเป็นคณะองคมนตรี หน้าทีข่ อง คณะองคมนตรี มี ห น้ า ที่ ถ วายความเห็ น ต่ อ พระมหากษั ต ริ ย์ คณะองคมนตรี ในพระราชกรณียกิจทั้ง ปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่น ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ การแต่งตั้งและ มาตรา ๑๑ การเลื อ กและแต่ ง ตั้ ง องคมนตรี ห รื อ การให้ การให้องคมนตรี องคมนตรีพ้นจากตาแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย พ้นจากตาแหน่ง ให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ แต่งตั้งประธานองคมนตรีหรือให้ประธานองคมนตรีพ้นจากตาแหน่ง ให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ แต่งตั้งองคมนตรีอื่นหรือให้องคมนตรีอื่นพ้นจากตาแหน่ง ข้อห้ามของ มาตรา ๑๒ องคมนตรีต้องไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร องคมนตรี สมาชิกวุฒิสภา หรือดารงตาแหน่งทางการเมืองอื่น ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือเจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง หรือข้าราชการเว้นแต่การเป็น ข้าราชการในพระองค์ในตาแหน่งองคมนตรี และต้องไม่แสดงการฝักใฝ่ ในพรรคการเมืองใด ๆ การถวายสัตย์ มาตรา ๑๓ ก่อนเข้ารับหน้าที่ องคมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณ ปฏิญาณของ ต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคา ดังต่อไปนี้ องคมนตรี -๗- “ข้ า พระพุ ท ธเจ้ า (ชื่ อ ผู้ ป ฏิ ญ าณ) ขอถวายสั ต ย์ ป ฏิ ญ าณว่ า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้ และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ” มาตรา ๑๔ องคมนตรีพ้นจากตาแหน่งเมื่อตาย ลาออก หรือ การพ้นจากตาแหน่ง มีพระบรมราชโองการให้พ้นจากตาแหน่ง ขององคมนตรี มาตรา ๑๕ การแต่ ง ตั้ ง และการให้ ข้ า ราชการในพระองค์ การแต่งตั้งและการให้ พ้นจากตาแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย ข้าราชการในพระองค์ พ้นจากตาแหน่ง การจั ดระเบี ยบราชการและการบริ หารงานบุ คคลของราชการ ในพระองค์ ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยตามที่บัญญัติไว้ในพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๑๖ ในเมื่ อ พระมหากษั ต ริ ย์ จ ะไม่ ป ระทั บ อยู่ ใ น การแต่งตั้ง ราชอาณาจั ก ร หรื อ จะทรงบริห ารพระราชภาระไม่ ไ ด้ ด้ ว ยเหตุ ใ ดก็ ต าม ผู้สาเร็จราชการ แทนพระองค์ จะทรงแต่ ง ตั้ ง บุ ค คลคนหนึ่ ง หรื อ หลายคนเป็ น คณะขึ้ น ให้ เ ป็ น ผู้ ส าเร็ จ ราชการแทนพระองค์หรือไม่ก็ได้ และในกรณีที่ทรงแต่งตั้งผู้สาเร็จราชการ แทนพระองค์ ให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ มาตรา ๑๗ ในกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งผู้สาเร็จ การแต่งตั้ง ราชการแทนพระองค์ ต ามมาตรา ๑๖ หรื อ ในกรณี ที่ พ ระมหากษั ต ริ ย์ ผู้สาเร็จราชการ แทนพระองค์ ไม่สามารถทรงแต่งตั้งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์เพราะยังไม่ทรงบรรลุ ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ นิติภาวะหรือเพราะเหตุอื่น แต่ต่อมาคณะองคมนตรีพิจารณาเห็นว่ามีความ มิได้ทรงแต่งตั้งไว้ก่อน จาเป็นสมควรแต่งตั้งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์และไม่อาจกราบบังคมทูล ให้ ทรงแต่ ง ตั้ ง ได้ ทัน การ ให้ ค ณะองคมนตรี เ สนอชื่ อ บุ ค คลคนหนึ่ ง หรื อ หลายคนเป็นคณะ ตามลาดับที่โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมกาหนดไว้ก่อนแล้ว ให้ เป็ นผู้ ส าเร็จราชการแทนพระองค์ แล้ วแจ้ งประธานรั ฐสภาเพื่ อประกาศ ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ แต่งตั้งผู้นั้นขึ้นเป็นผู้สาเร็จราชการแทน พระองค์ มาตรา ๑๘ ในระหว่ า งที่ ไ ม่ มี ผู้ ส าเร็ จ ราชการแทนพระองค์ ผู้สาเร็จราชการ ตามมาตรา ๑๗ ให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ แทนพระองค์ เป็นการชั่วคราว เป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน -๘- ในกรณี ที่ ผู้ ส าเร็ จ ราชการแทนพระองค์ ซึ่ ง ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ตามมาตรา ๑๖ หรื อมาตรา ๑๗ ไม่ สามารถปฏิ บั ติ หน้ าที่ ได้ ให้ ประธาน องคมนตรีทาหน้าที่ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน ในระหว่ า งที่ ป ระธานองคมนตรี เ ป็ น ผู้ ส าเร็ จ ราชการแทน พระองค์ ต ามวรรคหนึ่ ง หรื อ ในระหว่ า งที่ ป ระธานองคมนตรี ท าหน้ า ที่ ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ตามวรรคสอง ประธานองคมนตรีจะปฏิบัติ หน้าที่ในฐานะเป็นประธานองคมนตรีมิได้ ในกรณีเช่นว่านี้ ให้คณะองคมนตรี เลือกองคมนตรี คนหนึ่งขึ้น ทาหน้ าที่ประธานองคมนตรีเป็น การชั่ วคราว ไปพลางก่อน การปฏิญาณตนของ มาตรา ๑๙ ก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้สาเร็จราชการ ซึ่ ง ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ตามมาตรา ๑๖ หรื อ มาตรา ๑๗ ต้ อ งปฏิ ญ าณตน แทนพระองค์ ในที่ประชุมรัฐสภาด้วยถ้อยคา ดังต่อไปนี้ “ข้าพเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอปฏิญาณว่า ข้าพเจ้าจะจงรักภักดี ต่อพระมหากษัตริย์ (พระปรมาภิไธย) และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตาม ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ” ผู้ ส าเร็ จ ราชการแทนพระองค์ ซึ่ ง เคยได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง และ ปฏิญาณตนมาแล้ว ไม่ต้องปฏิญาณตนอีก การสืบราชสมบัติและ มาตรา ๒๐ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ การสืบราชสมบัติให้เป็นไป การแก้ไขเพิม่ เติม โดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช กฎมณเฑียรบาลฯ ๒๔๖๗ การแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ เป็นพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ เมื่อมีพระราชดาริประการใด ให้คณะองคมนตรีจัดทาร่างกฎมณเฑียรบาล แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม กฎมณเฑี ย รบาลเดิ ม ขึ้ น ทู ล เกล้ า ทู ล กระหม่ อ มถวายเพื่ อ มีพระราชวินิจฉัย เมื่อทรงเห็นชอบและทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประธาน องคมนตรี ด าเนิ นการแจ้ งประธานรั ฐสภาเพื่ อให้ ประธานรั ฐสภาแจ้ งให้ รั ฐสภาทราบ และให้ ประธานรั ฐสภาลงนามรั บสนองพระบรมราชโองการ และเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ -๙- มาตรา ๒๑ ในกรณีที่ร าชบั ล ลั ง ก์ ห ากว่ า งลงและเป็ น กรณีที่ การอัญเชิญ พระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้ว ย ขึ้นทรงราชย์ เมื่อราชบัลลังก์ การสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ แล้ว ให้คณะรัฐมนตรีแจ้งให้ ว่างลง ประธานรั ฐ สภาทราบ และให้ ป ระธานรั ฐ สภาเรี ย กประชุ ม รั ฐ สภาเพื่ อ รับทราบ และให้ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์ เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ ในกรณีที่ราชบัลลังก์หากว่างลงและเป็นกรณีที่พระมหากษัตริย์ มิ ได้ ทรงแต่ งตั้ งพระรั ชทายาทไว้ ตามวรรคหนึ่ ง ให้ คณะองคมนตรี เสนอ พระนามผู้สืบราชสันตติวงศ์ตามมาตรา ๒๐ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อ รัฐสภาเพื่อ รัฐสภาให้ความเห็นชอบ ในการนี้ จะเสนอพระนามพระราชธิดา ก็ ได้ เมื่ อรัฐสภาให้ ความเห็ นชอบแล้ ว ให้ ประธานรั ฐสภาอั ญเชิ ญองค์ ผู้ สื บ ราชสั นตติ วงศ์ ขึ้ น ทรงราชย์ เ ป็ น พระมหากษั ต ริ ย์ สื บ ไป แล้ ว ให้ ป ระธาน รัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ มาตรา ๒๒ ในระหว่างที่ยังไม่มีประกาศอัญเชิญองค์พระรัชทายาท ผู้สาเร็จราชการ หรือองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริ ย์ตามมาตรา ๒๑ แทนพระองค์ เป็นการชั่วคราว ให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราว ในกรณีที่ราชบัลลังก์ ไปพลางก่ อน แต่ในกรณีที่ราชบั ลลั ง ก์ หากว่ างลงในระหว่ า งที่ ไ ด้ แต่ ง ตั้ ง ว่างลง ผู้ ส าเร็ จ ราชการแทนพระองค์ ไ ว้ ต ามมาตรา ๑๖ หรื อ มาตรา ๑๗ หรื อ ระหว่ างเวลาที่ ประธานองคมนตรี เป็ นผู้ ส าเร็ จราชการแทนพระองค์ ตาม มาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ ง ให้ ผู้ ส าเร็จราชการแทนพระองค์ นั้ น ๆ แล้ วแต่ กรณี เป็นผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ต่ อไป ทั้ งนี้ จนกว่าจะได้ประกาศอัญเชิ ญ องค์พระรัชทายาทหรือองค์ผู้สืบราชสันตติวงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ในกรณีที่ผู้สาเร็จ ราชการแทนพระองค์ซึ่งได้ รับการแต่งตั้งไว้ และเป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ต่อไปตามวรรคหนึ่ง ไม่สามารถปฏิบัติ หน้ าที่ ไ ด้ ให้ ป ระธานองคมนตรี ทาหน้ า ที่ ผู้ ส าเร็ จ ราชการแทนพระองค์ เป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน ในกรณีที่ประธานองคมนตรีเป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ ตามวรรคหนึ่ง หรือทาหน้าที่ผู้ สาเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราว ตามวรรคสอง ให้นามาตรา ๑๘ วรรคสาม มาใช้บังคับ - ๑๐ - การเลือกองคมนตรี มาตรา ๒๓ ในกรณีที่คณะองคมนตรีจะต้องปฏิบัติหน้าที่ตาม เพื่อทาหน้าที่ มาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๒๑ วรรคสอง หรือประธานองคมนตรีจะต้องเป็น ประธานองคมนตรี หรือทาหน้าที่ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ ตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่งหรือ หรือผู้สาเร็จราชการ วรรคสอง หรือ มาตรา ๒๒ วรรคสอง และอยู่ ในระหว่า งที่ ไ ม่ มีป ระธาน แทนพระองค์ องคมนตรี หรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะองคมนตรีที่เหลืออยู่ เลื อ กองคมนตรีค นหนึ่ ง เพื่ อ ทาหน้ า ที่ ป ระธานองคมนตรี หรื อ เป็ น หรื อ ทาหน้าที่ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง แล้วแต่กรณี การถวายสัตย์ มาตรา ๒๔ การถวายสั ตย์ ป ฏิ ญาณต่ อ พระมหากษั ตริ ย์ ต าม ปฏิญาณ รัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย พระมหากษัตริย์ จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้กระทาต่อพระรัชทายาทซึ่งทรงบรรลุนิติภาวะแล้ว หรือต่อผู้แทนพระองค์ก็ได้ ในระหว่างที่ยังมิได้ถวายสัตย์ปฏิญาณตามวรรคหนึ่ง จะโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้ผู้ซึ่งต้องถวายสัตย์ปฏิญาณปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนก็ได้ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย การรับรองสิทธิ มาตรา ๒๕ สิ ทธิ และเสรี ภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่ และเสรีภาพ บัญญัติคุ้มครองไว้เป็นการเฉพาะในรัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือ จากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่น บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพ ที่จะทาการนั้นได้และได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าที่การใช้ สิทธิหรือเสรีภาพเช่นว่านั้นไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคง ของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิด สิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น การใช้สิทธิและ สิ ท ธิ ห รื อ เสรี ภ าพใดที่ รั ฐ ธรรมนู ญ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก ฎหมาย เสรีภาพ บัญญัติ หรือให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ แม้ยัง ไม่มีการตรากฎหมายนั้นขึ้นใช้บังคับ บุคคลหรือชุมชนย่อมสามารถใช้สิทธิ หรือเสรีภาพนั้นได้ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ - ๑๑ - บุ ค คลซึ่ ง ถู ก ละเมิ ด สิ ท ธิ ห รื อ เสรี ภ าพที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครอง ตามรัฐธรรมนูญ สามารถยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาล หรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพ หรื อ จากการกระทาความผิ ด อาญาของบุ ค คลอื่ น ย่ อ มมี สิ ทธิ ที่ จ ะได้ รั บ การเยียวยาหรือช่วยเหลือจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๖ การตรากฎหมายที่ มี ผ ลเป็ น การจ ากั ด สิ ทธิ ห รื อ การตรากฎหมาย เสรีภาพของบุคคลต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ในกรณี จากัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคล ที่รัฐธรรมนู ญมิไ ด้ บัญ ญัติ เงื่อ นไขไว้ กฎหมายดั งกล่ า วต้ องไม่ขั ดต่อ หลั ก นิติธรรม ไม่เพิ่มภาระหรือ จากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควร แก่เหตุ และจะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้ รวมทั้ง ต้องระบุเหตุผลความจาเป็นในการจากัดสิทธิและเสรีภาพไว้ด้วย กฎหมายตามวรรคหนึ่ ง ต้ อ งมี ผ ลใช้ บั ง คั บ เป็ น การทั่ ว ไป ไม่ มุ่ ง หมายให้ ใ ช้ บั ง คั บ แก่ ก รณี ใ ดกรณี ห นึ่ ง หรื อ แก่ บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง เป็นการเจาะจง มาตรา ๒๗ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพ ความเสมอภาค และได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลื อ กปฏิ บั ติ โ ดยไม่ เ ป็ น ธรรมต่ อ บุ ค คล ไม่ ว่ า ด้ ว ยเหตุ ความแตกต่างในเรื่องถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพ ทางกายหรื อ สุ ข ภาพ สถานะของบุ ค คล ฐานะทางเศรษฐกิ จ หรื อ สั ง คม ความเชื่ อ ทางศาสนา การศึ ก ษาอบรม หรื อ ความคิ ด เห็ น ทางการเมื อ ง อันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใด จะกระทามิได้ มาตรการที่รัฐกาหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคล สามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองหรือ อานวยความสะดวกให้แก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาส ย่อมไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามวรรคสาม - ๑๒ - บุคคลผู้เป็นทหาร ตารวจ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ และ พนักงานหรือลูกจ้างขององค์กรของรัฐ ย่อมมีสิทธิและเสรีภาพเช่นเดียวกับ บุคคลทั่วไป เว้นแต่ที่จากัดไว้ในกฎหมายเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการเมือง สมรรถภาพ วินัย หรือจริยธรรม สิทธิและเสรีภาพ มาตรา ๒๘ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย ในชีวิตและร่างกาย การจับและการคุมขังบุคคลจะกระทามิได้ เว้นแต่มีคาสั่งหรือ หมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ การค้นตัวบุคคลหรือการกระทาใดอันกระทบกระเทือนต่อสิทธิ หรือเสรีภาพในชีวิ ตหรือร่างกายจะกระทามิได้ เว้นแต่ มีเหตุตามที่กฎหมาย บัญญัติ การทรมาน ทารุณกรรม หรือ การลงโทษด้วยวิธีการโหดร้า ย หรือไร้มนุษยธรรมจะกระทามิได้ การรับโทษ มาตรา ๒๙ บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทาการ ทางอาญา อันกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทานั้นบัญญัติเป็นความผิดและกาหนดโทษไว้ และโทษที่ จ ะลงแก่ บุ ค คลนั้ น จะหนั ก กว่ า โทษที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ นกฎหมาย ที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทาความผิดมิได้ ข้อสันนิษฐาน ในคดีอ าญา ให้ สัน นิ ษฐานไว้ ก่ อ นว่ า ผู้ ต้อ งหาหรื อจ าเลยไม่ มี ในคดีอาญา ความผิ ด และก่ อ นมี ค าพิ พ ากษาอั น ถึ ง ที่ สุ ด แสดงว่ า บุ ค คลใดได้ ก ระท า ความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทาความผิดมิได้ การควบคุ ม หรือ คุ ม ขั ง ผู้ ต้ อ งหาหรื อ จ าเลยให้ ก ระทาได้ เพี ย ง เท่าที่จาเป็น เพื่อป้องกันมิให้มีการหลบหนี ในคดีอาญา จะบังคับให้บุคคลให้การเป็นปฏิปักษ์ต่อตนเองมิได้ คาขอประกันผู้ต้องหาหรือจาเลยในคดีอาญาต้องได้รับการพิจารณา และจะเรียกหลักประกันจนเกินควรแก่กรณีมิได้ การไม่ให้ประกันต้องเป็นไป ตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ การเกณฑ์แรงงาน มาตรา ๓๐ การเกณฑ์แรงงานจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัย อานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ หรือในขณะที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินหรือประกาศใช้กฎอัยการศึก หรือในระหว่างเวลาที่ประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือการรบ - ๑๓ - มาตรา ๓๑ บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการถือศาสนาและ เสรีภาพใน ย่อมมีเสรีภาพในการปฏิบัติ หรือประกอบพิธีกรรมตามหลัก ศาสนาของตน การถือศาสนา แต่ต้ องไม่ เป็น ปฏิ ปัก ษ์ต่ อหน้ าที่ ของปวงชนชาวไทย ไม่เป็นอั นตรายต่ อ ความปลอดภัยของรัฐ และไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน มาตรา ๓๒ บุคคลย่อมมีสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ สิทธิส่วนบุคคล ชื่อเสียง และครอบครัว การกระทาอั น เป็ น การละเมิ ดหรื อกระทบต่ อสิ ทธิข องบุ ค คล ตามวรรคหนึ่ง หรือการนาข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าในทางใด ๆ จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้น เพียงเท่าที่จาเป็นเพื่อประโยชน์สาธารณะ มาตรา ๓๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน เสรีภาพในเคหสถาน การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผู้ครอบครอง หรื อ การค้ น เคหสถานหรือ ที่ รโหฐานจะกระท ามิ ไ ด้ เว้ น แต่ มี ค าสั่ ง หรื อ หมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๓๔ บุ ค คลย่ อ มมี เ สรี ภ าพในการแสดงความคิ ด เห็ น เสรีภาพในการแสดง การพู ด การเขี ยน การพิ มพ์ การโฆษณา และการสื่ อความหมายโดยวิ ธี อื่ น ความคิดเห็น การจากัดเสรีภาพดังกล่าวจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมายที่ตราขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิ หรือเสรีภาพของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน หรือเพื่อป้องกันสุขภาพของประชาชน เสรีภาพทางวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง แต่การใช้เสรีภาพนั้น ต้องไม่ขัด ต่อหน้าที่ข องปวงชนชาวไทยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และต้องเคารพและไม่ปิดกั้นความเห็นต่างของบุคคลอื่น มาตรา ๓๕ บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนย่อมมีเสรีภาพ เสรีภาพของ ในการเสนอข่าวสารหรือการแสดงความคิดเห็นตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพ สื่อมวลชน การสั่ ง ปิ ด กิ จ การหนั ง สื อ พิ ม พ์ห รื อ สื่ อ มวลชนอื่ น เพื่ อ ลิ ด รอน เสรีภาพตามวรรคหนึ่ง จะกระทามิได้ - ๑๔ - การให้ น าข่ า วสาร