แผนการจัดการเรียนรู้ PDF - วิชาวิทยาศาสตร์
Document Details
![UsableEpitaph4599](https://quizgecko.com/images/avatars/avatar-18.webp)
Uploaded by UsableEpitaph4599
โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ
2567
สุวนันท์ ผักไหม
Tags
Summary
แผนการจัดการเรียนรู้นี้จัดทำขึ้นสำหรับการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เกี่ยวกับเรื่องวัสดุและสสาร โดยมีหน่วยการเรียนรู้ย่อยเกี่ยวกับสถานะของสาร (แก๊ส) พร้อมทั้งมีแบบประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน รวมถึงทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Full Transcript
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ว14101 รายวิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วัสดุและสสาร นาสาวสุวนันท์ ผักไหม นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ภาคเรียนที่ 2/2567 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำ...
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ว14101 รายวิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วัสดุและสสาร นาสาวสุวนันท์ ผักไหม นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ภาคเรียนที่ 2/2567 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ที…่ ………../2567 วันที่ 23 เดือน มกราคม พ.ศ. 2568 เรื่อง ขออนุญาตใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เรียน หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ ข้าพเจ้า นางสาวสุวนันท์ ผักไหม ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณืวิชาชีพครูระหว่างเรียน ( ขั้นทดลองสอน ) ระหว่างวันที่ 20 มกราคม ถึง 31 มกราคม พ.ศ. 2568 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567 ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว14101 ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ในครั้งนี้ จึงขออนุญาตใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ถึง 5 ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุ และสสาร หน่วยย่อยที่ 2 เรื่องสถานะของสาร (แก๊ส) ตลอดการฝึกประสบการณืวิชาชีพครูระหว่างเรียน ( ขั้นทดลองสอน ) ที่โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษในครั้งนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการโรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ อนุญาตให้ใช้จัดการเรียนการสอนได้ ควรปรับปรุง/พัฒนาเกี่ยวกับ…………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ…………………………………………. (……………………………………………….) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ …………./…………………../…………… แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แก๊ส (1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วัสดุและสสาร หน่วยย่อยที่ 2 เรื่อง สถานะของสาร รหัสวิชา ว14101 รายวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2/2567 เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ทำการสอน / / ผู้สอน นาสาวสุวนันท์ ผักไหม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวชี้วัด ว 2.1 ป.4/3 เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง 3 สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกต มวล การ ต้องการที่อยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร ว 2.1 ป.4/4 ใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวล และปริมาตรของ สสารทั้ง 3 สถานะ 2. สาระสําคัญ สสารมีมวลและต้องการที่อยู่สสารมีสถานะเป็น ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สสารแต่ละสถานะมี สมบัติบางอย่างเหมือน และบางอย่างแตกต่างกัน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - อธิบายสมบัติการมีมวลของอากาศ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - วัดมวลของอากาศโดยใช้เครื่องชั่งทศนิยมสามตำแหน่ง - ใช้จํานวนเพื่อคํานวณหาค่ามวลของอากาศ - ลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับการมีมวลของแก๊ส 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เจตคติ ค่านิยม (A) - ความเชื่อมั่นต่อหลักฐาน - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย 4. สาระการเรียนรู้ แก๊สเป็นสถานะหนึ่งของสสาร แก๊สมีมวล ชั่งได้โดยใช้เครื่องชั่งทศนิยมสามตำแหน่ง 5. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร - อธิบายเกี่ยวกับการมีมวลของแก๊ส 5.2 ความสามารถในการคิด - คํานวณหาค่ามวลของอากาศ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มีวินัย 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน (เวลา 10 นาที) 1. ครูนําเข้าสู่กิจกรรม โดยตรวจสอบความรู้เดิมและเข้าสู่กิจกรรมใหม่เกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส โดยใช้ คําถามดังนี้ 1.1 นักเรียนคิดว่ารอบตัวเรามีอะไรบ้างที่เป็นแก๊ส ยกตัวอย่างพร้อมให้เหตุผล (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง) 1.2 แก๊สมีสมบัติอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ครูเขียนคําตอบของนักเรียนไว้บนกระดาษปรู๊ฟ ในบริเวณที่สามารถย้อนกลับมาดูได้ภายหลัง ขั้นสอน (เวลา 40 นาที) 2. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และจุดประสงค์ของกิจกรรมในใบกิจกรรมที่ 1 แก๊สมีมวลและต้องการที่อยู่หรือไม่ ห ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ จะเรียน โดยใช้คําถามดังต่อไปนี้ 2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร (มวล และการต้องการที่อยู่ของแก๊ส) 2.2 นักเรียนจะได้เรียนเรื่องนี้ด้วยวิธีใด (การสังเกต) 2.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทําอะไรได้ (สามารถอธิบายสมบัติเกี่ยวกับมวล และการต้องการที่อยู่ของ แก๊ส) 3. ครูแจ้งจุดประสงค์ว่า ในชั่วโมงนี้นักเรียนจะได้สังเกตและอธิบายเกี่ยวกับมวลของแก๊ส 4. ครูให้นักเรียนอ่านวิธีทําในใบกิจกรรมที่ 1 (ทำอย่างไร) ตอนที่ 1 จากนั้นตรวจสอบความเข้าใจขั้นตอนการ ทํากิจกรรม โดยใช้คําถามดังนี้ 4.1 กิจกรรมนี้ใช้อะไรเป็นตัวแทนของแก๊ส (ใช้อากาศเป็นตัวแทนของแก๊ส) 4.2 นักเรียนต้องอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องอะไร (อภิปรายว่าอากาศมีมวลหรือไม่) 4.3 นักเรียนต้องวางแผนและตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องอะไร (มวลของอากาศ) 4.4 นักเรียนคิดว่าจะตรวจสอบว่าอากาศมีมวลหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง เช่น นําอากาศมาชั่งบนเครื่องชั่ง) 5. ครูแสดงอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมนี้ แล้วให้นักเรียนอภิปรายว่าอากาศมีมวลหรือไม่ บันทึกผล และ วางแผนวิธีการตรวจสอบมวลของอากาศ และบันทึกลงในใบงาน เป็นเวลา 5 นาที 6. ครูสุ่มกลุ่มนักเรียนมานําเสนอและอภิปราย ดังนี้ 6.1 นักเรียนคิดว่าอากาศมีมวลหรือไม่ (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตน เช่น มี เพราะสัมผัส อากาศได้ ไม่มีเพราะมองไม่เห็น) 6.2 หากนักเรียนคิดว่าอากาศมีมวล นักเรียนจะมีวิธีตรวจสอบมวลของอากาศได้อย่างไร (นําอากาศ ใส่ในลูกโป่งโดยการเป่าแล้วมัดด้วยยางรัดของ แล้วจึงนําไปชั่ง) ครูอธิบายเพิ่มเติม เมื่อจะชั่งลูกโป่ง ที่เป่าแล้ว ให้นักเรียนวางลูกโป่งบนเทปใส ที่ครูติดไว้ที่เครื่องชั่ง เพื่อไม่ให้ลูกโป่งปลิว 6.3 หากนักเรียนนําลูกโป่งที่เป่าและมัดด้วยยางไปชั่งมวลที่อ่านค่าได้จะเป็นมวลของอะไร (มวลของ อากาศ รวมกับลูกโป่ง ยางรัดของ และเทปใส) 6.4 ถ้าเราอยากทราบว่ามวลของอากาศอย่างเดียวเท่ากับเท่าไหร่ จะต้องทําอย่างไร (ชั่งมวลของ ลูกโป่ง ยางรัดของ และเทปใสก่อน จากนั้นเป่าลูกโป่ง มัดด้วยยางรัดของ และวางลูกโป่งบนเทปใส ที่ติดไว้ที่เครื่องชั่ง แล้วชั่งมวลอีกครั้งหนึ่ง แล้วนําค่ามวลทั้งสองค่ามาลบกันจะได้เป็นค่ามวลของ อากาศ) 7. ครูให้ตัวแทนนักเรียนมารับอุปกรณ์เพื่อทํากิจกรรมที่หน้าชั้นเรียน หลังจากทํากิจกรรมแล้วให้นักเรียน บันทึกผลลงในใบงาน 01 มวลและการต้องการที่อยู่ของแก๊ส จากนั้น ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนําเสนอ สิ่งที่ค้นพบ 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยครูใช้คําถาม ดังนี้ 8.1 เมื่อนําลูกโป่งที่เป่าแล้วไปวางบนเครื่องชั่งมวล นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง (สังเกตเห็นค่าตัว เลขที่เปลี่ยนแปลงไป) 8.2 มวลของลูกโป่ง ก่อนและหลังเป่าอากาศเข้าไป เท่ากันหรือไม่ อย่างไร (ไม่เท่ากัน ตอบตามผล การทํากิจกรรม เช่น หลังเป่ามีมวลมากกว่า) 8.3 มวลที่ต่างกันเป็นมวลของอะไร (มวลของอากาศ) 8.4 นักเรียนค้นพบอะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ (อากาศมีมวล) 8.5 อากาศเป็นตัวแทนของสสารในสถานะใด (แก๊ส) 8.6 นักเรียนจะสรุปกิจกรรมได้ว่าอย่างไร (แก๊สมีมวล) ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การที่แก๊สมีมวลเป็น สมบัติ หนึ่งของสสารที่มีสถานะแก๊ส 9. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งอื่น ๆ รอบตัวที่มีมวลเหมือนอากาศ (ตอบได้หลากหลาย เช่น แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สออกซิเจน) 10. ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคําถามหลังจากทํากิจกรรม ขั้นสรุป (เวลา 10 นาที) 11. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสรุปความรู้ด้วยตนเอง เกี่ยวกับมวลของแก๊ส 12. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า แก๊สมีมวล 8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 8.1 สื่อสไลด์ เรื่อง แก๊ส (1) 8.2 ใบกิจกรรมที่ 1 แก๊สมีมวลและต้องการที่อยู่หรือไม่ 8.3 ใบงาน 01 มวล และการต้องการที่อยู่ของแก๊ส 8.4 ลูกโป่ง 8.5 เครื่องชั่งทศนิยมสามตำแหน่ง 8.6 ยางรัดของ 8.7 เทปใส 9. ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน 01 มวล และการต้องการที่อยู่ของแก๊ส 10. การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ สังเกตการตอบคําถาม แบบประเมินการตอบ ผ่านเกณฑ์การประเมิน - อธิบายสมบัติการมีมวล ในชั้นเรียน คําถามในชั้นเรียน ระดับคุณภาพดีขึ้นไป ของอากาศ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ สังเกตทักษะกระบวนการ แบบประเมินทักษะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน - วัดมวลของอากาศโดยใช้ ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทาง ระดับคุณภาพพอใช้ เครื่องชั่งทศนิยมสาตำแหน่ง ในการทํากิจกรรม วิทยาศาสตร์ ขึ้นไป - ใช้จํานวนเพื่อคํานวณหา ค่ามวลของอากาศ - ลงความเห็นจากข้อมูล เกี่ยวกับการมีมวลของแก๊ส 3. ด้านคุณลักษณะอันพึง สังเกตคุณลักษณะ แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ประสงค์เจตคติ ค่านิยม อันพึงประสงค์เจตคติ อันพึงประสงค์เจตคติ ระดับคุณภาพ “ผ่าน” - ความเชื่อมั่นต่อหลักฐาน ค่านิยม - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย 4. สมรรถนะสําคัญของ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินสมรรถนะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ผู้เรียน ในขณะทํากิจกรรม สําคัญของผู้เรียน ระดับคุณภาพ “ผ่าน” 1. ความสามารถในการ สื่อสาร - อธิบายเกี่ยวกับการมีมวล ของแก๊ส 2. ความสามารถในการคิด - คํานวณหาค่ามวลของ อากาศ แบบประเมินการตอบคําถามในชั้นเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แก๊ส (1) ชื่อผู้ประเมิน......................................................................................................................................................... ประเมินผลครั้งที่......................................วัน........................เดือน............................พ.ศ..................................... เรื่อง...................................................................................................................................................................... รายการประเมิน/ระดับคะแนน 1. การตอบ 2. การสรุป 3. ความถูกต้อง คําถามในชั้น ความรู้ (4) ครบถ้วนของ รวมคะแนน ชื่อ - สกุล เรียน (4) เนื้อหา (10 คะแนน) ในใบงาน(2) 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 เกณฑ์การประเมิน ประเด็น ระดับคุณภาพ น้ำหนัก การประเมิน 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1(ปรับปรุง) คะแนน รวม 1. การตอบ ตอบคําถามได้ ตอบคําถาม ตอบคําถาม ตอบคําถาม คําถามในชั้น ถูกต้องทั้งหมด ได้ถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง เรียน เป็นส่วนใหญ่ บางส่วน 1.0 4 2.การสรุป สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ ความรู้ ความเข้าใจ ความเข้าใจ ความเข้าใจ เข้าใจเกี่ยวกับ เกี่ยวกับเรื่องที่ เกี่ยวกับเรื่อง เกี่ยวกับเรื่อง เรื่องที่ศึกษา ศึกษาได้ ที่ศึกษาได้ ที่ศึกษาได้ ไม่ถูกต้อและ 1.0 4 ถูกต้องและ ถูกต้องแต่ไม่ ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน บางส่วนและ ไม่ครบถ้วน 3. ความ เนื้อหาที่เขียน เนื้อหาที่เขียน เนื้อหาที่เขียน เนื้อหาที่เขียน ถูกต้อง ในใบงานมี ในใบงานมี ในใบงานมี ในใบงานไม่ ครบถ้วนของ ความถูกต้อง บางส่วน ความถูกต้อง ถูกต้อง เนื้อหาในใบ ครบถ้วนตามที่ ไม่ถูกต้อง เป็นส่วนน้อย 0.5 2 งาน กำหนด ตามที่ กําหนด เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 9-10 ดีมาก 7-8 ดี 5-6 พอใช้ ต่ำกว่า 5 ปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพดีขึ้นไป แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แก๊ส (1) ชื่อผู้ประเมิน………………….................................................................................................................................... ชื่อกลุ่มรับการประเมิน......................................................................................................................................... ประเมินผลครั้งที่......................................วัน........................เดือน............................พ.ศ..................................... เรื่อง...................................................................................................................................................................... รายการประเมิน/ระดับคะแนน 1. การวัด 2. การใช้ 3. การลง จํานวน ความเห็นจาก รวมคะแนน ชื่อ - สกุล ข้อมูล (9 คะแนน) 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 เกณฑ์การประเมิน ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) การวัด สามารถใช้เครื่องชั่งทศนิยม สามารถใช้เครื่องชั่งทศนิยม สามารถใช้เครื่องชั่งทศนิยม สามตำแหน่ง อ่านค่ามวล สามตำแหน่งอ่านค่ามวล สามตำแหน่ง อ่านค่ามวล และระบุหน่วยได้อย่าง และระบุหน่วยได้โดย และระบุหน่วยได้บางส่วน ถูกต้องได้ด้วยตนเอง อาศัยการชี้แนะของครู แม้จะได้รับคําชี้แนะจากครู หรือผู้อื่น หรือผู้อื่น การใช้จํานวน สามารถคํานวณหาผลต่าง สามารถคํานวณหาผลต่าง สามารถคํานวณหาผลต่าง มวลของลูกโป่งหลังบรรจุ มวลของลูกโป่งหลังบรรจุ มวลของลูกโป่งหลังบรรจุ อากาศกับก่อนบรรจุอากาศ อากาศกับก่อนบรรจุอากาศ อากาศกับก่อนบรรจุอากาศ เพื่อคํานวณหาค่ามวล เพื่อคํานวณหาค่ามวลของ เพื่อคํานวณหาค่ามวลของ ของอากาศได้ถูกต้อง อากาศได้ถูกต้องโดยอาศัย อากาศได้บางส่วน แม้จะ ด้วยตนเอง การชี้แนะจากครู ได้รับบคําชี้แนะจากครูหรือ หรือผู้อื่น ผู้อื่น การลงความเห็น สามารถใช้ข้อมูลจาก สามารถใช้ข้อมูลจาก สามารถใช้ข้อมูลจาก จากข้อมูล การสังเกตมาลงความเห็น การสังเกตมาลงความเห็น การสังเกตมาลงความเห็น เกี่ยวกับมวลของแก๊ส ด้วย เกี่ยวกับมวลของแก๊สโดย เกี่ยวกับมวลของแก๊สได้ ตนเอง อาศัยการชี้แนะจากครู บางส่วน แม้จะได้รับ หรือผู้อื่น คําชี้แนะจากครูหรือผู้อื่น เกณฑ์การประเมินคุณภาพ คะแนน ระดับคุณภาพ 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 1-3 ปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เจตคติ ค่านิยม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แก๊ส (1) ชื่อผู้ประเมิน………………...................................................................................................................................... ชื่อกลุ่มรับการประเมิน........................................................................................................................................ ประเมินผลครั้งที่......................................วัน........................เดือน............................พ.ศ.................................... เรื่อง..................................................................................................................................................................... เกณฑ์การตัดสิน ที่ ลักษณะ/พฤติกรรมบ่งชี้ ผ่าน ไม่ผา่ น 1. ความเชื่อมั่นต่อหลักฐาน 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มีวินัย เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพ “ผ่าน” แบบประเมินสมรรถนะสําคัญของผู้เรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แก๊ส (1) ชื่อผู้ประเมิน......................................................................................................................................................... ชื่อกลุ่มรับการประเมิน.......................................................................................................................................... ประเมินผลครั้งที่......................................วัน........................เดือน............................พ.ศ..................................... เรื่อง.................................................................................................................................................................... เกณฑ์การตัดสิน ที่ ลักษณะ/พฤติกรรมบ่งชี้ ผ่าน ไม่ผา่ น 1. ความสามารถในการ สื่อสาร - อธิบายเกี่ยวกับการมี มวลของแก๊ส 2. ความสามารถในการคิด - คํานวณหาค่ามวลของ อากาศ เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพ “ผ่าน” บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ปัญหา/อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ………………………………………….ผู้สอน ( นางสาวสุวนันท์ ผักไหม ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู …………./…………………../…………… แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แก๊ส (2) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วัสดุและสสาร หน่วยย่อยที่ 2 เรื่อง สถานะของสาร รหัสวิชา ว14101 รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2/2567 เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ทำการสอน / / ผู้สอน นาสาวสุวนันท์ ผักไหม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวชี้วัด ว 2.1 ป.4/3 เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง 3สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกต มวล การ ต้องการที่อยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร 2. สาระสําคัญ สสารมีมวลและต้องการที่อยู่สสารมีสถานะเป็น ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สสารแต่ละสถานะ มีสมบัติบางอย่างเหมือน และบางอย่างแตกต่างกัน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - อธิบายสมบัติการต้องการที่อยู่ของแก๊ส 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - สังเกตระดับน้ำและการเปลี่ยนแปลงในแก้วน้ำ - หาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซของอากาศและน้ำ - ลงความเห็นข้อมูลเกี่ยวกับการต้องการที่อยู่ของแก๊ส 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เจตคติ ค่านิยม (A) - ความเชื่อมั่นต่อหลักฐาน - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย 4. สาระการเรียนรู้ แก๊สเป็นสถานะหนึ่งของสสาร แก๊สต้องการที่อยู่ 5. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร - อธิบายเกี่ยวกับการต้องการที่อยู่ของแก๊ส 5.2 ความสามารถในการคิด - คิดวิเคราะห์เชื่อมโยงผลการทํากิจกรรมกับการต้องการที่อยู่ของแก๊ส 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มีวินัย 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน (เวลา 10 นาที) 1. ครูทบทวนความรู้จากกิจกรรมที่ผ่านมาเกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส โดยใช้คําถามดังนี้ 1.1 กิจกรรมที่ผ่านมาเราได้เรียนรู้ว่า สมบัติอะไรของแก๊ส (สมบัติการมีมวล) 1.2 นอกจากแก๊สมีมวลแล้ว ยังมีสมบัติอะไรอีกบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ขั้นสอน (เวลา 40 นาที) 2. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และจุดประสงค์ของกิจกรรมในใบกิจกรรมที่ 1 แก๊สมีมวลและต้องการที่อยู่ หรือไม่ ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียน โดยใช้คําถามดังต่อไปนี้ 2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร (มวล และการต้องการที่อยู่ของแก๊ส) 2.2 นักเรียนจะได้เรียนเรื่องนี้ด้วยวิธีใด (การสังเกต) 2.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทําอะไรได้ (สามารถอธิบายเกี่ยวกับมวล และการต้องการที่อยู่ของแก๊ส) 3. ครูแจ้งจุดประสงค์ให้นักเรียนทราบอีกครั้งว่า ในชั่วโมงนี้นักเรียนจะได้สังเกตและอธิบายเกี่ยวกับการ ต้องการที่อยู่ของแก๊ส 4. ครูให้นักเรียนอ่านวิธีทําในใบกิจกรรมที่ 1 ตอนที่ 2 จากนั้นตรวจสอบความเข้าใจขั้นตอนการทํากิจกรรม โดยใช้คําถามดังนี้ 4.1 กิจกรรมนี้ใช้อะไรเป็นตัวแทนของแก๊ส (ใช้อากาศเป็นตัวแทนของแก๊ส) 4.2 วิธีทําข้อ 1 นักเรียนต้องทําอะไร (ใส่น้ำสีในแก้วให้เต็มแล้วคว่ำในอ่างน้ำโดยแก้วที่คว่ำแล้วต้องไม่ มีฟองอากาศอยู่) 4.3 วิธีทําข้อ 2 นักเรียนต้องทําอะไร (ใช้ถุงพลาสติกใสเก็บอากาศรอบ ๆ ตัวแล้วรับปากถุงให้แน่น เสียบปลายข้างหนึ่งของหลอดดูด เข้าในถุงและปิดปลายอีกข้างหนึ่งไว้) 4.4 หลังจากนั้นนักเรียนต้องทําอะไรต่อ (อภิปรายและบันทึกว่าจะเกิดอะไรขึ้นถ้าบีบอากาศ ในถุงพลาสติกเข้าไปในแก้วน้ำที่มีนำ้ อยู่เต็ม) 4.5 หลังจากอภิปรายและบันทึกเรียบร้อยนักเรียนจะต้องทําอะไรต่อ (ทํากิจกรรมโดยบีบอากาศ ในถุงพลาสติกเข้าไปในแก้วน้ำที่มีนำ้ าอยู่เต็ม สังเกตและบันทึกผล) 5. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มมารับอุปกรณ์เพื่อทํากิจกรรมที่หน้าชั้นเรียน หลังจากทํากิจกรรมแล้วให้ นักเรียนบันทึกผลลงในใบงาน 01 มวลและการต้องการที่อยู่ของแก๊ส จากนั้น ครูสุ่มตัวแทน กลุ่มนําเสนอสิ่งที่ค้นพบ 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยครูใช้คําถาม ดังนี้ 6.1 เมื่อบีบอากาศในถุงพลาสติกเข้าไปในแก้วนํ้าที่มีนํ้าอยู่เต็ม นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้า(สังเกตเห็น ฟองอากาศ และระดับน้ำในแก้วลดลง) 6.2 น้ำในแก้วลดลงไปอยู่ที่ไหน (ในอ่างน้ำ) 6.3 เพราะเหตุใดน้ำในแก้วจึงลดลง (เพราะอากาศเข้าไปแทนที่น้ำในแก้ว) 6.4 การที่อากาศเข้าไปแทนที่น้ำในแก้ว แสดงถึงสมบัติใดของอากาศ (อากาศต้องการที่อยู่) 6.5 อากาศเป็นตัวแทนของสสารในสถานะใด (แก๊ส) 6.6 นักเรียนจะสรุปกิจกรรมนี้ว่าอย่างไร (แก๊สต้องการที่อยู่) 6.7 นักเรียนคิดว่าแก๊สอื่นต้องการที่อยู่หรือไม่ (แก๊สอื่น ๆ ต้องการที่อยู่) 7. ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคําถามหลังทํากิจกรรม ขั้นสรุป (เวลา 10 นาที) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสรุปความรู้ด้วยตนเองเกี่ยวกับการต้องการที่อยู่ของแก๊ส 9. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า แก๊สเป็นสถานะหนึ่งของสสาร แก๊สต้องการที่อยู่ 8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 8.1 สื่อสไลด์ เรื่อง แก๊ส (2) 8.2 ใบกิจกรรมที่ 1 แก๊สมีมวลและต้องการที่อยู่หรือไม่ 8.3 ใบงาน 01 มวล และการต้องการที่อยู่ของแก๊ส 8.4 ถุงพลาสติกใส 8.5 อ่างน้ำ 8.6 ยางรัดของ 8.7 หลอดดูดแบบงอได้ 8.9 น้ำสี 9. ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน 01 มวล และการต้องการที่อยู่ของแก๊ส 10. การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ สังเกตการตอบคําถาม แบบประเมินการตอบ ผ่านเกณฑ์การประเมิน - อธิบายสมบัติการต้องการ ในชั้นเรียน คําถามในชั้นเรียน ระดับคุณภาพดีขึ้นไป ที่อยู่ของแก๊ส 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ สังเกตทักษะกระบวนการ แบบประเมินทักษะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน - สังเกตระดับน้ำและ ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทาง ระดับคุณภาพพอใช้ การเปลีย่ นแปลงในแก้วน้ำ ในการทํากิจกรรม วิทยาศาสตร์ ขึ้นไป - หาความสัมพันธ์ระหว่าง สเปซกับสเปซของอากาศ และน้ำ - ลงความเห็นข้อมูลเกี่ยวกับ การต้องการที่อยู่ของแก๊ส 3. ด้านคุณลักษณะอันพึง สังเกตคุณลักษณะ แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ประสงค์ อันพึงประสงค์เจตคติ อันพึงประสงค์เจตคติ ระดับคุณภาพ “ผ่าน” เจตคติ ค่านิยม ค่านิยม - ความเชื่อมั่นต่อหลักฐาน - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย 4. สมรรถนะสําคัญของ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินสมรรถนะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ผู้เรียน ในขณะทํากิจกรรม สําคัญของผู้เรียน ระดับคุณภาพ “ผ่าน” 1. ความสามารถในการ สื่อสาร - อธิบายเกี่ยวกับการ ต้องการที่อยู่ของแก๊ส 2. ความสามารถในการคิด - คิดวิเคราะห์เชื่อมโยงผล การทํากิจกรรมกับการ ต้องการที่อยู่ของแก๊ส แบบประเมินการตอบคําถามในชั้นเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แก๊ส (2) ชื่อผู้ประเมิน......................................................................................................................................................... ประเมินผลครั้งที่......................................วัน........................เดือน............................พ.ศ..................................... เรื่อง...................................................................................................................................................................... รายการประเมิน/ระดับคะแนน 1. การตอบ 2. การสรุป 3. ความถูกต้อง คําถามในชั้น ความรู้ (4) ครบถ้วนของ รวมคะแนน ชื่อ - สกุล เรียน (4) เนื้อหา (10 คะแนน) ในใบงาน(2) 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 เกณฑ์การประเมิน ประเด็น ระดับคุณภาพ น้ำหนัก การประเมิน 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1(ปรับปรุง) คะแนน รวม 1. การตอบ ตอบคําถามได้ ตอบคําถาม ตอบคําถาม ตอบคําถาม คําถามในชั้น ถูกต้องทั้งหมด ได้ถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง เรียน เป็นส่วนใหญ่ บางส่วน 1.0 4 2.การสรุป สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ ความรู้ ความเข้าใจ ความเข้าใจ ความเข้าใจ เข้าใจเกี่ยวกับ เกี่ยวกับเรื่องที่ เกี่ยวกับเรื่อง เกี่ยวกับเรื่อง เรื่องที่ศึกษา ศึกษาได้ ที่ศึกษาได้ ที่ศึกษาได้ ไม่ถูกต้อและ 1.0 4 ถูกต้องและ ถูกต้องแต่ไม่ ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน บางส่วนและ ไม่ครบถ้วน 3. ความ เนื้อหาที่เขียน เนื้อหาที่เขียน เนื้อหาที่เขียน เนื้อหาที่เขียน ถูกต้อง ในใบงานมี ในใบงานมี ในใบงานมี ในใบงานไม่ ครบถ้วนของ ความถูกต้อง บางส่วน ความถูกต้อง ถูกต้อง เนื้อหาในใบ ครบถ้วนตามที่ ไม่ถูกต้อง เป็นส่วนน้อย 0.5 2 งาน กำหนด ตามที่ กําหนด เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 9-10 ดีมาก 7-8 ดี 5-6 พอใช้ ต่ำกว่า 5 ปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพดีขึ้นไป แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แก๊ส (2) ชื่อผู้ประเมิน………………….................................................................................................................................... ชื่อกลุ่มรับการประเมิน......................................................................................................................................... ประเมินผลครั้งที่......................................วัน........................เดือน............................พ.ศ..................................... เรื่อง...................................................................................................................................................................... รายการประเมิน/ระดับคะแนน 1. การสังเกต 2. การหา 3. การลง ความสัมพันธ์ ความเห็น รวมคะแนน ชื่อ - สกุล ระหว่าง จากข้อมูล (9 คะแนน) สเปซกับสเปซ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 เกณฑ์การประเมิน ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) การสังเกต สามารถใช้ประสาทสัมผัสใน สามารถใช้ประสาทสัมผัสใน สามารถใช้ประสาทสัมผัสใน การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ การต้องการที่อยู่ของแก๊ส การต้องการที่อยู่ของแก๊ส การต้องการที่อยู่ของแก๊ส โดยสังเกตจากฟองอากาศ โดยสังเกตจากฟองอากาศ โดยสังเกตจากฟองอากาศ และระดับน้ำสีที่ลดลงด้วย และระดับน้ำสีที่ลดลง โดย และระดับน้ำสีที่ลดลงได้ ตนเองโดยไม่เพิม่ เติมความ อาศัยการชี้แนะของครูหรือ บางส่วนแม้จะได้รับ คิดเห็น ผู้อื่น คําแนะนําจากครูหรือผู้อื่น การหาความสัมพันธ์ สามารถระบุความสัมพันธ์ สามารถระบุความสัมพันธ์ สามารถระบุความสัมพันธ์ ระหว่างสเปซ ระหว่างที่อยู่ของอากาศใน ระหว่างที่อยู่ของอากาศใน ระหว่างที่อยู่ของอากาศใน กับสเปซ ถุงพลาสติกและอากาศใน ถุงพลาสติกและอากาศใน ถุงพลาสติกและอากาศใน แก้วน้ำเมื่อบีบอากาศจาก แก้วน้ำเมื่อบีบอากาศจาก แก้วน้ำเมื่อบีบอากาศจาก ถุงพลาสติกเข้าไปในแก้ว ถุงพลาสติกเข้าไปในแก้ว ถุงพลาสติกเข้าไปในแก้ว น้ำได้ถูกต้องด้วยตนเอง น้ำได้โดยอาศัยการชี้แนะ น้ำได้บางส่วน แม้จะได้ ของครูหรือผู้อื่น รับคําชี้แนะจากครูหรือผู้อื่น การลงความเห็นจาก สามารถใช้ข้อมูลจาก สามารถใช้ข้อมูลจาก สามารถใช้ข้อมูลจาก ข้อมูล การสังเกตมาลงความเห็นได้ การสังเกตมาลงความเห็นได้ การสังเกตมาลงความเห็นได้ ว่าแก๊สต้องการที่อยู่ได้อย่าง ว่าแก๊สต้องการที่อยู่ได้อย่าง ว่าแก๊สต้องการที่อยู่ได้ มีเหตุผลได้ด้วยตนเอง มีเหตุผลได้โดยอาศัยการ บางส่วนแม้จะได้รับคํา ชี้แนะของครูหรือผู้อื่น ชี้แนะจากครูหรือผู้อื่น เกณฑ์การประเมินคุณภาพ คะแนน ระดับคุณภาพ 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 1-3 ปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เจตคติ ค่านิยม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แก๊ส (2) ชื่อผู้ประเมิน………………...................................................................................................................................... ชื่อกลุ่มรับการประเมิน........................................................................................................................................ ประเมินผลครั้งที่......................................วัน........................เดือน............................พ.ศ.................................... เรื่อง..................................................................................................................................................................... เกณฑ์การตัดสิน ที่ ลักษณะ/พฤติกรรมบ่งชี้ ผ่าน ไม่ผา่ น 1. ความเชื่อมั่นต่อหลักฐาน 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มีวินัย เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพ “ผ่าน” แบบประเมินสมรรถนะสําคัญของผู้เรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แก๊ส (2) ชื่อผู้ประเมิน......................................................................................................................................................... ชื่อกลุ่มรับการประเมิน.......................................................................................................................................... ประเมินผลครั้งที่......................................วัน........................เดือน............................พ.ศ..................................... เรื่อง.................................................................................................................................................................... เกณฑ์การตัดสิน ที่ ลักษณะ/พฤติกรรมบ่งชี้ ผ่าน ไม่ผา่ น ความสามารถในการ 1. สื่อสาร - อธิบายเกี่ยวกับการ ต้องการที่อยู่ของแก๊ส ความสามารถในการคิด 2. - คิดวิเคราะห์เชื่อมโยงผล การทํากิจกรรมกับการ ต้องการที่อยู่ของแก๊ส เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพ “ผ่าน” บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ปัญหา/อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ………………………………………….ผู้สอน ( นางสาวสุวนันท์ ผักไหม ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู …………./…………………../…………… แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แก๊ส (3) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วัสดุและสสาร หน่วยย่อยที่ 2 เรื่อง สถานะของสาร รหัสวิชา ว14101 รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2/2567 เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ทำการสอน / / ผู้สอน นาสาวสุวนันท์ ผักไหม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวชี้วัด ว 2.1 ป.4/3 เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง 3 สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกต มวล การ ต้องการที่อยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร ว 2.1 ป.4/4 ใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวล และปริมาตรของ สสารทั้ง 3 สถานะ 2. สาระสําคัญ สสารมีมวลและต้องการที่อยู่สสารมีสถานะเป็น ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สสารแต่ละสถานะ มีสมบัติบางอย่างเหมือน และบางอย่างแตกต่างกัน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - อธิบายสมบัติเกี่ยวกับปริมาตรของแก๊ส 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - วัดปริมาตรของแก๊สโดยใช้หลอดฉีดยา - สังเกตเกี่ยวกับปริมาตรของแก๊ส - ลงความเห็นข้อมูลเกี่ยวกับปริมาตรของแก๊ส 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เจตคติ ค่านิยม (A) - ความเชื่อมั่นต่อหลักฐาน - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย 4. สาระการเรียนรู้ แก๊สเป็นสถานะหนึ่งของสสาร แก๊สมีปริมาตรไม่คงที่ 5. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร - อธิบายสมบัติเกี่ยวกับปริมาตรของแก็ส 5.2 ความสามารถในการคิด - วิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบปริมาตรของแก๊ส 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มีวินัย 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน (เวลา 10 นาที) 1. ครูนําเข้าสู่กิจกรรม โดยทบทวนความรู้จากกิจกรรมที่ผ่านมาและเข้าสู่กิจกรรมใหม่เกี่ยวกับสมบัติของ แก๊สโดยใช้คําถามดังนี้ 1.1 กิจกรรมที่ผ่านมาเราได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมบัติอะไรของแก๊สบ้าง (สมบัติการมีมวลและการต้องการ ที่อยู่) 1.2 นอกจากแก๊สมีมวลและต้องการที่อยู่แล้ว ยังมีสมบัติอะไรอีกบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ของตนเอง) ขั้นสอน (เวลา 40 นาที) 2. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรมและจุดประสงค์ของในใบกิจกรรมที่ 2 แก๊สมีปริมาตรและรูปร่างเป็นอย่างไร ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียน โดยใช้คําถามดังต่อไปนี้ 2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร (ปริมาตรและรูปร่างของแก๊ส) 2.2 นักเรียนจะได้เรียนเรื่องนี้ด้วยวิธีใด (วิธีการสังเกต) 2.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทําอะไรได้ (สามารถอธิบายเกี่ยวกับปริมาตรและรูปร่างของแก๊สได้) ครูแจ้งจุดประสงค์เพิ่มเติมว่าในชั่วโมงนี้จะได้สังเกตและอธิบายเกี่ยวกับปริมาตรของแก๊ส 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านวิธีทําในโบกิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1 แล้วอภิปรายร่วมกัน โดยครูใช้ คําถามดังนี้ 3.1 จุดประสงค์ของกิจกรรมตอนที่ 1 คืออะไร (เพื่อสังเกตและอธิบายปริมาตรของอากาศ) 3.2 สําหรับตอนที่ 1 นักเรียนต้องใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง (หลอดฉีดยา) 3.3 นักเรียนต้องทําอย่างไรบ้างในกิจกรรมตอนนี้ (ดูดอากาศเข้าไปในหลอดฉีดยาจนเต็มหลอด อ่าน ปริมาตรของอากาศ กดปลายหลอดให้แน่นแล้วกดก้านหลอดฉีดยา อภิปรายว่าปริมาตรของ อากาศจะเป็นอย่างไร เมื่อกดก้านหลอดฉีดยา) 3.4 จากนั้นนักเรียนต้องทําอย่างไรต่อไป (ทํากิจกรรมแล้วเปรียบเทียบผลที่ได้กับการอภิปรายว่า เหมือนหรือแตกต่างอย่างไร และบันทึกผล) 4. เมื่อตรวจสอบว่านักเรียนเข้าใจวิธีทํากิจกรรมแล้ว ให้นักเรียนรับอุปกรณ์และลงมือปฏิบัติ หลังจาก ทํากิจกรรมแล้ว และบันทึกผลในใบงาน 02 ปริมาตรและรูปร่างของแก๊ส จากนั้นให้นักเรียน แต่ละกลุ่มนําเสนอสิ่งที่ค้นพบ และช่วยกันลงความเห็นเกี่ยวกับปริมาตรของแก๊ส 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยครูใช้คําถาม ดังนี้ 5.1 สังเกตเห็นอะไรบ้างเมื่อกดก้านหลอดฉีดยาลงไปจนดันไปต่อไม่ได้ และเมื่อปล่อยมือที่กดก้าน หลอดฉีดยา (สามารถกดก้านหลอดฉีดยาลงไปได้ระดับหนึ่ง หลังกดก้านหลอดฉีดยา พบว่า ปริมาตรของอากาศลดลง และเมื่อปล่อยมือที่กดก้านหลอดฉีดยา ก้านหลอดฉีดยาจะเลื่อนขึ้น แสดงว่าปริมาตรของอากาศเพิ่มขึ้น) 5.2 อากาศภายในหลอดฉีดยาออกมาหรือไม่ (อากาศไม่ออกมา เพราะอุดปลายหลอดฉีดยาแน่นจน อากาศออกมาไม่ได้) 5.3 การที่ปริมาตรของอากาศในหลอดฉีดยาลดลงและเพิ่มขึ้นได้ แสดงถึงสมบัติใดของอากาศ (ปริมาตรของอากาศเปลี่ยนแปลงได้) 5.4 จากสิ่งที่ค้นพบ ลงความเห็นได้ว่าอย่างไร (ปริมาตรของอากาศไม่คงที่) 5.5 อากาศเป็นตัวแทนของสสารในสถานะใด (แก๊ส) 5.6 จากสิ่งที่ค้นพบ แก๊สมีสมบัติอย่างไร (แก๊ส มีปริมาตรไม่คงที่) 6. ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคําถามหลังจากทํากิจกรรม ขั้นสรุป (เวลา 10 นาที) 7. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสรุปความรู้ด้วยตนเองเกี่ยวกับปริมาตรของแก๊ส 8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปได้ว่า แก๊สนอกจากจะมีมวลแล้ว ต้องการที่อยู่แล้ว แก๊สยังมีปริมาตรไม่คงที่ 8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 8.1 สื่อสไลด์ เรื่อง แก๊ส (3) 8.2 ใบกิจกรรมที่ 2 แก๊สมีปริมาตรและรูปร่างเป็นอย่างไร 8.3 ใบงาน 02 ปริมาตรและรูปร่างของแก๊ส 8.5 หลอดฉีดยา 9. ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน 02 ปริมาตรและรูปร่างของแก๊ส 10. การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ สังเกตการตอบคําถาม แบบประเมินการตอบ ผ่านเกณฑ์การประเมิน - อธิบายสมบัติเกีย่ วกับ ในชั้นเรียน คําถามในชั้นเรียน ระดับคุณภาพดีขึ้นไป ปริมาตร ของแก๊ส 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ สังเกตทักษะกระบวนการ แบบประเมินทักษะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน - วัดปริมาตรของแก๊สโดยใช้ ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทาง ระดับคุณภาพพอใช้ หลอดฉีดยา ในการทํากิจกรรม วิทยาศาสตร์ ขึ้นไป -สังเกตเกี่ยวกับปริมาตรของ แก๊ส - ลงความเห็นข้อมูลเกี่ยวกับ ปริมาตรของแก๊ส 3. ด้านคุณลักษณะอันพึง สังเกตคุณลักษณะ แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ประสงค์ อันพึงประสงค์เจตคติ อันพึงประสงค์เจตคติ ระดับคุณภาพ “ผ่าน” เจตคติ ค่านิยม ค่านิยม - ความเชื่อมั่นต่อหลักฐาน - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย 4. สมรรถนะสําคัญของ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินสมรรถนะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ผู้เรียน ในขณะทํากิจกรรม สําคัญของผู้เรียน ระดับคุณภาพ “ผ่าน” 1. ความสามารถในการ สื่อสาร - อธิบายสมบัติเกีย่ วกับ ปริมาตรของแก๊ส 2. ความสามารถในการคิด - วิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบ ปริมาตรของแก๊ส แบบประเมินการตอบคําถามในชั้นเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แก๊ส (3) ชื่อผู้ประเมิน......................................................................................................................................................... ประเมินผลครั้งที่......................................วัน........................เดือน............................พ.ศ..................................... เรื่อง...................................................................................................................................................................... รายการประเมิน/ระดับคะแนน 1. การตอบ 2. การสรุป 3. ความถูกต้อง คําถามในชั้น ความรู้ (4) ครบถ้วนของ รวมคะแนน ชื่อ - สกุล เรียน (4) เนื้อหา (10 คะแนน) ในใบงาน(2) 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 เกณฑ์การประเมิน ประเด็น ระดับคุณภาพ น้ำหนัก การประเมิน 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1(ปรับปรุง) คะแนน รวม 1. การตอบ ตอบคําถามได้ ตอบคําถาม ตอบคําถาม ตอบคําถาม คําถามในชั้น ถูกต้องทั้งหมด ได้ถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง เรียน เป็นส่วนใหญ่ บางส่วน 1.0 4 2.การสรุป สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ ความรู้ ความเข้าใจ ความเข้าใจ ความเข้าใจ เข้าใจเกี่ยวกับ เกี่ยวกับเรื่องที่ เกี่ยวกับเรื่อง เกี่ยวกับเรื่อง เรื่องที่ศึกษา ศึกษาได้ ที่ศึกษาได้ ที่ศึกษาได้ ไม่ถูกต้อและ 1.0 4 ถูกต้องและ ถูกต้องแต่ไม่ ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน บางส่วนและ ไม่ครบถ้วน 3. ความ เนื้อหาที่เขียน เนื้อหาที่เขียน เนื้อหาที่เขียน เนื้อหาที่เขียน ถูกต้อง ในใบงานมี ในใบงานมี ในใบงานมี ในใบงานไม่ ครบถ้วนของ ความถูกต้อง บางส่วน ความถูกต้อง ถูกต้อง เนื้อหาในใบ ครบถ้วนตามที่ ไม่ถูกต้อง เป็นส่วนน้อย 0.5 2 งาน กำหนด ตามที่ กําหนด เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 9-10 ดีมาก 7-8 ดี 5-6 พอใช้ ต่ำกว่า 5 ปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพดีขึ้นไป แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แก๊ส (3)