ตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ (PDF)
Document Details
![IdolizedForeshadowing](https://quizgecko.com/images/avatars/avatar-5.webp)
Uploaded by IdolizedForeshadowing
2560
Tags
Summary
เอกสารนี้เกี่ยวกับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศไทย มีเนื้อหาครอบคลุมสาระต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ และระบุเป้าหมายของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Full Transcript
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑...
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเร ยนรูว ทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ถนนราชดําเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน http://www.academic.obec.go.th กระทรวงศึกษาธิการ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุมสาระการเร ยนรูว ทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๐ จำนวนพิมพ์ ๓๕,๐๐๐ เล่ม ISBN 978-616-395-939-3 จัดพิมพ์และเผยแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา คำนำ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร โดยสถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ได้ดำเนินการจัดทำมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินการจัดทำ สาระภูมศิ าสตร์ ในกลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พร้อมทัง้ จัดทำสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ของกลุ่มสาระการเรียนรู้และสาระดังกล่าวในแต่ละระดับชั้น เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงาน ระดับท้องถิ่น และสถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทาง ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอน โดยจัดทำเป็น ๓ เล่ม ดังนี้ ๑. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๓. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ขอขอบคุณผูท้ มี่ สี ว่ นร่วมจากทุกหน่วยงาน และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งในและนอกกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งช่วยในการจัดทำเอกสารดังกล่าว ให้มคี วามสมบูรณ์และเหมาะสมสำหรับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับชัน้ สามารถพัฒนาผูเ้ รียน ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนด (นายการุณ สกุลประดิษฐ์) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สารบัญ หน้า คำนำ บทนำ ๑ เป้าหมายของวิทยาศาสตร์ ๓ เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ ๓ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๔ คุณภาพผู้เรียน ๖ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๖ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๖ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๘ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๙ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑๓ สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๑๓ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ ๓๘ สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ ๗๙ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี ๑๐๕ วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม ๑๒๗ ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๑๓๕ สาระชีววิทยา ๑๓๕ สาระเคมี ๑๖๙ สาระฟิสิกส์ ๑๙๐ สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๒๒๑ อภิธานศัพท์ ๒๓๘ คณะผู้จัดทำ ๒๔๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ บทนำ ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ ได้กำหนดสาระ การเรียนรู้ออกเป็น ๔ สาระ ได้แก่ สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ ๔ เทคโนโลยี มีสาระเพิ่มเติม ๔ สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสกิ ส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ซึง่ องค์ประกอบของหลักสูตร ทั้ ง ในด้ า นของเนื้ อ หา การจั ด การเรี ย นการสอน และการวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ นั้ น มีความสำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ให้มี ความต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ สำหรับกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียน เป็ น พื้ น ฐาน เพื่ อ ให้ ส ามารถนำความรู้ นี้ ไ ปใช้ ใ นการดำรงชี วิ ต หรื อ ศึ ก ษาต่ อ ในวิ ช าชี พ ที่ ต้ อ งใช้ วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรียงลำดับความยากง่ายของเนือ้ หาแต่ละสาระในแต่ละระดับชัน้ ให้มกี ารเชือ่ มโยง ความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้ ง ความคิ ด เป็ น เหตุ เ ป็ น ผล คิ ด สร้ า งสรรค์ คิ ด วิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ มี ทั ก ษะที่ ส ำคั ญ ทั้ ง ทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูล หลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสำคัญ ของการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนมากที่สุด จึงได้จัดทำตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ ได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหนังสือเรียน คู่มือครู สื่อประกอบการเรียน การสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล โดยตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่จัดทำขึ้นนี้ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกันภายในสาระ การเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจน การเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มี ความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง และความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ และทัดเทียมกับ นานาชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สรุปเป็นแผนภาพได้ ดังนี้ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ - มาตรฐาน ว ๒.๑ - ว ๒.๓ สาระที่ ๑ สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ - มาตรฐาน ว ๑.๑ - ว ๑.๓ วิทยาศาสตร์ - มาตรฐาน ว ๓.๑ - ว ๓.๒ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี - มาตรฐาน ว ๔.๑ - ว ๔.๒ วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป้าหมายของวิทยาศาสตร์ ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุด เพือ่ ให้ได้ทงั้ กระบวนการและความรู้ จากวิธกี ารสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลทีไ่ ด้ มาจัดระบบเป็นหลักการ แนวคิด และองค์ความรู้ การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมีเป้าหมายที่สำคัญ ดังนี้ ๑. เพื่อให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎี และกฎที่เป็นพื้นฐานในวิชาวิทยาศาสตร์ ๒. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดในการศึกษา วิชาวิทยาศาสตร์ ๓. เพื่อให้มีทักษะที่สำคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางเทคโนโลยี ๔. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และสภาพแวดล้อมในเชิงที่มีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน ๕. เพือ่ นำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคมและการดำรงชีวิต ๖. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และ การจัดการ ทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ ๗. เพื่ อ ให้ เ ป็ น ผู้ ที่ มี จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และค่ า นิ ย มในการใช้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการ เชื่ อ มโยงความรู้ กั บ กระบวนการ มี ทั ก ษะสำคั ญ ในการค้ น คว้ า และสร้ า งองค์ ค วามรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยกำหนดสาระสำคัญ ดังนี้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ✧ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ เรียนรูเ้ กีย่ วกับ ชีวติ ในสิง่ แวดล้อม องค์ประกอบของสิง่ มีชวี ติ การดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรูเ้ กีย่ วกับ ธรรมชาติของสาร การเปลีย่ นแปลงของสาร การเคลื่อนที่ พลังงาน และคลื่น ✧ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ เรียนรูเ้ กีย่ วกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสมั พันธ์ ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ ย นแปลงทางธรณี วิ ท ยา กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ✧ เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม วิทยาการคำนวณ เรียนรูเ้ กีย่ วกับ การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปญ ั หา เป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้ า ใจความหลากหลายของระบบนิ เวศ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ่ ง ไม่ มี ชี วิ ต กับสิง่ มีชวี ติ และความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชวี ติ กับสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้ า ใจสมบั ติ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต หน่ ว ยพื้ น ฐานของสิ่ ง มี ชี วิ ต การลำเลี ย งสารเข้ า และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรมทีม่ ผี ลต่อสิง่ มีชวี ติ ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกั บ โครงสร้ า งและแรงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าค หลั ก และธรรมชาติ ของการเปลี่ ย นแปลงสถานะของสสาร การเกิ ด สารละลาย และการเกิ ด ปฏิกิริยาเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้ า ใจความหมายของพลั ง งาน การเปลี่ ย นแปลงและการถ่ า ยโอนพลั ง งาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติ ของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้ง นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลกและบนผิ ว โลก ธรณี พิ บั ติ ภั ย กระบวนการเปลี่ ย นแปลงลมฟ้ า อากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ศาสตร์ อื่ น ๆ เพื่ อ แก้ ปั ญ หาหรื อ พั ฒ นางานอย่ า งมี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้ า ใจและใช้ แ นวคิ ด เชิ ง คำนวณในการแก้ ปั ญ หาที่ พ บในชี วิ ต จริ ง อย่ า งเป็ น ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ❖ เข้าใจลักษณะทั่วไปของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตรอบตัว ❖ เข้ า ใจลั ก ษณะที่ ป รากฏ ชนิ ด และสมบั ติ บ างประการของวั ส ดุ ที่ ใช้ ท ำวั ต ถุ และการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว ❖ เข้ า ใจการดึ ง การผลั ก แรงแม่ เ หล็ ก และผลของแรงที่ มี ต่ อ การเปลี่ ย นแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุ พลังงานไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้า การเกิดเสียง แสงและการมองเห็น ❖ เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณ์การขึน ้ และตก ของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดิน และการใช้ประโยชน์ ลักษณะและความสำคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม ❖ ตัง้ คำถามหรือกำหนดปัญหาเกีย่ วกับสิง่ ทีจ่ ะเรียนรูต้ ามทีก่ ำหนดให้หรือตามความสนใจ สังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจ ตรวจสอบด้วยการเขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ด้วยการเล่าเรื่อง หรือด้วยการแสดง ท่าทางเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ ❖ แก้ ปั ญ หาอย่ า งง่ า ยโดยใช้ ขั้ น ตอนการแก้ ปั ญ หา มี ทั ก ษะในการใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเบื้องต้น รักษาข้อมูลส่วนตัว ❖ แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่ อ ง ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟัง ความคิดเห็นผู้อื่น ❖ แสดงความรั บ ผิ ด ชอบด้ ว ยการทำงานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายอย่ า งมุ่ ง มั่ น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนงานลุล่วงเป็นผลสำเร็จ และทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการ ดำรงชีวิต ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ❖ เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ การทำหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของพืช และการทำงานของระบบย่อยอาหาร ของมนุษย์ ❖ เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลาย การเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับได้และผันกลับไม่ได้ และการแยกสาร อย่างง่าย ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและ ผลของแรงต่าง ๆ ผลที่เกิดจากแรงกระทำต่อวัตถุ ความดัน หลักการที่มีต่อวัตถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบื้องต้นของเสียง และแสง ❖ เข้ า ใจปรากฏการณ์ ก ารขึ้ น และตก รวมถึ ง การเปลี่ ย นแปลงรู ป ร่ า งปรากฏ ของดวงจันทร์ องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ ❖ เข้ า ใจลั ก ษณะของแหล่ ง น้ ำ วั ฏ จั ก รน้ ำ กระบวนการเกิ ด เมฆ หมอก น้ ำ ค้ า ง น้ำค้างแข็ง หยาดน้ำฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิด ซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพบิ ตั ภิ ยั การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก ❖ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทำงานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพสิทธิของผู้อื่น ❖ ตั้ ง คำถามหรื อ กำหนดปั ญ หาเกี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ จ ะเรี ย นรู้ ต ามที่ ก ำหนดให้ ห รื อ ตาม ความสนใจ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหา ทีจ่ ะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครือ่ งมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เหมาะสม ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ❖ วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ลงความเห็ น และสรุ ป ความสั ม พั น ธ์ ข องข้ อ มู ล ที่ ม าจากการ สำรวจตรวจสอบในรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อสื่อสารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบได้อย่างมี เหตุผลและหลักฐานอ้างอิง ❖ แสดงถึ ง ความสนใจ มุ่ ง มั่ น ในสิ่ ง ที่ จ ะเรี ย นรู้ มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่ จ ะศึ ก ษาตามความสนใจของตนเอง แสดงความคิ ด เห็ น ของตนเอง ยอมรั บ ในข้ อ มู ล ที่ มี หลักฐานอ้างอิง และรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น ❖ แสดงความรั บ ผิ ด ชอบด้ ว ยการทำงานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายอย่ า งมุ่ ง มั่ น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนงานลุล่วงเป็นผลสำเร็จ และทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ❖ ตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า ของความรู้ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ใช้ ค วามรู้ แ ละ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงาน ของผู้คิดค้นและศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ ❖ แสดงถึ ง ความซาบซึ้ ง ห่ ว งใย แสดงพฤติ ก รรมเกี่ ย วกั บ การใช้ การดู แ ลรั ก ษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการ ทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดำรงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธ์ ขององค์ประกอบของระบบนิเวศและการถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต ❖ เข้ า ใจองค์ ป ระกอบและสมบั ติ ข องธาตุ สารละลาย สารบริ สุ ท ธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมบัติทางกายภาพ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม ❖ เข้าใจการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรง แรงทีป่ รากฏในชีวติ ประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงานไฟฟ้า และหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ❖ เข้ า ใจสมบั ติ ข องคลื่ น และลั ก ษณะของคลื่ น แบบต่ า ง ๆ แสง การสะท้ อ น การหักเหของแสงและทัศนอุปกรณ์ ❖ เข้ า ใจการโคจรของดาวเคราะห์ ร อบดวงอาทิ ต ย์ การเกิ ด ฤดู การเคลื่ อ นที่ ปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้ำขึ้นน้ำลง ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ และความก้าวหน้าของโครงการสำรวจอวกาศ ❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและผลกระทบของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์ ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน กระบวนการเกิดดิน แหล่งน้ำผิวดิน แหล่งน้ำใต้ดิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณีพิบัติภัย ❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งเทคโนโลยี กั บ ศาสตร์ อื่ น โดยเฉพาะวิ ท ยาศาสตร์ หรื อ คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้าง ผลงานสำหรับการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้ง คำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ❖ นำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมูล และสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างรู้เท่าทันและรับผิดชอบต่อสังคม ❖ ตั้ ง คำถามหรื อ กำหนดปั ญ หาที่ เชื่ อ มโยงกั บ พยานหลั ก ฐาน หรื อ หลั ก การทาง วิทยาศาสตร์ที่มีการกำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐาน ที่สามารถนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือ ที่ เ หมาะสม เลื อ กใช้ เ ครื่ อ งมื อ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ เ หมาะสมในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย ❖ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบ จากพยานหลักฐาน โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุป และสื่อสารความคิด ความรู้ จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างเหมาะสม ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธีการ ที่ให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของ ตนเอง รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ผู้ อื่ น และยอมรั บ การเปลี่ ย นแปลงความรู้ ที่ ค้ น พบ เมื่ อ มี ข้ อ มู ล และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและ ด้านลบของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ต่อสิ่งแวดล้อมและต่อบริบทอื่น ๆ และศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ ❖ แสดงถึ ง ความซาบซึ้ ง ห่ ว งใย มี พ ฤติ ก รรมเกี่ ย วกั บ การดู แ ลรั ก ษาความสมดุ ล ของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ❖ เข้ า ใจการลำเลี ย งสารเข้ า และออกจากเซลล์ กลไกการรั ก ษาดุ ล ยภาพของ มนุษย์ ภูมคิ มุ้ กันในร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมคิ มุ้ กัน การใช้ประโยชน์จากสาร ต่าง ๆ ทีพ่ ชื สร้างขึน้ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรม วิวฒั นาการ ที่ทำให้เกิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมศิ าสตร์ตา่ ง ๆ ของโลก การเปลีย่ นแปลง แทนที่ในระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ❖ เข้ า ใจชนิ ด ของอนุ ภ าคสำคั ญ ที่ เ ป็ น ส่ ว นประกอบในโครงสร้ า งอะตอม สมบั ติ บางประการของธาตุ การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติ ต่าง ๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว พันธะเคมี โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และการเขียนสมการเคมี ❖ เข้าใจปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ความสัมพันธ์ระหว่างแรง มวลและความเร่ง ผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ ระหว่างสนามแม่เหล็กและกระแสไฟฟ้า และแรงภายในนิวเคลียส ❖ เข้ า ใจพลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งมวลและพลั ง งาน การเปลี่ ย น พลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น การได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง สีกับการมองเห็นสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ ของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิด สึนามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ❖ เข้าใจผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มี ต่อการหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ความสัมพันธ์ของการหมุนเวียนของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศที่สำคัญจากแผนที่อากาศ และข้อมูลสารสนเทศ ❖ เข้ า ใจการกำเนิ ด และการเปลี่ ย นแปลงพลั ง งาน สสาร ขนาด อุ ณ หภู มิ ข อง เอกภพ หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของ กาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกิดและการสร้างพลังงาน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของ ดาวฤกษ์ และความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของ ดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีต่อโลก รวมทั้งการสำรวจอวกาศและ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 10 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ❖ ระบุปญ ั หา ตัง้ คำถามทีจ่ ะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต่าง ๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐานที่เป็นไปได้ ❖ ตั้ ง คำถามหรื อ กำหนดปั ญ หาที่ อ ยู่ บ นพื้ น ฐานของความรู้ แ ละความเข้ า ใจทาง วิทยาศาสตร์ ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงที่สามารถสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้า ได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพื่อนำ ไปสูก่ ารสำรวจตรวจสอบ ออกแบบวิธกี ารสำรวจตรวจสอบตามสมมติฐานทีก่ ำหนดไว้ได้อย่างเหมาะสม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ เลือกวัสดุ อุปกรณ์ รวมทั้งวิธีการในการสำรวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบ ❖ วิ เ คราะห์ แปลความหมายข้ อ มู ล และประเมิ น ความสอดคล้ อ งของข้ อ สรุ ป เพือ่ ตรวจสอบกับสมมติฐานทีต่ งั้ ไว้ ให้ขอ้ เสนอแนะเพือ่ ปรับปรุงวิธกี ารสำรวจตรวจสอบ จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบ โดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจโดยมีหลักฐานอ้างอิง หรือมีทฤษฎีรองรับ ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะ หาความรู้ โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ ทางวิทยาศาสตร์อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ❖ แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคำตอบ หรือแก้ปญ ั หาได้ ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ ย วกั บ ผลของการพั ฒ นาและการใช้ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี อ ย่ า งมี คุ ณ ธรรมต่ อ สั ง คม และสิ่งแวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ❖ เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ข องความรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ที่ มี ผ ลต่ อ การพั ฒ นาเทคโนโลยี ประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ❖ ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือ สร้างชิ้นงานตามความสนใจ ❖ แสดงความซาบซึ้ ง ห่ ว งใย มี พ ฤติ ก รรมเกี่ ย วกั บ การใช้ แ ละรั ก ษาทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 11 ❖ วิ เ คราะห์ แ นวคิ ด หลั ก ของเทคโนโลยี ได้ แ ก่ ระบบทางเทคโนโลยี ที่ ซั บ ซ้ อ น การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อนื่ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ทรัพยากรเพื่อออกแบบ สร้างหรือพัฒนาผลงาน สำหรับแก้ปัญหาที่มีผลกระทบต่อสังคม โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนำเสนอผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้งคำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา ❖ ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร เพื่อรวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อื่น มาประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้อย่างปลอดภัย มีจริยธรรม ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 12 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิง่ มีชวี ติ และความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชวี ติ กับสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมาย ของประชากร ปัญหาและผลกระทบทีม่ ตี อ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. ระบุชื่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆ บริเวณต่าง ๆ ในท้องถิ่น เช่น สนามหญ้า ใต้ต้นไม้ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ สวนหย่อม แหล่งน้ำ อาจพบพืชและสัตว์หลายชนิด ๒. บอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต อาศัยอยู ่ ของสัตว์ในบริเวณที่อาศัยอยู่ บริเวณทีแ่ ตกต่างกันอาจพบพืชและสัตว์แตกต่างกัน เพราะสภาพแวดล้อมของแต่ละบริเวณจะมี ความเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของพืชและสัตว์ ที่อาศัยอยู่ในแต่ละบริเวณ เช่น สระน้ำ มีน้ำเป็น ที่อยู่อาศัยของหอย ปลา สาหร่าย เป็นที่หลบภัย และมีแหล่งอาหารของหอยและปลา บริเวณ ต้นมะม่วงมีตน้ มะม่วงเป็นแหล่งทีอ่ ยู่ และมีอาหาร สำหรับกระรอกและมด ถ้าสภาพแวดล้อมในบริเวณที่พืชและสัตว์อาศัยอยู่ มีการเปลี่ยนแปลง จะมีผลต่อการดำรงชีวิตของ พืชและสัตว์ ป.๒ - - ป.๓ - - ป.๔ - - ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 13 ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๕ ๑. บรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มีโครงสร้างและลักษณะ ที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจาก ที่เหมาะสมในแต่ละแหล่งที่อยู่ ซึ่งเป็นผลมาจาก การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้ดำรงชีวิตและ อยู่รอดได้ในแต่ละแหล่งที่อยู่ เช่น ผักตบชวามี ช่องอากาศในก้านใบ ช่วยให้ลอยน้ำได้ ต้นโกงกาง ที่ขึ้นอยู่ในป่าชายเลนมีรากค้ำจุนทำให้ลำต้น ไม่ล้ม ปลามีครีบช่วยในการเคลื่อนที่ในน้ำ ๒. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ ในแหล่งที่อยู่หนึ่ง ๆ สิ่งมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์ สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ซึ่งกันและกันและสัมพันธ์กับสิ่งไม่มีชีวิต เพื่อ กับสิ่งไม่มีชีวิต เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต เช่น ความสัมพันธ์กัน ๓. เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าที่ของ ด้านการกินกันเป็นอาหาร เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย สิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อาหาร หลบภัยและเลีย้ งดูลกู อ่อน ใช้อากาศในการหายใจ ๔. ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการ สิง่ มีชวี ติ มีการกินกันเป็นอาหาร โดยกินต่อกัน ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดยมีส่วนร่วมในการดูแล เป็นทอด ๆ ในรูปแบบของโซ่อาหาร ทำให้สามารถ รักษาสิ่งแวดล้อม ระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตเป็นผู้ผลิตและ ผู้บริโภค ป.๖ - - ม.๑ - - ม.๒ - - ม.๓ ๑. อธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของ ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบที่มีชีวิต ระบบนิเวศที่ได้จากการสำรวจ เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์ และองค์ประกอบที่ ไม่มีชีวิต เช่น แสง น้ำ อุณหภูมิ แร่ธาตุ แก๊ส องค์ประกอบเหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น พืชต้องการแสง น้ำ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในการสร้างอาหาร สัตว์ต้องการอาหาร และ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการดำรงชีวิต เช่น อุณหภูมิ ความชื้น องค์ประกอบทั้งสองส่วนนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ระบบนิเวศจึงจะสามารถคงอยู่ต่อไปได้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 14 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบ กับสิง่ มีชวี ติ รูปแบบต่าง ๆ ในแหล่งทีอ่ ยูเ่ ดียวกัน ต่าง ๆ เช่น ภาวะพึ่งพากัน ภาวะอิงอาศัย ที่ได้จากการสำรวจ ภาวะเหยื่อกับผู้ล่า ภาวะปรสิต สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ร่วมกันใน แหล่งที่อยู่เดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกัน เรียกว่า ประชากร กลุ่มสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยประชากรของสิ่งมีชีวิต หลาย ๆ ชนิด อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่ เดียวกัน ๓. สร้างแบบจำลองในการอธิบายการถ่ายทอด กลุ่มสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบ่งตามหน้าที่ได้เป็น พลังงานในสายใยอาหาร ๓ กลุ่ม ได้แก่ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลาย ๔. อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และ สารอินทรีย์ สิ่งมีชีวิตทั้ง ๓ กลุ่มนี้ มีความ ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ สัมพันธ์กัน ผู้ผลิตเป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหาร ๕. อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิตในโซ่อาหาร ได้เอง โดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ๖. ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต และ ผู้บริโภค เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหาร สิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ โดยไม่ทำลายสมดุล ได้เอง และต้องกินผู้ผลิตหรือสิ่งมีชีวิตอื่น ของระบบนิเวศ เป็นอาหาร เมื่อผู้ผลิตและผู้บริโภคตายลง จะถูก ย่อยโดยผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ซึ่งจะเปลี่ยน สารอินทรีย์เป็นสารอนินทรีย์กลับคืนสู่ สิง่ แวดล้อม ทำให้เกิดการหมุนเวียนสารเป็นวัฏจักร จำนวนผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภค และผูย้ อ่ ยสลายสารอินทรีย์ จะต้องมีความเหมาะสม จึงทำให้กล?