พลวัตภาษาไทย PDF
Document Details
Uploaded by ResourcefulGraffiti
Kasetsart University
Tags
Summary
เอกสารนี้ศึกษาพลวัตของภาษาไทย โดยเน้นที่คำถามสำคัญเกี่ยวกับต้นกำเนิดของคนไทยและภาษาไทย รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยในช่วงเวลาต่าง ๆ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น
Full Transcript
พลวัตภาษาไทย 01999032 ไทยศึกษา ? คาถามสาคัญ ? ▪ คนไทย และ ภาษาไทย มาจากทีใ่ ด ▪ หลักฐานทางภาษาทีพ่ บในแต่ละสมัยสามารถสะท้อนให้เห็นสภาพสังคมและวัฒนธรรม อย่างไรบ้าง ▪ ตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุบนั ภาษาไทยมีการเปลีย่ นแปลงอย่างไรบ้าง ▪ ปั จจัยทางสังคมใดบ้างทีท่ าให้ภาษาไทยเกิด...
พลวัตภาษาไทย 01999032 ไทยศึกษา ? คาถามสาคัญ ? ▪ คนไทย และ ภาษาไทย มาจากทีใ่ ด ▪ หลักฐานทางภาษาทีพ่ บในแต่ละสมัยสามารถสะท้อนให้เห็นสภาพสังคมและวัฒนธรรม อย่างไรบ้าง ▪ ตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุบนั ภาษาไทยมีการเปลีย่ นแปลงอย่างไรบ้าง ▪ ปั จจัยทางสังคมใดบ้างทีท่ าให้ภาษาไทยเกิดการเปลีย่ นแปลง เค้าโครงการบรรยาย 1. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป (Mainland Southeast Asia) : พื้นที่ ผูค้ น และภาษา 2. ปรากฏการณ์ทางภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป สมัยก่อนมีรฐั สยาม 3. ปรากฏการณ์ทางภาษาในสมัยรัฐสยาม-อยุธยา 4. ปรากฏการณ์ทางภาษาในสมัยธนบุรแี ละรัตนโกสินทร์ 5. ปรากฏการณ์ทางภาษาในสมัยหัวเลี้ยวหัวต่อของรัตนโกสินทร์ 6. ปรากฏการณ์ทางภาษาในสมัยหลังเปลีย่ นแปลงการปกครอง 7. ปรากฏการณ์ทางภาษาในสมัยปั จจุบนั คำศัพท์สำคัญใน ควำมสัมพันธ์ร่วมเชื้อสำยและตระกูลภำษำ ▪ ตระกูลภาษา (language family) ▪ ภาษาพี่นอ้ ง (sister languages) ▪ ภาษาดัง้ เดิม (proto-language) ▪ คาร่วมเชื้อสาย (cognate) ▪ ภาษาแม่ (mother language) ▪ https://www.youtube.com/watch?v=iWDKsHm ▪ ภาษาลูก(daughter language) 6gTA ตระกูลภำษำ ตัวอย่ำง ▪ กลุม่ ภาษาทีม่ ีความสัมพันธ์กนั ทางเชื้อสาย ▪ ภาษาตระกูลไทย โดยการวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์ ▪ ภาษาไทย เปรียบเทียบ ภาษาทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ เดียวกันถือว่า เป็ นภาษาในตระกูลเดียวกัน ▪ ภาษาลาว ภำษำดัง้ เดิม ตัวอย่ำง ▪ ภาษาทีส่ มมติวา่ มีอยูใ่ นอดีตทีเ่ ป็ นภาษาบรรพบุรุษของภาษา ปัจจุบนั ซึง่ มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายด้วยการสืบสร้างภาษา ทีค่ ล้ายคลึงกัน ภำษำแม่ ตัวอย่ำง ▪ ผูพ้ ูดชาวไทยทีพ่ ูดภาษาไทยเป็ นภาษาแรก ▪ ภาษาแม่ของภาษามักและภาษาสุย ▪ ภาษาแรกทีแ่ ต่ละคนพูดได้ตงั้ แต่หดั พูดภาษาครัง้ แรก ซึง่ บาง คนอาจมีมากกว่า 1 ภาษา ▪ บุพภาษา หรือภาษาก่อนทีจ่ ะมีการเปลี่ยนแปลงเป็ นภาษา ใหม่ ภำษำลูก ตัวอย่ำง ▪ ภาษาลูกของภาษากัม-ไท ▪ ภาษาทีม่ ีววิ ฒ ั นาการมาจากบุพภาษา ภำษำพี่น้อง ตัวอย่ำง ▪ ภาษามักและภาษาสุย เป็ นภาษาพี่นอ้ งกันเพราะเป็ นภาษาลูก ของภาษากัม-ไท เหมือนกัน ▪ ภาษาทีม่ ีความสัมพันธ์กนั ทางเชื้อสายทีเ่ ป็ นภาษาลูกทีม่ ี วิวฒ ั นาการมาจากบุพภาษาเดียวกัน คำร่วมเชื้อสำย ตัวอย่ำง ไทย จ้วงเหนือ จ้วงใต้ ▪ ศัพท์พ้ ืนฐานทีส่ บื เนื่องมาจากภาษาดัง้ เดิมเดียวกัน ควาย วาย วาย สะดือ สายดือ ดอกเดย ท่า ต่า ต่า ▪ ภาษา และ ภาษาถิ่น (regional dialect) ▪ การอพยพและการแยกตัวของภาษา (language split) ▪ https://www.youtube.com/watch?v=KdQwalCPNAs พื้นที่ ภาษาถิ่น การอพยพ และการแตกตัวของภาษา การเปลีย่ นแปลงจากภาษาถิ่นของภาษาเดียวกันไปสู่ ภาษาที่เป็ นอิสระออกจากกัน L1a Changed L2 L1 L1b Changed L3 L1c Changed L4 Different Dialects Different Languages French “père” “cent” Spanish “padre” “cien” Latin “pater” Portuguese “pai” “cem” “centum” Italian “padre” “cento” เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป (Mainland Southeast Asia) : พื้นที่ ผูค้ น และภาษา ▪ Mainland Southeast Asia (MSEA) เป็ นอีกหนึ่งดินแดนทีม่ ีความหลากหลายทางด้านกลุม่ ชาติพนั ธุแ์ ละมีประวัติศาสตร์การ อพยพเคลื่อนย้ายผูค้ นมาเป็ นระยะเวลานาน ▪ จากหลักฐานทางพันธุกรรม (genetics) และทางโบราณคดี (archeology) พบว่า มีกิจกรรมของมนุษย์ในดินแดนนี้ตงั้ แต่กว่า 40,000 ปี กอ่ น ▪ เมื่อ 20,000 ปี กอ่ น ระดับนา้ ทะเลตา่ กว่าระดับในปั จจุบนั ถึง 120 เมตร (Chappell & Schackleton 1986, Tooley and Shennan 1987) ซึง่ ทาให้ ณ เวลานัน้ มีโอกาสทีผ่ ูค้ น จะอพยพเคลื่อนย้ายเข้าสูด่ นิ แดนนี้ได้ง่าย ▪ ณ เวลานัน้ มนุษย์สามารถเดินเท้าจากเมืองโฮจิมินห์ (ปั จจุบนั ) ไปจนถึงเมือง กัวลาลัมเปอร์ (ปั จจุบนั ) ▪ https://www.youtube.com/watch?v=dVITTpIiXyE&t=39s The history of Southeast Asia from the earliest kingdoms in the 4th century BCE to 2017. ▪ จากข้อจากัดทางด้านหลักฐานทางภาษาทาให้นกั ภาษาศาสตร์สามารถตัง้ ข้อสันนิษฐาน กลับไปได้เพียงราว 4,000 ปี กอ่ นเท่านัน้ ▪ นักภาษาศาสตร์หลายคนมีความเห็นสอดคล้องกันว่าประชากรใน Mainland Southeast Asia ส่วนใหญ่พูดภาษากลุม่ ออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic) เช่น ภาษากลุม่ มอญ- เขมร (Mon-Khmer) การกระจายตัวของผูพ้ ูดภาษา กลุม่ ออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic) บริเวณทีล่ ุม่ ริม ฝั่งแม่นา้ โขง (Sidwell & Blench, 2011) ▪ การกระจายตัวของผูพ้ ูด ภาษากลุม่ ออสโตรเอเชีย ติก ▪ ต่อมาภายหลัง พบว่ามีการอพยพเข้ามาของกลุม่ คนทีพ่ ูดภาษาจีน ภาษาไท (Tai) ภาษาเวียดนาม ภาษาพม่า และภาษากลุม่ ออสโตรนีเชียน (Austronesian) เช่น ภาษามาเลย์ และภาษาจาม (Bellwood 1992, Sidwell & Blench, 2011) ตระกูลภาษา จานวน ร้อยละ Austroasiatic 122 44 Sino-Tibetan 74 26 Tai-Kadai 51 18 Austronesian 25 9 Hmong-Mien 8 3 Total 280 100 สัดส่วนการกระจายตัวของตระกูลภาษาต่างๆ ใน Mainland Southeast Asia ในปั จจุบนั คนไทยและภาษาไทยมาจากไหน ? การแพร่กระจายของประชากร และ การแพร่กระจายของวัฒนธรรม แนวคิดสาคัญเกี่ยวกับการแพร่กระจายของภาษาไทยและผูพ้ ูด ภาษาไทยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ▪ การแพร่กระจายของวัฒนธรรม (Cultural Diffusion) ▪ การแพร่กระจายของประชากร (Demic Diffusion) การขยายตัวของภาษาไทยและผูพ้ ูดภาษาไทยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผา่ นการแพร่กระจาย ของวัฒนธรรม (Cultural Diffusion) ▪ ผ่านการขยายตัวกลุม่ วัฒนธรรมไท-ไต ▪ ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ และสุจติ ต์ วงษ์เทศ ▪ “ก่อนหน้าคริสต์ศตวรรษที่ 20 ไต-ไท ไม่ใช่ชอื่ ของ “เชื้อชาติ” หรือ “ชนชาติ” (race) แต่เป็ น ชือ่ ของ “วัฒนธรรม” พูดให้ชดั กว่านี้คอื เป็ นชือ่ ของลัทธิหรืออภิสทิ ธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมต่างหาก” (นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2559: 47) ▪ กลุม่ วัฒนธรรมไท-ไตอาจจะเป็ นกลุม่ ทางสังคม ทีป่ ระกอบด้วยคนจากหลายชนชาติ ▪ กลุม่ วัฒนธรรม ไต-ไท เป็ นกลุม่ อาศัยตามพื้นที่ หุบเขาในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป (zomia / Southeast Asian Massif) ▪ Zomia เป็ นพื้นทีท่ อี่ าณาจักรขนาดใหญ่แผ่ อานาจมาไม่ถึง ▪ นวัตกรรมของกลุม่ วัฒนธรรม ไต-ไท ▪ นาดา ▪ เครือข่ายทางการเมืองระดับทีเ่ หนือชุมชน ▪ หน่วยทางการเมืองซึง่ มีอานาจทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ซึง่ ทาให้มีผคู ้ นอพยพ โยกย้ายมาอยูใ่ นชุมชนของกลุม่ ไต-ไทมากขึ้นเรือ่ ยๆ จึงทาให้ชุมชนไต-ไทเหมาะจะเป็ น ตลาดสาหรับการค้าขายแลกเปลี่ยน และใช้ภาษาของกลุม่ ไต-ไทเป็ นภาษากลางในการ สือ่ สาร ▪ กลุม่ วัฒนธรรมอืน่ ๆ จึงหันมาใช้ภาษาของกลุม่ ไต-ไท และรับวัฒนธรรมของกลุม่ นี้มาก ขึ้นเรือ่ ยๆ ▪ ทาให้กลุม่ วัฒนธรรมไต-ไทเป็ นกลุม่ “ชาติพนั ธุ”์ (ethnic group) ทีข่ ยายใหญ่ข้ ึนเรือ่ ยๆ ▪ ภาษาไต-ไทน่าจะถูกใช้เป็ นภาษากลางสาหรับการสือ่ สารสาหรับกิจกรรม 2 อย่าง ได้แก่ ▪ การค้าทางไกลทางบก ▪ ตารา คาสอนพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกา ▪ ภาษาไทย (ภาษาตระกูลไต) กระจายสูด่ นิ แดนประเทศไทยและลาวเนื่องจากเป็ น ภาษากลางทีใ่ ช้ในการสือ่ สาร (lingua franca) ▪ เกิดการสลับภาษา (language shift) : ผูพ้ ูดภาษาตระกูลอืน่ ๆ เช่น ออสโตรเอเชียติก จีน- ทิเบต ออสโตรนีเซียนทีอ่ าศัยอยูบ่ ริเวณพื้นทีท่ เี่ ป็ นประเทศไทยและลาวในปั จจุบนั ละทิ้ง ภาษาตัวเองหันมาใช้ภาษาไทย-ลาว เนื่องจากเป็ นภาษาทีม่ ีขอ้ ได้เปรียบในหลายด้าน การขยายตัวของภาษาไทยและผูพ้ ูดภาษาไทยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผา่ นการแพร่กระจาย ของประชากร (Demic Diffusion) ▪ ผูพ้ ูดภาษาตระกูลไทอพยพจากทางตอนใต้ของจีนมายังประเทศไทย ▪ เป็ นการแทนทีป่ ระชากร ไม่ใช่เพียงแค่การรับวัฒนธรรมไท ▪ ประชากรส่วนใหญ่ทพ่ี ูดภาษาตระกูลไทมีลกั ษณะทางพันธุกรรมตรงกันและมีลกั ษณะทาง พันธุกรรมต่างจากผูพ้ ูดภาษาตระกูลอืน่ ๆ ▪ สนับสนุนแนวคิดเรือ่ งการผสมผสานทางประชากร (demic diffusion) มากกว่า การ ผสมผสานทางวัฒนธรรม (cultural diffusion) ▪ Kutanan, W. et al. (2018). New insights from Thailand into the maternal genetic history of Mainland Southeast Asia. European Journal of Human Genetics, volume 26, pages 898–911. ▪ Kutanan W, Kampuansai J, Srikummool M, et al. Complete mitochondrial genomes of Thai and Lao populations indicate an ancient origin of Austroasiatic groups and demic diffusion in the spread of Tai–Kadai languages. Hum Genet. 2017;136:85–98. ▪ Brunelli A, Kampuansai J, Seielstad M, Lomthaisong K, Kangwanpong D, Ghirotto S, et al. (2017) Y chromosomal evidence on the origin of northern Thai people. PLoS ONE 12(7): e0181935. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0181935. ▪ Sun H, Zhou C, Huang X, Lin K, Shi L, Yu L, et al. (2013) Autosomal STRs Provide Genetic Evidence for the Hypothesis That Tai People Originate from Southern China. PLoS ONE 8(4): e60822. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0060822 งานวิจยั ทางพันธุกรรมศาสตร์ ▪ ฟัง กวย ลี (Fang Kui Li : 1959) ได้แบ่งภาษา ตระกูลไทออกเป็ น 3 กลุม่ ได้แก่ ▪ กลุม่ ตะวันตกเฉียงใต้ (The South Western Tai) ▪ กลุม่ กลาง (The Central Tai) ▪ กลุม่ เหนือ (The Northern Tai) ภาษาตระกูลไต: การกระจายและทิศทางการอพยพ Tai South Western Central North Branch Branch Branch Tai (Siamese) Thai Nung Northern Lao Southern Zhuang Language Family Shan Black Tai Zhuang Tay (Tho) Saek White Tai Eastern Bpuyei Red Tai Yay Ahom Mene Yuan Lue การกระจายตัวของผูพ้ ูดภาษาตระกูลไต ▪ มีคาศัพท์พ้ ืนฐานหรือคาศัพท์รว่ มตระกูล ▪ เป็ นภาษาคาโดด (cognate) ▪ มีการเรียงลาดับคาแบบ ประธาน-กริยา-กรรม ▪ มีเสียงปฏิภาค (sound correspondence) เป็ น (SVO) เสียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ทีต่ า่ งกันอย่างมี ▪ วางคาคุณศัพท์ไว้หลังคานาม กฎเกณฑ์ ▪ มีคาลงท้าย ▪ เป็ นภาษามีวรรณยุกต์ ▪ มีลกั ษณนาม ▪ ไม่มีเสียงควบกลา้ ท้ายคา ลักษณะของภาษาตระกูลไท ความหมาย ไทย ลุงโจว โป้ อ้าย ไป pai33 pai33 pai24 ขาย khaai24 khaai33 kaai24 เปรียบเทียบคาศัพท์ภาษาตระกูลไท ความหมาย ไทย ไทยลื้อ ไทใหญ่ ตา ta:1 ta:1 ta:1 งู ŋu:1 ŋu:4 ŋu4 ตีน ti:n1 tin1 tin1 เป็ ด pet2 pet1 pet4 ▪ Thai versus Zhuang ▪ https://www.youtube.com/watch?v=uJ9giEj ▪ https://www.youtube.com/watch?v=- K5zw pkQG8vLDCM ▪ White Tai numeric counting ▪ Numbers in Thai and Zhuang ▪ https://www.youtube.com/watch?v=q4MIx8 ▪ https://www.youtube.com/watch?v=2UUY1 33m1U CM9_ZI ▪ White Tai market Vietnam ▪ Examples of Sentences in Thai and Zhuang ▪ https://www.youtube.com/watch?v=oXLtkb ▪ https://www.youtube.com/watch?v=iPbX7_ JMR_k Yb--0 ▪ Black Tai and White Tai language comparison จุดเริม่ ต้นและทิศทางการอพยพของผูพ้ ูดภาษาตระกูลไต A B C D E F แบบจาลองการอพยพและการแตกตัวของภาษา ▪ The present results emphasize the common maternal ancestry of CT and other TK speaking groups in MSEA, e.g., Laos and Southern China. Demic diffusion is still the most probable scenario for TK-speaking populations, possibly accompanied by some low level of gene flow with autochthonous Mon and Khmer groups. ▪ It seems that the prehistoric TK groups migrated from a homeland in south/southeast China to the area of present-day Thailand and Laos, and then split to occupy different regions of Thailand, expanding and developing their own history. ปรากฏการณ์ทางภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป ในสมัยก่อนมีรฐั สยาม อาณาจักรทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๖) อาณาจักรละโว้เริม่ เจริญรุง่ เรืองขึ้น ๑ จารึก ภาษา และตัวอักษร ▪ อักษรไทยและอักษรโบราณในดินแดนเอเชียอาคเนย์ได้พฒ ั นามาจากอักษรปั ลลวะ ทีใ่ ช้อย่างกว้างขวางในอินเดียตอนใต้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 9-11 ▪ อักษรปั ลลวะ ▪ อักษรทีพ่ บในศิลาจารึกอินเดียเก่าทีส่ ุดคือ อักษรพราหมี ซึง่ พบว่าใช้ทว่ั ไปตัง้ แต่พุทธศตวรรษที่ 3 เป็ นต้นมา ▪ ต่อมาอักษรพราหมีมีการเปลี่ยนแปลงมากมาย จนในประมาณพุทธศตวรรษที่ 9-10 พบว่าอักษรพราหมีมีสณ ั ฐานที่ แตกต่างกันจนสามารถแยกออกเป็ นอักษร 2 กลุม่ ▪อักษรเทวนาครี : พบในบริเวณภาคเหนือของ อินเดีย ▪อักษรปั ลลวะ : พบในบริเวณภาคใต้ของอินเดีย Brahmi script on Ashoka Pillar ▪ จารึกด้วยอักษรปั ลลวะ ▪ สัณฐานอักษรยังคงรูปแบบอักษรอินเดียใต้ ▪ พบในแถบลุม่ แม่นา้ เจ้าพระยา ลุม่ แม่นา้ โขง ลุม่ แม่นา้ สาละวิน และลุม่ แม่นา้ อิระวดี ▪ จารึกสัน้ ๆ เนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา อักษรในจารึกรุน่ แรกทีพ่ บในประเทศไทย จารึกเขารัง (พ.ศ. 1182) อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว สัณฐานอักษร: อักษรปั ลลวะรุน่ แรกทีพ่ บในประเทศไทย ภาษา : เขมร และ สันสกฤต เนื้อหาโดยสังเขป : ในปี พ.ศ. ๑๑๘๒ ขุนนางผูห้ นึ่งซึง่ ดารงตาแหน่งสินาหฺวคฺ นก่อน ได้ถวายทาส สวนใกล้วหิ าร ผูร้ กั ษา สวน เครือ่ งไทยทาน ทีน่ า และ กระบือ แด่พระวิหาร โดยมอบให้บุรุษหนึ่งนามว่า วา กฺโทกฺ เป็ นผูด้ ูแล รักษา ต่อมาผูด้ ารงตาแหน่งสินาหฺวคฺ นปั จจุบนั ได้ถวายทาส สวนใกล้วหิ าร แด่พระวิหาร ตามทีผ่ ดู ้ ารง ตาแหน่งสินาหฺวพฺ ึงกระทา https://www.youtube.com/watch?v=CQUjgwgyxUI&t=194s http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=52 การกาหนดอายุ : ▪ กาหนดอายุตามปี มหาศักราชทีร่ ะบุในจารึก ซึง่ ตรงกับ พ.ศ. ๑๑๘๒ เป็ นจารึกอักษรปั ลลวะในประเทศไทยหนึ่ง ใน ๒ หลัก ทีป่ รากฏปี มหาศักราชอยูใ่ นจารึก ▪ จารึกอักษรปั ลลวะหลักแรกคือ จารึกเขาน้อย ปรากฏปี มหาศักราช ๕๕๙ ตรงกับ พ.ศ. ๑๑๘๐ ส่วนหลักที่ ๒ คือจารึกเขารังนี้เอง ซึง่ ปรากฏปี มหาศักราช ๕๖๑ ซึง่ ตรงกับ พ.ศ. ๑๑๘๒ ▪ อักษรปั ลลวะเป็ นอักษรแบบแรกทีป่ รากฏใช้ในกลุม่ ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒ ▪ ศิลาจารึกเขารังจึงเป็ นหลักฐานศึกษารูปแบบอักษรทัง้ ในยุคสมัยเดียวกันและในยุคต่อมา ฉะนัน้ รูปอักษรใน จารึกใดก็ตามทีม่ ีลกั ษณะรูปสัณฐานของเส้นอักษรเหมือนรูปอักษรในศิลาจารึกเขารัง ควรจัดไว้เป็ นรูปอักษร แบบปั ลลวะ ▪ ต่อมารูปสัณฐานของตัวอักษรเริม่ เปลี่ยนแปลงไปจากอักษรต้นแบบทีละน้อยๆ : “อักษรหลังปั ลลวะ” ▪ ต่อมา “อักษรหลังปั ลลวะ” มีการเปลี่ยนแปลงมาเรือ่ ยๆ ▪ ประมาณ 300-500 ปี สณ ั ฐานตัวอักษรเปลี่ยนแปลงมากจนเกิดเป็ นอักษรใหม่ 2 กลุม่ เรียกว่า “อักษรขอมโบราณ” (พบในแถบลุม่ แม่นา้ โขง) และ “อักษรมอญ โบราณ” (พบในแถบลุม่ แม่นา้ อิระวดี) ▪ “อักษรขอมโบราณ” แพร่เข้ามาใช้ในบริเวณลุม่ แม่นา้ เจ้าพระยา โดยมีเมือง ลพบุรีเป็ นศูนย์กลาง ▪ “อักษรมอญโบราณ” แพร่เข้ามาสูอ่ าณาจักรหริภุญชัยในภาคเหนือของประเทศ ไทย และเป็ นต้นแบบของอักษรยวนล้านนา ▪ อักษรขอมโบราณและมอญโบราณรักษรอักขรวิธีของอักษรปั ลลวะอย่างเคร่งครัด จารึกศาลเจ้าเมืองลพบุรี ด้านที่ ๑ พุทธศตวรรษ ๑๕-๑๖ สัณฐานอักษร: ขอมโบราณ ภาษา : เขมร http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_im age_detail.php?id=340 ▪ อักษรมอญโบราณ ▪ ปรากฏใช้ในศิลาจารึกทีพ่ บใน ประเทศไทยทีเ่ ด่นชัดน่าจะ ตัง้ แต่พุทธศตวรรษที่ 18 เป็ น ต้นมา ▪ จารึกวัดมหาวัน (ลาพูน) ▪ พุทธศตวรรษ ๑๗ ▪ มอญโบราณ จารึกวัดมหาวัน (ลาพูน) ๒ คาศัพท์: ไทภายใต้อทิ ธิพลจีน ▪ จากการศึกษาคาศัพท์ในภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดงั้ เดิม (Proto- Southwestern Tai) ▪ ภาษาไท/ไต (เมื่อครัง้ ยังอยูท่ ที่ างตอนใต้ของจีน) มีการสัมผัสกับภาษาจีน ▪ มีการยืมคาศัพท์จากภาษาจีนมากมาย ▪ คายืมภาษาจีน (Chinese Loanword) ทีพ่ บในภาษาไทกลุม่ ตะวันตกเฉียงใต้สามารถ แยกออกเป็ น 4 สมัย ได้แก่ ▪ Pre-Later Han Period (Pre-LH) before 1st – 2nd centuries CE ▪ Later Han Chinese (LH) 1st – 2nd centuries CE ▪ Early Middle Chinese (EMC) 6th – 7th centuries CE ▪ Late Middle Chinese (LMC) 7th – 11th centuries CE ▪ หมอก ▪ ห่าน ▪ รัว่ ▪ หก (เลข) ▪ เข็ม ▪ รัก(แร้) ▪ (ราก) แก้ว ▪ แขน ▪ ร่ม (เงา) ▪ เหล็ก ▪ ขวัญ (soul) ▪ เลี้ยง ▪ ห้า (เลข) ▪ แคบ ▪ ตัว คายืมภาษาจีนในยุค Pre-Later Han Period (Pre-LH) ▪ ด่า ▪ ปอก ▪ เจ็ด ▪ งา ▪ สอง ▪ เป็ ด ▪ ทราย ▪ ปอด ▪ ซ้าย ▪ ชือ่ ▪ นาง (ผูห้ ญิง) ▪ เค็ม คายืมภาษาจีนในยุค Later Han Period (LH) ▪ คอ ▪ พี (อ้วน) ▪ แล้ว ▪ แกง ▪ ทาง ▪ แปด ▪ แกว (คนเวียดนาม) ▪ ท่อน / ต่อน ▪ วัว / งัว ▪ แขก (guest) ▪ ช้าง ▪ ยี่ (สอง) ▪ ผ่า ▪ ช่าง ▪ ย้อม ▪ แพ ▪ แก้ คายืมภาษาจีนในยุค Early Middle Chinese (EMC) ▪ (มะ)เขือ ▪ ขวาง ▪ ผัว ▪ ขี่ ▪ สิบ ▪ ผึ้ง ▪ ถัว่ ▪ สุก ▪ ถ้วย ▪ ศึก (ศัตรู) ▪ งับ (ฮับ) ▪ ผู ้ (คน) คายืมภาษาจีนในยุค Late Middle Chinese (LMC) ▪ ขุด ▪ กว้าง ▪ สี่ ▪ กว่า ▪ (แตง)กวา ▪ ส่ง ▪ เสียง ▪ ถ่าน ▪ (ลาย)สือ ▪ ถอด ▪ เอว ▪ ตัง่ ▪ ฝุ่ น ▪ เก้า ▪ อาน ▪ ก้าน ▪ สาม คายืมภาษาจีนทีย่ งั ไม่สามารถระบุยุคทีช่ ดั เจน ▪ จากการศึกษาคายืมจีนทีพ่ บในภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดงั้ เดิมทาให้สามารถสันนิษฐานได้ ว่า คนไทน่าจะอพยพจากทางตอนใต้ของจีนประมาณศตวรรษที่ 8 ถึงศตวรรษที่ 10 ▪ Pittayaporn, P. (2014). Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai. MANUSYA, Special Issue No. 20, 47-68. คายืมจีนกับการสันนิษฐานช่วงเวลาการอพยพ จากหลักฐานทางภาษา: ตอนใต้ ▪ พบอักษรปั ลลวะ อักษรหลังปั ลลวะ ▪ ผูพ้ ูดภาษาไทน่าจะยังไม่อพยพลงมาที่ อักษรมอญโบราณ อักษรขอมโบราณ ประเทศไทย ▪ ภาษาทีพ่ บ ได้แก่ มอญ เขมร บาลี สันสกฤต ▪ กลุม่ คนทีอ่ าศัยอยูใ่ นบริเวณอุษาคเนย์ กลุม่ แรกน่าจะเป็ นกลุม่ มอญ-เขมร ▪ มีการเผยแผ่ศาสนาพุทธจากอินเดีย หลักฐานทางภาษาสมัยก่อนมีรฐั สยาม ปรากฏการณ์ทางภาษา ในสมัยเริม่ รัฐสยาม(สุโขทัย) - อยุธยา ๑ จารึก ภาษา และตัวอักษร ▪ อักษรไทยและอักษรโบราณในดินแดนเอเชียอาคเนย์ได้พฒ ั นามาจากอักษรปั ลลวะ ทีใ่ ช้อย่างกว้างขวางในอินเดียตอนใต้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 9-11 ▪ อักษรปั ลลวะ ▪ อักษรทีพ่ บในศิลาจารึกอินเดียเก่าทีส่ ุดคือ อักษรพราหมี ซึง่ พบว่าใช้ทว่ั ไปตัง้ แต่พุทธศตวรรษที่ 3 เป็ นต้นมา ▪ ต่อมาอักษรพราหมีมีการเปลี่ยนแปลงมากมาย จนในประมาณพุทธศตวรรษที่ 9-10 พบว่าอักษรพราหมีมีสณ ั ฐานที่ แตกต่างกันจนสามารถแยกออกเป็ นอักษร 2 กลุม่ ลายสือไทย: อักษรไทยชุดแรก ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ ▪ รูปพยัญชนะ : 39 ตัว (เพิ่มเติมจาก อักษรขอมโบราณและมอญโบราณ 9 ตัว ได้แก่ ฃ ฅ ซ ฏ ด บ ฝ ฟ อ) ▪ ประมาณ พ.ศ. 1826 ▪ รูปสระ : 20 ตัว ลักษณะต่างจาก ▪ สัณฐานอักษรคล้ายคลึงกับอักษร อักษรขอมโบราณและมอญโบราณ อย่างมาก คือมีขนาดเท่ากับพยัญชนะ ขอมโบราณและมอญโบราณ และวางไว้ระดับเดียวกับพยัญชนะ ศิลาจารึกและกาเนิดอักษรไทย https://www.youtube.com/watch?v=mqHn2pAugW4 อักษรไทยสมัยพระเจ้าลิไท ▪ ในสมัยพระเจ้าลิไท กษัตริยอ์ งค์ที่ 5 ของกรุงสุโขทัย ▪ อักขรวิธีตา่ งจากลายสือไทยแต่เหมือนกับอักษรขอมโบราณและมอญโบราณ ▪ ลักษณะสัณฐานอักษรโค้ง กลมมน ตารางแสดงพยัญชนะและอักษรไทยสมัยพระยาลิไท ทีม่ า: ธวัช ปุณโณทก. 2553. วิวฒ ั นาการภาษาไทยและ อักษรไทย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ▪ สัณฐานพยัญชนะบางตัวแตกต่างไปบ้าง เช่น {ก} {-ญ} {ฐ} {-ม} ▪ รูปสระบนและสระล่างเปลีย่ นสัณฐานไป เพื่อให้เหมาะกับการวางไว้บนและล่าง และ สระบางตัวมีรูปสูงกว่าพยัญชนะ ได้แก่ {ใ} {ไ} {โ} ▪ สระเกิน 2 ตัว ได้แก่ {ฤ} {ฦ} ▪ รูปวรรณยุกต์ 2 รูป ได้แก่ เอก และ โท จารึกวัดป่ ามะม่วง ศักราช: พ.ศ. ๑๙๐๔ อักษรทีม่ ีในจารึก: ไทยสุโขทัย ภาษา: ไทย ปี ทพ่ี บจารึก: พ.ศ. ๒๔๔๘ สถานทีพ่ บ: วัดใหม่ (ปราสาททอง) อาเภอ นครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อักษรไทยสมัย พระเจ้าลิไท ทีม่ า: ธวัช ปุณโณทก. 2553. วิวฒ ั นาการภาษาไทยและอักษรไทย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อักษรไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา ▪ ชาวอยุธยาใช้อกั ษรไทยสมัยพระเจ้าลิไทสืบต่อมา ▪ สัณฐานตัวอักษรและอักขรวิธียงั คงใช้ระบบเดียวกันกับสมัยพระเจ้าลิไท ▪ ภายหลังสัณฐานตัวอักษรได้พฒ ั นาไปทีละน้อยๆ ▪ ภายหลังสัณฐานอักษรมีลกั ษณะเป็ นทรงเหลีย่ มเส้นตรง และหักมุมทรง เหลีย่ ม ▪ สัณฐานอักษรลักษณะเหลีย่ มนี้พบได้ชดั เจนในสมัยพระนารายณ์มหาราช เป็ นต้นมา อักษรไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ▪ โดยรวมรูปอักษรพยัญชนะมีความกลมมน แต่เริม่ พบสัณฐานแบบหักเหลีย่ มบ้างแล้ว ▪ รูปสระสมัยอยุธยาตอนต้นไม่แตกต่างจากสมัยพระเจ้าลิไทมากแต่เริม่ มีการปรับให้เป็ น ทรงเหลีย่ มมากขึ้น ▪ รูปพยัญชนะบางตัวต่างไป จากอักษรสมัยพระเจ้าลิไท บ้าง แต่สว่ นใหญ่ยงั คง สัณฐานเดิม ▪ พยัญชนะทีต่ า่ งจากพยัญชนะ สมัยพระเจ้าลิไทมีดงั นี้ จารึกลานเงิน วัดส่องคบ หรือ “จารึกเจ้าเถรศรีเทพคิรมิ านนท์ 2” อักษรทีม่ ีในจารึก: ไทยอยุธยา ศักราช: พุทธศักราช ๑๙๕๖ ภาษา: ไทย วัตถุจารึก: เงิน อักษรไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ▪ สัณฐานตัวอักษรมีการเปลีย่ นแปลงมากขึ้น ▪ รูปพยัญชนะ และ รูปสระทุกตัวตรงกับปั จจุบนั ▪ รูปวรรณยุกต์พบ 2 รูป ได้แก่ ไม้เอก และ ไม้โท ▪ สัณฐานตัวอักษรพยัญชนะเป็ นทรงเหลีย่ ม เส้นตรง หักมุม เพื่อความประณีต สวยงาม ▪ ความงามเหมือนอักษรขอมบรรจง หรือ ขอมจารึก ▪ อักษรไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์น้ ี ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ เรียกว่า “อักษรไทยย่อ” (ย่อ คือ หักมุมเหลีย่ ม) สนธิสญั ญาสยาม – ฝรัง่ เศส พ.ศ. 2231 PLATE XV ทีม่ า: ธวัช ปุณโณทก. 2553. วิวฒ ั นาการภาษาไทยและอักษรไทย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. “อักษรไทยย่อ” ทีม่ า: ธวัช ปุณโณทก. 2553. วิวฒ ั นาการภาษาไทยและ อักษรไทย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒ คาศัพท์: ไทยภายใต้อทิ ธิพลพหุภาษา ▪ จากหลักฐานด้านจารึกและเอกสารโบราณพบว่า ในประเทศไทยช่วงสมัยก่อน รัตนโกสินทร์มีการสัมผัสภาษาของภาษาสาคัญๆ ได้แก่ ภาษาไท-ไทย ภาษามอญ ภาษาขอม (เขมร) ภาษาบาลี-สันสกฤต ภาษาเปอร์เซีย มลายู จีน ทมิฬ ภาษาโปรตุเกส ▪ พบคายืมภาษาต่างประเทศมากมายในสมัยนี้ ▪ สมัยก่อนสุโขทัยพบจารึกทีเ่ ป็ นอักษรขอม ▪ จารึกวัดป่ ามะม่วง (พ.ศ. 1904) ใช้อกั ษรขอมบันทึกภาษาเขมร ▪ หลักจากนัน้ พบว่าคนไทยใช้อกั ษรขอมคูก่ บั อักษรไทยมาจนถึงสมัยสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ▪ คาศัพท์ภาษาเขมรเข้ามาปนกับภาษาไทยตัง้ แต่สมัยสุโขทัยหรือก่อนนัน้ ▪ คายืมภาษาเขมรในจารึก ▪ ถึงแม้วา่ ในศิลาจารึกสมัยสุโขทัยจะพบคาภาษาเขมรน้อยกว่าคาจากภาษาบาลีและ สันสกฤต แต่นกั วิชาการสันนิษฐานว่าภาษาพูดในสมัยนัน้ มีคาภาษาเขมรปะปนอยู่ เป็ นจานวนมาก ▪ คายืมภาษาเขมรทีใ่ ช้ในปั จจุบนั เช่น ตรง เดิน จา จอง เกิด เรียบ เงย กระซิบ ▪ ก่อนทีก่ ลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ท-ไตจะอพยพมาอาศัยอยูใ่ นประเทศไทยพบว่ากลุ่มชาติพนั ธุม์ อญ ได้อาศัยอยูก่ ่อนแล้ว ▪ ไม่พบหลักฐานการสูร้ บระหว่างมอญกับไท-ไต ▪ สันนิษฐานได้วา่ มีการผสมผสานของกลุม่ ชาติพนั ธุท์ งั้ สองทัง้ ทางด้านศาสนา ด้านภาษา และด้านวัฒนธรรม ▪ การนับถือศาสนาพุทธแบบเถรวาท ▪ คายืมภาษามอญในภาษาไทย เช่น เกาะ (มะ)พร้าว กวาด ▪ คาภาษาบาลีและสันสกฤตพบในจารึกตัง้ แต่สมัยสุโขทัยโดยเฉพาะอย่างยิง่ สมัยพระมหาธรรมราชาลิไท เช่น ศิลาจารึกหลักที่ 2 พระมหาสวามีศรี ศรัทธาราชจุฬามุนีฯ (พ.ศ. 1900) เตภูมกิ ถา หรือ ไตรภูมิพระร่วง (ตารา วิชาการทางด้านพระพุทธศาสนา) อยุธยา : สังคมพหุภาษา ▪ สังคมพหุภาษา หมายถึง สังคมทีม่ ีการใช้ภาษาตัง้ แต่สองภาษาขึ้นไป ▪ วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์ (Khanittanan, 2001) สันนิษฐานว่า สังคมอยุธยาเป็ นสังคมสอง ภาษา (bilingual) ▪ Bilingualism must have been strengthened and maintained for some time by the great number of Khmer-speaking captives the Thais took from Angor Thom after their victories in 1369, 1388 and 1431 (Kasetsiri 1999: 25). ▪ Gradually toward the end of the period, a language shift took place. Khmer fell out of use. ▪ Consequently, the Thai of the late Ayutthaya Period which later became Rattanakosin or Bangkok Thai, was a thorough mixture of Thai and Khmer. ▪ There were more Khmer words in use than Tai cognates (words from Proto- Tai) ▪ Khmer grammatical rules were used actively to creating new disyllabic and polysyllabic words and phrases. ▪ Khmer expressions, proverbs and sayings were found Khmer Elements in the Thai Language ▪ ราชาศัพท์ (ศัพท์สูง – ศัพท์ลา่ ง) ▪ คายืมภาษาเขมรมากกว่า 2,500 คา ▪ พบคายืมเขมรในทีห่ ลากหลายบริบท แม้กระทัง่ คาศัพท์พ้ ืนฐาน ▪ คาแสดงสภาพและอารมณ์ ▪ ฉงน กระวนกระวาย กระอักกระอ่วน เหลิง เพลิดเพลิน สานึก สนุก ▪ คาศัพท์พ้ ืนฐานในชีวติ ประจาวัน ▪ ชนะ ชิด เดิน รา สะพาน สะอาด ตรง ▪ คาไวยากรณ์ ▪ คือ หรือ เพราะ แต่ ควร คง ▪ คาทีเ่ ป็ นชือ่ สัตว์และพืช เช่น ปลากราย ปลาชะโด ปลาฉลาม ขนุน ระกา สา เดา ▪ คาอุทาน เช่น จ้า จ้ะ อือ เออ โว้ย โอย อุย๊ ▪ การสร้างคาแบบคาหลายพยางค์ซงึ่ พบได้นอ้ ยในภาษาตระกูลไท เช่น ดูก > กระดูก, ตู > ประตู, ตรวจ > ตารวจ, ช่วย > ชาร่วย คายืมภาษาโปรตุเกส คายืมภาษาสเปน ▪ ไทยมีความสัมพันธ์กบั ฝรัง่ เศสตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ▪ ชาวฝรัง่ เศสได้เข้ามาสูป่ ระเทศไทยโดยมองซิเออร์ เดอลา มอตต์ ลังแบรต์ สังฑราชแห่งเบริทในคณะสอนศาสนาโรมันคาธอลิกของฝรัง่ เศส และมีนกั สอนศาสนาเข้ามาเรือ่ ยๆ ต่อมาได้มีการตัง้ โรงเรียนและสร้างโรงสวดขึ้น ▪ บริษทั อินเดียตะวันออกของฝรัง่ เศสได้สง่ เรือเข้ามาทาการค้าขายกับประเทศไทย ไทยส่งราชทูตคณะที่ 2 ออกไปเจริญสัมพันธไมตรีกบั พระ เจ้าหลุยส์ท่ี 14 และฝรัง่ เศสได้สง่ เชอวาลิเอร์เดอโชมองต์เป็ นราชทูตมาเกลี้ยกล่อมให้สมเด็จพระนารายณ์เปลีย่ นศาสนามานับถือศาสนา คริสต์ แต่ก็ไร้ผล อย่างไรก็ตามพระองค์ก็มิทรงได้ขดั ขวาง ถ้าหากประชาชนชาวไทยจะหันไปเข้ารีตนับถือศาสนาคริสต์ ▪ การทีช่ าวไทยได้มีความสัมพันธ์กบั ชาวฝรัง่ เศสตัง้ แต่ครัง้ นัน้ จนกระทัง่ สมัยปั จจุบนั ทาให้มีคายืมทีม่ าจากภาษาฝรัง่ เศสจานวนหนึ่งทีเ่ ข้ามา ใช้แพร่หลายอยูใ่ นภาษาไทย คายืมภาษาฝรัง่ เศส ▪ "พวกแขกเทศ" คือชาวต่างประเทศทีน่ บั ถือศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหรับ และ เปอร์เซีย ได้เข้ามาติดต่อกับ ไทยในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแล้ว เช่น มีตาแหน่งกรมท่าฝ่ ายขวา ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศทางทิศ ตะวันตกของไทย เรียกว่า "จุฬาราชมนตรี" และมีแขกเทศเป็ นข้าราชการไทยอยู่หลายตาแหน่ง คือ "หลวงศรียศ" "หลวงศรีวรข่าน" และ "ราชบังลัน" เป็ นต้น ▪ พวกนับถือศาสนาอิสลามก็มีทกี่ รุงศรีอยุธยา และกรุงธนบุรเี ป็ นจานวนมาก ในบรรดาแขกเทศทัง้ หลาย พวกเปอร์เซีย และอาหรับเป็นพวกทีม่ ีอทิ ธิพลทีส่ ุด เพราะมีทงั้ พ่อค้าและข้าราชการด้วยเหตุน้ ีคาเปอร์เซียและคาอาหรับจึงปนอยูใ่ น ภาษาไทยจานวนหนึ่ง ตัง้ แต่สมัยนัน้ เป็นต้นมา แต่สว่ นมากผ่านมาทางมลายูกอ่ น คายืมภาษาเปอร์เซีย ▪ จากความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับทมิฬเป็ นเวลาช้านานก่อนสมัยสุโขทัย จึงสันนิษฐานว่าภาษา ทมิฬได้เข้ามาปะปนในภาษาไทยโดยผ่านทางลังกา เพราะไทยนับถือพุทธศาสนาลัทธิลงั กาวงศ์ และการค้าขายซึง่ ทมิฬในสมัยโบราณเคยเข้ามาค้าขายกับประเทศต่าง ๆ ทางแถบเอเชีย เช่น ชวา มลายู เขมร มอญ ไทย จึงได้หยิบยืมภาษาใช้กนั เป็ นธรรมดา ▪ ปรากฏหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ คือ ศิลาจารึกภาษาทมิฬ ทีว่ ดั พระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช คายืมภาษาทมิฬ ▪ ภาษามลายูหรือภาษามาเลย์ คาส่วนใหญ่จะมีสองพยางค์และสามพยางค์ เข้ามาปะปนใน ภาษาไทยเพราะมีเขตแดนติดต่อกัน จึงติดต่อสัมพันธ์กนั ทัง้ ทางด้านการค้าขาย ศาสนา วัฒนธรรม มาเป็ นเวลานาน โดยเฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ยะลา สงขลา ปั ตตานี นราธิวาส และสตูล ยังคงใช้ภาษามลายูสอื่ สารในชีวติ ประจาวันอยูเ่ ป็ นจานวนมาก ▪ ภาษามลายูเข้ามาปนอยูใ่ นภาษาไทยในช่วงศตวรรษที่ 18 – 19 (Suthiwan & Tadmore, 2009) คายืมภาษามลายู ▪ บุหลัน โลมา สลัก มัสยิด สุเหร่า ทุเรียน ลองกอง ลางสาด มังคุด รามะนา กอและ โสร่ง ▪ ปั ตตานี (เปอตานี) ยะลา (ยาลา) สตูล (เซินตูล) ภูเก็ต (บูกิต) ▪ รับมาโดยการแปลศัพท์ ▪ ลูกเงาะ มาจากคาว่า รัมบุตนั = ลูกไม้ทมี่ ีผม ▪ ข้าวยา ,, นาซิ เกอราบู = ข้าวสุก+ยา ▪ นกขมิ้น ,, บุรงกุญิต = นก+ขมิ้น อยุธยา: สังคมแห่งการสัมผัสภาษา ▪ อยุธยาเป็ นหนึ่งในเมืองทีใ่ หญ่ทส่ี ุดของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงประมาณ ศตวรรษที่ 17 ช่วงรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรม พระเจ้าปราสาททอง พระนารายณ์ มหาราช ต่างชาติทเี่ ดินทางเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคนัน้ บอกว่า อยุธยาเป็ น 1 ใน 3 มหาอานาจของเอเชีย เทียบกับ จีน และวิชยั นคร (อินเดีย ใต้) ▪ กรุงศรีอยุธยามีการติดต่อกับหลากหลายประเทศ ▪ มีการสัมผัสภาษาสูง ▪ มีชุมชนชาวต่างประเทศในกรุงศรีอยุธยามากมาย เช่น Vietnamese Village บ้านยวน Portuguese Village บ้านโปรตุเกส Japanese Village บ้านญีป่ ุ่ น Muslim Village บ้านแขก ▪ มีคายืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยมากมาย จินดามณี : แบบเรียนภาษาไทยเล่มแรก ▪ จินดามณี เป็ นแบบเรียนภาษาไทย มีเนื้อหาครอบคลุมเรือ่ ง การใช้สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ การแจกลูก การผันอักษร อักษรศัพท์ อักษรเลข การสะกดการันต์ การแต่งคาประพันธ์ ชนิดต่าง ๆ และกลบท ปรากฏกลบท อยู่ 60 ชนิด ▪ จินดามณี แต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนกลาง มีหลายฉบับ ▪ ฉบับทีม่ กั จะถูกอ้างถึงมากทีส่ ุดคือ ฉบับทีแ่ ต่งโดยพระโหราธิบดี ในรัชสมัยของ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ▪ เรือ่ งนี้มอี ยูว่ า่ : หนังสือจินดามณี ▪ https://www.youtube.com/watch? v=DpawDNekYPs ปรากฏการณ์ทางภาษา ในสมัยธนบุรแี ละรัตนโกสินทร์ ▪ สมัยธนบุรี (พ.ศ. ๒๓๑๐ – ๒๓๒๕) และ รัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ ๑ – รัชกาลที่ ๓ หรือ ราว พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๙๔) ▪ ลักษณะของภาษาไทยไม่ได้แตกต่างจากสมัยอยุธยาอย่างชัดเจน ▪ พบว่าเริม่ มีการยืมคาศัพท์จากภาษาต่างประเทศทีเ่ ข้ามาติดต่อค้าขายกับประเทศ ไทยมากขึ้น English Loanwords in Early-Rattanakosin Period ▪ Although the British people traded with the Thais of Ayutthaya in the reign of King Songthum (1610-1628 C.E.), English words were not taken into the Thai language until the early Rattanakosin period when the British expanded their trade and power to Southeast Asian countries. ▪ Documents in the reign of King Rama III (1824-1851 C.E.) shows some English personal names, titles and place names written in Thai orthography. ▪ Some of them reflect a pronunciation very close to the English but others are beyond recognition ▪ ฝารังปั ตุกนั /fa: raŋ patukan/ for ‘Portugal’ ▪ กปิ ตนั /kapitan/ for ‘captain’ ▪ ยิ้ม /jim/ for ‘James’ ปรากฏการณ์ทางภาษา ในสมัยหัวเลี้ยวหัวต่อของรัตนโกสินทร์ ▪ สมัยรัชกาลที่ ๔ – ๖ (ราว พ.ศ. ๒๓๙๔ – ๒๔๖๘) ▪ ช่วงการปรับเปลี่ยนเป็ นภาษาไทยสมัยใหม่ (modernization of Thai) ▪ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึง่ เริม่ อย่างชัดเจนในสมัยรัชกาลที่ 5 ▪ มีการสัมผัสภาษากับภาษาต่างประเทศมากขึ้นทาให้เกิดการยืมคาศัพท์ภาษาต่างประเทศ อย่างต่อเนื่อง ▪ พบการใช้คาบุพบทด้วยความถี่สงู ▪ การใช้ประโยคกรรมวาจก (passive voice) มากขึ้น ▪ การใช้นามวลี การ- การที-่ และ ความ- มากขึ้น English Loanwords in Mid-Rattanakosin Perion ▪ The study of the English language began first among Thai princes and some officers the reign of King Rama IV (1851-1868 C.E.) and became more widespread in the reign of King Rama V (1868-1910 C.E.). ▪ Since then English words began to invade the Thai language ▪ According to documents written before 1910 C.E., at least 11 groups of vocabulary were found. Science & Technology 13.51% Food & Drinks 9.00% Clothes & Fashions 8.89% Games & Gambling 6.87% Persons & Positions 6.40% Measurement 6.04% Education 4.86% Art & Recreation 3.32% Medical Sciences 3.08% Music and Dancing 2.96% Miscellaneous 35.07% “มูลบทบรรพกิจ” : พระยาศรีสุนทรโวหาร ▪ โครงการปฏิรูประบบการเขียนภาษาไทย ▪ การตัง้ วรรณคดีสมาคม ▪ การเขียนอักษรไทยเป็ นอักษรโรมัน (Romanization) ▪ การบัญญัตศิ พั ท์ สมัยรัชกาลที่ ๖ ▪ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงริเริม่ โครงการปฏิรูประบบการเขียนภาษาไทย ▪ โครงการนี้ได้รบั แรงบันดาลใจจากระบบการเขียนภาษาตะวันตก ▪ เหตุผลของการปฏิรูป คือ จะทาให้ชาวตะวันตกอ่านภาษาไทยได้ง่ายขึ้น และคนรุน่ ใหม่ เรียนภาษาไทยได้เร็วขึ้น โครงการปฏิรูประบบการเขียนภาษาไทย ระบบการเขียนภาษาไทยปกติ ▪ สระอยูห่ น้าพยัญชนะ เช่น ไป เกเร แล ▪ สระอยูห่ ลังพยัญชนะ เช่น มา พระ ▪ สระอยูล่ า่ งพยัญชนะ เช่น คุณ ดู ▪ สระอยูบ่ นพยัญชนะ เช่น กิน ตี ดึง ยืด ▪ สระอยูท่ งั้ หน้าและหลัง เช่น เรา เกาะ ▪ สระอยูท่ งั้ หน้าและบน เช่น เกิน โต๊ะ ▪ รัชกาลที่ ๖ มีพระราชประสงค์ให้เขียนภาษาไทยแบบภาษาอังกฤษ ▪ วางสระไว้หลังพยัญชนะเหมือนการออกเสียง ▪ เว้นวรรคระหว่างคา ‹ค ุุ ณ ป ไ รโง รเ ุี ยน มา หร ุื อ› “คุณไปโรงเรียนมาหรือ” ▪ โครงการนี้ไม่ประสบผลสาเร็จ เพราะไม่มีใครรับมาใช้ และเงียบหายไปในทีส่ ุด ▪ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงห่วงใยภาษาไทยมาก ▪ พระองค์มีทศั นคติทางลบต่อการเปลี่ยนแปลงของภาษาไทย ▪ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ พระองค์ทรงตัง้ วรรณคดีสมาคมขึ้นและทรงทาหน้าทีน่ ายก สมาคมด้วย การตัง้ วรรณคดีสมาคม (Literary Society) ▪ คณะกรรมการประกอบด้วยนักปราชญ์ทไ่ี ด้รบั การคัดเลือกเป็ นพิเศษ ▪ หน้าทีห่ ลักของสมคมคือ พิจารณาวรรณกรรมทุกสาขายกเว้นประวัตศิ าสตร์ (อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของสมาคมประวัตศิ าสตร์) ▪ ผลงานใดผ่านและเป็ นทีย่ อรับของคณะกรรมการ จะได้รบั ประทับตรามังกร (ตราประจา ของสมาคมวรรณคดี) ▪ สมาคมนี้ให้รางวัลแก่ผลงานวรรณคดีดเี ด่นด้วย ▪ ต่อมาสมาคมกลายเป็ นผูพ้ ิทกั ษ์รกั ษาการเขียนทีถ่ กู ต้อง ช่วยป้ องกันการทาให้ ภาษาวิบตั ิ อันเนื่องมาจากคาและสานวนต่างประเทศ เช่น ▪ ห้ามใช้วา่ “จับรถไฟ” (จากสานวน to catch the train) ควรใช้ “ขึ้นรถไฟ” ▪ การบัญญัตศิ พั ท์ในประเทศไทยเริม่ มาตัง้ แต่มีการสัมผัสภาษาของภาษาไทยกับ ภาษาอังกฤษอย่างจริงจังในสมัยรัชกาลที่ ๕ ▪ การบัญญัตศิ พั ท์เริม่ จริงจังขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๖ ▪ บุคคลหลักในการบัญญัตศิ พั ท์ในสังคมไทยคือ พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่น นราธิปพงศ์ประพันธ์ (หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ) การบัญญัตศิ พั ท์ ▪ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ (รัชกาลที่ ๗) คณะรัฐมนตรีมีมติให้แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาบัญญัตศิ พั ท์ภาษาไทยขึ้น ▪ ปั จจุบนั ราชบัณฑิตสถานเป็ นหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบเรือ่ งการบัญญัตศิ พั ท์ ปรากฏการณ์ทางภาษา ในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ▪ สมัยรัชกาลที่ ๗ – สงครามโลกครัง้ ที่ ๒ หรือ ราว พ.ศ. ๒๔๖๘ – ๒๔๘๘ ▪ สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ▪ จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็ นนายกรัฐมนตรี ๒ สมัย (๒๔๘๑-๒๔๘๗ และ ๒๔๙๑-๒๕๐๐) ▪ ให้เปลี่ยนชือ่ จากประเทศ “สยาม” เป็ น “ประเทศไทย” ▪ ให้วนั ที่ ๒๔ มิถุนายน เป็ นวันชาติ ▪ ให้ทากิจกรรมเพื่อแสดงความรักชาติ เช่น เคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และรณรงค์ให้ใช้ ภาษาไทยให้ถูกต้อง ▪ ให้วนั ที่ ๑ มกราคม เป็ นวันขึ้นปี ใหม่แทนวันสงกรานต์ ๒๔๘๕ เรือ่ ง “การปรับปรุงตัวอักษรไทย” ▪ ให้สวมหมวก สูท เนคไท ▪ ห้ามเคี้ยวหมาก ▪ มีการปฏิรูปการสะกดคาเพื่อเร่งอัตราการอ่านออกเขียน ได้ในประเทศไทย เนื่องจากการสะกดแบบใหม่มีความ เรียบง่าย ▪ การสะกดแบบใหม่คอื การสะกดให้เหมือนการออกเสียง โดยไม่ตอ้ งเก็บรูปทีภ่ าษาไทยยืมมาเอาไว้ ▪ ตัวอักษรทีใ่ ช้คอื อักษรกลางทีใ่ ช้มากและใช้เขียนภาษาที่ เป็ นไทยแท้อยูแ่ ล้ว ▪ ออกประกาศสานักนายกรัถมนตรี วันที่ ๒๙ พรึสภาคม ▪ ให้ตดั พยัญชนะ สระเสียงซา้ ▪ งดใช้สระ ๕ รูป : ใ ฤ ฤา ฦ ฦา ▪ งดใช้พยัญชนะ ๑๓ รูป : ฃ ฅ ฆ ฌ ฏ ฎ ฐ ฑ ฒ ณ ศ ษ ฬ ▪ ยกเลิกเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๘ (นายควง อภัยวงศ์ ขึ้นดารงตาแหน่ง นายกรัฐมนตรี) ▪ การเปลีย่ นสรรพนามและถ้อยคาเพื่อสือ่ สารในสมัยจอมพล ป. พิบูล สงคราม ▪ มีการเรียกร้องให้ประชาชนใช้คาสรรพนามทีแ่ สดงความเท่าเทียมในสังคม เหมือนสากล ▪ บุรุษที่ ๑ ฉัน ▪ บุรุษที่ ๒ เธอ ท่าน ▪ บุรษที่ ๓ เขา ▪ มีการชักชวนให้ประชาชนใช้คาเท่าเทียมกับคาในภาษาอังกฤษ ▪ อรุณสวัสดิ์ Good morning ▪ ราตรีสวัสดิ์ Good night ▪ ขอบคุณ Thank you ▪ ขอโทษ Sorry ▪ โปรด Please ปรากฏการณ์ทางภาษา ในสมัยปั จจุบนั ▪ ภาษาไทยได้รบั อิทธิพลจากโลกาภิวตั น์และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี สารสนเทศ ▪ คายืมจากภาษาต่างประเทศเข้ามาสูภ่ าษาไทยมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ▪ กานต์รวี ชมเชย ▪ ศึกษาลักษณะของภาษาไทยเน็ตทีป่ รากฏในปี 2555-2556 และ การปรากฏของภาษาไทยเน็ตในภาษาสือ่ มวลชนและวรรณกรรมรักวัยรุน่ ▪ พบว่า ภาษาไทยเน็ตเป็ นวิธภาษาใหม่ของภาษาไทยทีไ่ ม่ได้เกิดจาก การผสมผสานระหว่างภาษาเขียนและภาษาพูด แต่เกิดขึ้นในฐานะภาษาทีต่ อบสนองความต้องการของกลุม่ คนรุน่ ใหม่ ใน การสือ่ สารกันผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ดว้ ยการพิมพ์ ภาษาไทยเน็ต : ภาษาเฉพาะกลุม่ ของคนไทยรุน่ ใหม่ในการสือ่ สารทาง อินเตอร์เน็ต ▪ ลักษณะของภาษาไทยเน็ตมีลกั ษณะเฉพาะทีแ่ ตกต่างจากภาษาไทย มาตรฐาน แบ่งออกได้เป็ น 6 ลักษณะ ได้แก่ ▪ การแปรด้านการสะกดคา ▪ การพิมพ์แบบพิเศษ ▪ การใช้สญั รูป ▪ การสร้างคาใหม่ ▪ การใช้เครือ่ งหมาย ▪ การใช้ภาษาอังกฤษปนภาษาไทย ▪ การแปรด้านการสะกดคา แบ่งออกเป็ น 3 กลุม่ ▪ การแปรด้านการสะกดคาทัว่ ไป เช่น คาว่า ใคร เป็ น คัย ใจ เป็ น จัยนะ เป็ น น๊ ขอโทษ เป็ น ขอโทด ▪ การแปรด้านการสะกดคาทีส่ ะกดตามการออกเสียงในภาษาพูด เช่น ก็ เป็ น ก้อ จ้ะ เป็ น จ่ะ นา้ เป็ น น้าม ด้วย เป็ น ดัว้ ▪ การแปรด้านการสะกดคาทีอ่ าจส่งผลต่อภาษาพูด เช่น บ้า เป็ น บร้า เลย เป็ น เรย เขิน เป็ น เขิล จังเลย เป็ น จุงเบย ▪ การพิมพ์แบบพิเศษ ▪ พบการพิมพ์ซา้ ตัวอักษร ▪ การพิมพ์ซา้ ตัวอักษรตัวสุดท้าย: ก๊ากกกกกกก กินด้วยยยยย ▪ พิมพ์ซา้ หมายเลย 5: 5555 แทนเสียงหัวเราะ ▪ การพิมพ์ซา้ เครือ่ งหมายปรัศนีและอัศเจรีย์ เพื่อสือ่ ถึงความดังและยาวนานของเสียง รวมถึงเน้นความหมาย: อยู่กะคราย???? อัยย่ะ!!!! ▪ พบการเว้นวรรคระหว่างตัวอักษรเพื่อเน้นเสียงและแสดงความจริงจัง: ทั ก ทา ย ย ย ย ข อ โ ท ด นะ ◼ การใช้สญ ั รูป ปรากฏ 2 ลักษณะคือ ปรากฏแบบเดีย่ ว และ แบบประกอบข้อความ ▪ ปรากฏแบบเดีย่ ว ก : เกรดออกแล้วไม่ได้ A นะ ข : TT^TT ก : โหหน้าใสมว๊ากกกคร่าาาา ข : ^^ ▪ แบบประกอบข้อความ ▪ เพลงแน่นอก ^___^ สุดยอดไปเลย (ยิ้ม) ▪ อย่าดุมินสิ T^T (ร้องไห้) ▪ ตัวจริงตัวเล็ก น่ารักมากๆ >.< ขาวสว่างฝุดๆ (ทาตาหยี แสดงความน่ารัก) ▪ จุบ๊ -3- (ทาริมฝากจูเ๋ พื่อจูบ) ▪ ฮึบบบบบบ :) (ยิ้ม) ▪ พอเปิ ดมาปุ๊ บ ก็มิดเทอมเรยทันที!! TT^TT (ร้องไห้ นา้ ตาไหลพราก) ▪ สาธุ -/\- (ยกมือไหว้) ▪ อายเค้านะตะเอง -///- (เขินจนหน้าแดง) ▪ การสร้างคาใหม่ ▪ คาแสดงเสียง อารมณ์และกิริยาอาการ ▪ คริคริ หึหึ ก๊ากกกกร๊ากกกก เอิก๊ กก ▪ แงๆ ฮือๆ ▪ แอร๊ยยย อร๊ายยย บร๊ะเจ้า! ▪ เงิบ งุงิ ▪ ม๊วฟฟฟฟ จุบ๊ จุบุๆ กระทืบ Like ▪ การสร้างคาใหม่ ▪ คาลงท้าย ▪ ทาไรอะ ช่วงนี้ไมมีแต่คนนอนดึกง่ะ ▪ ด่วนสุดๆ มีแจกของ ง่ายเหอะ (ไม่ได้ยากอย่างทีค่ ดิ ) ▪ คาแสดงอาการตอบรับรับรู ้ ▪ อืม อะจ้ะ อ่าน้าอะนะ งืม งืองือๆ ▪ การสร้างคาใหม่ ▪ การนาคาทีม่ ีอยูแ่ ล้วในภาษาในความหมายอืน่ มาใช้ในอีกความหมายหนึ่งเนื่องจากออกเสียง คล้ายกัน ▪ ถัว่ ต้ม ใช้ในความหมายว่า ถูกต้อง ▪ น่าร็อค ใช้ในความหมายว่า น่ารัก ▪ คาศัพท์อนื่ ๆ ▪ กาก เน่า เทพ เมพขิงขิง เกรียน ฟิ น โอ ▪ การใช้เครือ่ งหมาย ▪ การใช้เครือ่ งหมายปรัศนีในประโยคคาถามเป็ นจานวนมากเพื่อให้ผรู ้ บั สารเข้าใจในทันทีวา่ เป็ น ประโยคคาถาม และเพื่อเน้นความหมายเชิงคาถาม ▪ แค่น้ ี? (ละคาว่า หรือเหรอ) เพื่อ ? (ละคาว่า อะไร) ▪ การใช้เครือ่ งหมาย ▪ การใช้เครือ่ งหมายจุดไข่ปลา เป็ นไปเพื่อสือ่ ความหมายว่าข้อความทีถ่ ูกคัน่ ด้วยจุดไข่ปลามีความหมาย ต่อเนื่องกัน และช่วยในการลากเสียง ▪ แต่เคยเจออีกแบบ คนตัวสูง.....เง้อ เค้าตัวเตี้ย....นัง่ ข้างหลัง ซวยเลย ▪ พอเหอะ........ ▪ การใช้เครือ่ งหมายอัศเจรียใ์ นประโยคอุทานใช้เพื่อเน้นเสียงและดึงดูดความสนใจ ▪ พูดดี!! ▪ การใช้ภาษาอังกฤษปนภาษาไทย ▪ มีการใช้ภาษาอังกฤษในคาทับศัพท์ทน่ี ิยมใช้กนั ในภาษาพูด ▪ OK จ้า ▪ ไม่เคย Fake ▪ Thanks จ้า ▪ กระทืบ Like ▪ ลุค sexy ▪ Set นี้หา้ มแม่เห็นค่ะ เด๋วงานเข้า การใช้สติก๊ เกอร์ไลน์ ▪ การใช้ภาษาพูด ▪ การแสดงอารมณ์ความรูส้ กึ ▪ การยืมศัพท์ภาษาต่างประเทศ ▪ การหลีกเลีย่ งความไม่สุภาพ ตัวอย่างสติก๊ เกอร์ไลน์ การเปลี่ยนแปลงภาษา ▪ “การที่รูปหรือลักษณะในภาษามีความแตกต่างไปจากเดิมเมื่อ เวลาผ่านไป...” ▪ รูปแบบของภาษา ▪ ลักษณะภาษา ▪ การใช้ภาษา ราชบัณฑิตยสภา (2560: 245) การเปลี่ยนแปลงภาษา: รูปแบบของภาษา ▪ รูปสัญลักษณ์ ▪ อักขระ อักษรและเครื่องหมายวรรคตอน ▪ อิโมจิและสติก๊ เกอร์ การเปลี่ยนแปลงภาษา: ลักษณะภาษา ▪ การเปลี่ยนแปลงทางเสียง เช่น กรู ฮาฟ ▪ การเปลี่ยนแปลงทางศัพท์ เช่น ตุย กร้าว ▪ การเปลี่ยนแปลงทางระบบหน่วยคา เช่น ความวิ่ง ▪ การเปลี่ยนแปลงทางวากยสัมพันธ์ เช่น จริง? ▪ การเปลี่ยนแปลงทางความหมาย เช่น ลาไย เผือก ผลกระทบทางด้านภาษา ▪ การเปลี่ยนภาษา (language shift) ▪ การตายของภาษา (language death) ▪ การธำรงภาษา (language maintenance) ผลกระทบทางด้านสังคม ▪ สังคมทวิภาษณ์/สังคมพหุภาษา ▪ ความคิด เช่น เวลา สี ▪ เจตคติ เช่น กาลเทศะ มารยาทพื้นฐาน ▪ ค่านิยม เช่น การแต่งงาน การทักทาย ▪ การงานอาชีพ เช่น beauty blogger แม่ค้าออนไลน์ ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรม ▪ การลู่เข้าของวัฒนธรรม ▪ สังคมพหุวัฒนธรรม ▪ อาหารการกิน เช่น ประเภทของอาหาร การบริโภค ▪ เครื่องแต่งกาย เช่น เสื้อผ้า รองเท้า ▪ ธรรมเนียมประเพณี เช่น พิธีกรรม วันสำคัญ ▪ ศิลปกรรม เช่น ภาพวาด ดนตรี ▪ ขอบคุณค่ะ