หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) PDF
Document Details
Uploaded by MagicObsidian2540
2560
Tags
Summary
This document details the background of an anti-corruption education curriculum. It outlines the strategies and goals of the curriculum for various educational levels, including primary, secondary, and higher education. The document also describes the committees and processes involved in developing the curriculum in Thailand.
Full Transcript
1 ความเป็นมา ของหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) 1.1 ยุ ทธศาสตร์ ชาติว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 “สร้างสังคมไม่ทนต่อการทุจริต” ได้มุ่งเน้นให้ความสา...
1 ความเป็นมา ของหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) 1.1 ยุ ทธศาสตร์ ชาติว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 “สร้างสังคมไม่ทนต่อการทุจริต” ได้มุ่งเน้นให้ความสาคัญในกระบวนการปรับสภาพสังคมให้เกิด ภาวะที่ “ไม่ทนต่อการทุจริต” โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกระดับช่วงวัยตั้งแต่ปฐมวัยเพื่อ สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต และปลูกฝังความพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ดาเนินการผ่านสถาบันหรือกลุ่ม ตัว แทนที่ทาหน้ าที่ในการกล่ อมเกลาทางสั งคม และได้กาหนดกลยุทธ์ 4 กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ 1 ปรับฐาน ความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต กลยุทธ์ที่ 3 ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต และกลยุทธ์ที่ 4 เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุก ภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต โดยมี 3 กลยุทธ์ ที่กาหนดให้ต้องดาเนินการจัดทาหลักสูตร บทเรียน การเรียนการสอน การนาเสนอ และรูปแบบการป้องกันการทุจริต รวมทั้งการพัฒนานวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 2 และกลยุทธ์ที่ 3 1.2 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีคาสั่ งที่ 646/2560 ลงวันที่ วันที่ 26 เมษายน 2560 แต่งตั้ง คณะอนุ ก รรมการจั ด ท าหลั ก สู ต รหรื อ ชุ ด การเรี ย นรู้ แ ละสื่ อ ประกอบการเรี ย นรู้ ด้ า นการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต เพื่อดาเนินการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต สาหรับใช้เป็นมาตรฐานกลางเพื่อให้ สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านการศึกษา นาไปปรับใช้ในการเรียนการสอนให้กับนักเรียนนักศึกษา ในทุกระดับชั้นเรียน ตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง หลักสูตรสาหรับฝึกอบรมให้กับบุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ที่ปรึกษาประธานกรรมการ ป.ป.ช. เป็นประธานอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการประกอบด้วย ผู้บริหารสานักงาน ป.ป.ช. ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ได้แก่ 1) สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 2) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 5) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 6) สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 7) สานักงานลูกเสือแห่งชาติ 8) ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย 9) ที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ 10) คณะกรรมการอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 11) สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ 12) กรมยุทธศึกษาทหารบก 13) กรมยุทธศึกษาทหารเรือ 14) กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ 15) กองบั ญชาการศึกษา สานักงานตารวจแห่งชาติ -2- คณะอนุ กรรมการจั ดท าหลั กสู ตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่ อประกอบการเรียนรู้ ด้านการ ป้องกันการทุจริต มีอานาจหน้าที่ดังนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และ สื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต 2. กาหนดแนวทางและขอบเขตในการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการ เรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 “สร้างสังคมไม่ทนต่อการทุจริต” 3. พิจารณายกร่างและจัดทาเนื้อหาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต โดยกาหนดโครงสร้างหลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร จุดประสงค์ของรายวิ ชา เนื้อหาสาระ จัดระเบียบ/ลาดับของเนื้อหาสาระ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ รวมทั้งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ การจั ด ท าหลั ก สู ต รหรื อ ชุ ด การเรี ย นรู้ แ ละ สื่ อประกอบการเรี ยนรู้ ด้านการป้ องกัน การทุ จริ ต เพื่อให้ มี เนื้ อหาที่ครอบคลุ มและสมบูรณ์ พร้อมทั้งนาเสนอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาให้ความเห็นชอบ ทั้งนี้ ให้ดาเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2560 5. กาหนดแผนหรือแนวทางการนาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ไปใช้ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. ดาเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย -3- 2 การดาเนินงานเพื่อพิจารณาจัดทาหลักสูตร/ชุดวิชา/กลุ่มเป้าหมาย การดาเนินงาน 1) การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน คณะอนุกรรมการฯ ประชุมครั้งที่ 1 กับผลประโยชน์ส่วนรวม เพื่อพิจารณากรอบเนื้อหาหลักสูตรฯ 2) ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต 4 ชุดวิชา (29 พ.ค. 60) 3) STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต 4) พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ จานวน 4 วัน เพื่อดาเนินการจัดทาเนื้อหาหลักสูตรฯ 1) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 หลักสูตร (17 - 20 ก.ค. 60) ทดลองใช้ 2) หลักสูตรอุดมศึกษา 3) หลักสูตรกลุ่มทหารและตารวจ คณะอนุกรรมการฯ ประชุมครั้งที่ 2 4) หลักสูตรวิทยากร ป.ป.ช. / โดยเห็นชอบ 4 หลักสูตร ได้แก่ บุคลากรภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจ 1) หลักสูตรอุดมศึกษา 5) หลักสูตรโค้ช 2) หลักสูตรกลุ่มทหารและตารวจ 3) หลักสูตรวิทยากร ป.ป.ช. / บุคลากร ภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจ 4) หลักสูตรโค้ช (7 ส.ค. 60) คณะอนุกรรมการฯ ประชุมครั้งที่ 3 โดยเห็นชอบให้หลักการการจัดทา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (1 ก.ย. 60) ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ จานวน 4 วัน เพื่อดาเนินการคัดเลือกสื่อประกอบเนื้อหาหลักสูตรฯ ทั้ง 5 หลักสูตร (11 - 14 ก.ย. 60) คณะอนุกรรมการฯ ประชุมครั้งที่ 4 โดยเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมกาหนด แนวทางการนาหลักสูตรไปใช้ (28 ธ.ค. 60) นาเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตรและแนวทางการ นาหลักสูตรไปใช้ (27 ก.พ. 61 นาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาไปพิจารณาปรับใช้กับ กลุ่มเป้าหมาย ตามมาตรา 19 (11) และ (13) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 -4- 2.1 ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 1-1/2560 เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2560 เพื่อหารือเกี่ยวกับ กรอบการจั ดทาหลั กสู ตรหรื อชุดการเรี ยนรู้ และสื่ อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกั นการทุจริต โดยที่ประชุ ม ได้เห็นชอบร่วมกันในการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต หัวข้อวิชา 4 วิชา ประกอบด้วย 1) การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม 2) ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต 3) STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต 4) พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม 2.2 สานักงาน ป.ป.ช. ได้จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการ ป้องกันการทุจริต ระหว่างวันที่ 17 - 20 กรกฎาคม 2560 ณ เทวมันตร์ทรา รีสอร์ท แอนด์ สปา ตาบลท่ามะขาม อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อดาเนินการจัดทาเนื้อหาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต โดยได้แบ่งกลุ่มตามการเรียนการสอนในแต่ละช่วงชั้น และการฝึกอบรมในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย เป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่ ม 1 หลั กสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยผู้ แทนจากส านักงานปลั ดกระทรวง ศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และสานักงาน ป.ป.ช. กลุ่ม 2 หลักสูตรอุดมศึกษา ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ, ผู้แทนจากสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ คณะกรรมการ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และสานักงาน ป.ป.ช. กลุ่ม 3 หลักสูตรกลุ่มทหารและตารวจ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนจากสถาบันวิชาการ ป้องกันประเทศ กรมยุทธศึกษาทหารบก กรมยุทธศึกษาทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ กองบัญชาการศึกษา สานักงานตารวจแห่งชาติ โรงเรียนนายร้อยตารวจ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา และ สานักงาน ป.ป.ช. กลุ่ม 4 หลักสูตรวิทยากร ป.ป.ช. /บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วยผู้แทนจาก สานักงาน ก.พ. สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น และสานักงาน ป.ป.ช. กลุ่ม 5 หลักสูตรโค้ช ประกอบด้วยผู้แทนจากผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้แทนจากสานักงาน ป.ป.ช. 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 2-2/2560 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2560 เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบเนื้อหาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต โดยที่ประชุมได้ให้ความเห็นชอบเนื้อหา หลั ก สู ต รหรื อ ชุ ด การเรี ย นรู้ ด้ า นการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต 4 หลั ก สู ต ร ประกอบด้ ว ย 1. หลั ก สู ต รอุ ด มศึ ก ษา 2. หลักสูตรกลุ่มทหารและตารวจ 3. หลักสูตรวิทยากร ป.ป.ช./บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ และ 4. หลักสูตรโค้ช ทั้งนี้ เนื่องจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะดาเนินการจัดทาเป็นแผนการจัดการเรียนรู้โดยแยกเป็น 13 ระดับชั้นปี ได้แก่ ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 - 6 และระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 - 6 ในแต่ละ ระดับชั้นปี จะใช้เวลาเรียนทั้งปี จานวน 40 ชั่วโมง ต้องจัดทาเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนให้แตกต่างกัน ตามความเหมาะสมและการเรียนรู้ในแต่ละช่วงวัย ซึ่งมีเนื้อหาที่ค่อนข้างเยอะ จึงยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ที่ประชุม จึงพิจารณาเฉพาะหลักสูตร 4 หลักสูตรที่ดาเนินการแล้วเสร็จ 2.4 ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 3-3/2560 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2560 เพื่อพิจารณากรอบ หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยที่ประชุมได้ให้ความเห็นชอบ ในหลักการเกี่ยวกับการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาขั้นพื้นฐาน -5- 2.5 สานักงาน ป.ป.ช. ได้จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกัน การทุจริต ระหว่างวันที่ 11 – 14 กันยายน 2560 ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพมหานคร เพื่อดาเนินการคัดเลือกสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต โดยได้แบ่งกลุ่มตามการเรียนการสอน ในแต่ละช่วงชั้น และการฝึกอบรมในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย เป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่ มที่ 1 กลุ่ มการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้ว ยผู้ แทนจากส านักงานปลั ดกระทรวง ศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และสานักงาน ป.ป.ช. กลุ่มที่ 2 กลุ่มอุดมศึกษา ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ , ผู้แทนจากสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ คณะกรรมการอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และสานักงาน ป.ป.ช. กลุ่มที่ 3 กลุ่มการศึกษาในส่วนทหารและตารวจ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนจาก สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กรมยุทธศึกษาทหารบก กรมยุทธศึกษาทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ กองบัญชาการศึกษา สานักงานตารวจแห่งชาติ โรงเรียนนายร้อยตารวจ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากร ทางการศึกษา และสานักงาน ป.ป.ช. กลุ่มที่ 4 กลุ่มวิทยากร ป.ป.ช. บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วยผู้แทนจาก สานักงาน ก.พ. สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น และสานักงาน ป.ป.ช. กลุ่มที่ 5 กลุ่มโค้ช ประกอบด้วยผู้แทนจากสานักงาน ป.ป.ช. 2.6 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดาเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาหลักสูตร หรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระหว่างวันที่ 25 – 28 พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เชิญอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญการ สร้างหลักสูตรในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจากทุกภูมิภาค จานวนประมาณ 70 คน มาร่วมเขียนหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.7 ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 4-4/2560 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2560 เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยที่ประชุมได้ให้ความ เห็นชอบหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมอบหมายให้สานัก ป้องกันการทุจริตภาครัฐ ฝ่ายเลขานุการฯ นาเสนอหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริตทุกหลักสูตร ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อให้ความเห็นชอบต่อไป 2.8 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดาเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการบรรณาธิการกิจ หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระหว่างวันที่ 9 - 12 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เชิญอาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่มี ความเชี่ยวชาญ ในการสร้างหลักสูตรในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวนประมาณ 30 คน มาร่วมตรวจทาน และปรับปรุงหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.9 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมครั้งที่ 948 - 19/2561 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561 ได้มี มติเห็นชอบหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ทั้ง 5 หลั กสูตรและ แนวทางการนาไปใช้ และเห็นชอบให้นาเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาหลักสูตรไป ปรั บใช้กับกลุ่ มเป้าหมาย ตามนัยพระราชบัญญัติประกอบรั ฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 มาตรา 19 (11) และมาตรา 19 (13) -6- 3 รายละเอียดของหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) แต่ละหลักสูตร (วิชา/จุดมุ่งหมาย/ตารางชั่วโมง/สือ่ การเรียนรู้ และการทดลองใช้) 3.1 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (1) ชื่อหลักสูตร “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต” (2) จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักเรียน (2.1) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม (2.2) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต (2.3) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต (2.4) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม (2.5) สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ (2.6) ปฏิบัติตนเป็นผู้ละอายและไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ (2.7) ปฏิบัติตนเป็นผู้ที่ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต (2.8) ปฏิบัติตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม (2.9) ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต (3) คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคม ในการต่อต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงานกระบวนการ เรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียนเพื่อให้มีความ ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการป้องกันการทุจริต (4) ผลการเรียนรู้ (4.1) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม (4.2) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต (4.3) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต (4.4) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม (4.5) สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ (4.6) ปฏิบัติตนเป็นผู้ละอายและไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ (4.7) ปฏิบัติตนเป็นผู้ที่ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต (4.8) ปฏิบัติตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม (4.9) ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต -7- (5) ตารางชั่วโมงการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ คือ 1) การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม 2) ความไม่ทนและความอายต่อการทุจ ริต 3) STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต และ 4) พลเมืองกับ ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยกาหนดชั่วโมงการจัดการเรียนการสอนดังนี้ ระดับการศึกษา ที่ หน่วยการเรียนรู้ ปฐมวัย ประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา มัธยมศึกษา ตอนต้น ตอนปลาย ตอนต้น ตอนปลาย ๑ การคิดแยกแยะระหว่าง 14 ชั่วโมง 16 ชั่วโมง 14 ชั่วโมง 12 ชั่วโมง 10 ชั่วโมง ผลประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ส่วนรวม ๒ ความไม่ทนและความ 12 ชั่วโมง 10 ชั่วโมง 10 ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 7 ชั่วโมง อายต่อการทุจริต ๓ STRONG : จิตพอเพียง 9 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 6 ชั่วโมง 10 ชั่วโมง 8 ชั่วโมง ต่อต้านการทุจริต ๔ พลเมืองกับความ 5 ชั่วโมง 10 ชั่วโมง 10 ชั่วโมง 10 ชั่วโมง 15 ชั่วโมง รับผิดชอบต่อสังคม รวม 40 40 40 40 40 โดยหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต การศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดเป็น 1 หลักสูตร และ แยกเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ 13 ระดับชั้นปี ได้แก่ ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 - 6 และระดับ มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 - 6 ทั้งนี้ ในแต่ละระดับชั้นปี จะใช้เ วลาเรียนทั้งปี จานวน 40 ชั่วโมง ซึ่งจะมีเนื้อหาและกิจกรรมการเรียน การสอนที่แตกต่างกัน ตามความเหมาะสมและการเรียนรู้ในแต่ละช่วงวัย (6) กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิดและแนวการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เน้นการใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ การสร้างความรู้ ได้แก่ 1) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Construction Theory) 2) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social Constructivism Theory) 3) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive Constructivism) 4) ทฤษฎีประมวลผลข้อมูล (Information Processing Theory) 5) ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) 6) ทฤษฎีการ เรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning Theory) ในการจัดการเรียนการสอน โดยภาพรวมจะใช้กลยุทธ์การ สอนที่เน้ น ผู้ เรี ย นเป็ น ส าคัญ คือ จั ดตามความแตกต่างของเด็ก แต่ล ะคน ด้ว ยการสอนโดยใช้ กระบวนการคิ ด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ การฝึ กปฏิบั ติจ ริ งการทาโครงงานสืบสวนสอบสวน กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การแก้ปัญหาตลอดจนใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายเหมาะกับผู้เรียนแต่ละวัย -8- (7) สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ จัดกิจกรรมด้วยสื่อการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เช่น วีดิโอ ข่าว VTR นิทาน การ์ตูน ภาพยนตร์สั้น เอกสารแก้ทุจริตคิดฐานสอง สื่อสิงพิมพ์ต่างๆ ใบความรู้ ใบงาน วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจน แหล่งเรียนรู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้น (8) การวัดและประเมินผล (8.1) การประเมินการเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือประเมินการเรียนรู้ในด้าน - ความรู้ความเข้าใจ - การปฏิบัติ - คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เครื่องมือที่ใช้ประเมิน - แบบสอบ - แบบประเมินการปฏิบัติงาน - แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน (8.2) การประเมินผล นักเรียนผ่านการประเมินทุกกิจกรรม ร้อยละ 80 ขึ้นไป จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน (9) การทดลองใช้ ทดลองนาร่องใช้กับโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ปองกันการทุจริต” (โรงเรียนสุจริต) ในสังกัดของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสรุปผลการ ทดลองใช้ได้จากบันทึกหลังการสอน ------------------------------ -9- 3.2 หลักสูตรอุดมศึกษา (1) ชื่อหลักสูตร “วัยใส ใจสะอาด “Youngster with good heart” (2) จุดมุ่งหมายของรายวิชา (2.1) เพื่ อให้ นั กศึ กษามี ความรู้ และความเข้ าใจเกี่ ยวกั บความหมายและประเภทของการทุ จริ ต และ ผลประโยชน์ทับซ้อน สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต สามารถวิเคราะห์ถึงผลเสียที่เกิดจากการทุจริตต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ (2.2) เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในเรื่องการปลูกจิตสานึก มีทักษะชีวิตด้านการปลูก จิตสานึกผ่านการศึกษาดูงาน (2.3) เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการนาจริยธรรมมาใช้ในชีวิตประจาวัน ประยุกต์ใช้หลัก จริยธรรมนาชีวิต และมีความรู้ความเข้าใจถึงค่านิยม จรรยาบรรณ และธรรมาภิบาล (2.4) เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการทางสังคมที่เกี่ยวกับการทุจริต สามารถบอกแหล่งแจ้งเบาะแสการทุจริตได้ (2.5) เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะเครื่องมือต้านการทุจริต (3) คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ ไม่ทนต่อการทุจริต รู้ หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการต่อต้านการทุจริต และ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย มุ่งเน้นให้ นักศึกษาเกิดความรู้ความ เข้าใจ ทักษะ เจตคติ ด้านการป้องกันการทุจริต (4) ตารางชั่วโมงการจัดการเรียนการสอน (รวม 45 ชั่วโมง) หัวข้อวิชา ชั่วโมง เนื้อหา กระบวนการ วิชาที่ 1 ปรับฐาน 9 1.1 ต้นเหตุของการเกิดทุจริต - บรรยาย ความคิดต้านทุจริต 1.2 การปลูกจิตสานึกให้มีส่วนร่วม - กรณีศึกษา ส่วนตนและส่วนรวม - ศึกษาดูงาน วิชาที่ 2 สร้างสังคมที่ 12 2.1 การขัดเกลาทางสังคม - บรรยาย ไม่ทนต่อการทุจริต 2.2 การมีส่วนร่วมของชุมชน - อภิปราย 2.3 ทักษะการปรับกระบวนการคิด - ภาคสนาม วิชาที่ 3 ยกระดับ 6 3.1 จริยธรรมนาพลเมืองในสังคม - บรรยาย ดัชนี สร้างพลเมืองดี 3.2 การยับยั้งและป้องกันการทุจริต - กรณีศึกษา ในสังคม 3.3 ข้อมูลข่าวสารด้านการป้องกันและ - ค้นคว้า ปราบปรามทุจริต วิชาที่ 4 ปราบทุจริต 18 การประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็น - โครงงาน ด้วยจิตพอเพียง เครื่องมือต้านทุจริต - 10 - (5) สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ จัดกิจกรรมด้วยสื่อการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุ จริต เช่น วีดิทัศน์ของสานักงาน ป.ป.ช. สถานการณ์ปัจจุบัน/ข่าวห้องสมุด ฟลิปชาร์ต PowerPoint ตามความเหมาะสม การจัดกิจกรรมแบบ Active Learning กรณีศึกษา มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (6) การวัดและประเมินผล (6.1) แบบสังเกตพฤติกรรม (6.2) การตอบคาถาม (6.3) ประเมินตามสภาพจริง (6.4) การให้คาปรึกษาเป็นระยะ (7) การทดลองใช้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ได้นาเนื้อหาหลักสูตรฯ บางส่วน ไปปรับประยุกต์ใช้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลั ยราชภัฏ เช่น มหาวิทยาลั ยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้นาเนื้อหา หลักสูตรฯ บางส่วนไปปรับใช้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาศึกษาทั่วไป (General Education) จานวน 1 หน่วยกิต 12 ชั่วโมง ------------------------------ - 11 - 3.3 หลักสูตรกลุ่มทหารและตารวจ (1) ชื่อหลักสูตร “หลักสูตรตามแนวทางรับราชการ กลุ่มทหารและตารวจ” (2) จุดมุ่งหมายของรายวิชา (2.1) เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อการ ทุจริตได้ (2.2) เพื่ อให้ สามารถวิ เคราะห์ แยกแยะ เกี่ ยวกั บการคิ ดแยกแยะระหว่ างผลประโยชน์ ส่ วนตนกั บ ผลประโยชน์ ส่ วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต พลเมืองกับความ รับผิดชอบต่อการทุจริตได้ (2.3) เพื่อให้สามารถประยุกต์เกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อการทุจริ ต เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน สังคมและประเทศชาติได้ (2.4) เพื่อสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อการทุจริตได้ (2.5) เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการป้องกันการทุจริต (3) คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความ ไม่ทนต่อการทุจริต จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต และพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อการทุจริต โดยใช้การจัด กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่หลากหลาย มุ่งเน้ นให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ทักษะ เจตคติ ด้านการป้องกันการทุจริต และ เสริมพลังคนรุ่นใหม่และนาไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน สังคมและประเทศชาติ (4) ตารางชั่วโมงการจัดการเรียนการสอน (รวม 12 ชั่วโมง) หัวข้อวิชา ชั่วโมง เนื้อหา กระบวนการ วิชาที่ 1 การคิด 3 1. ความหมาย ความสาคัญ การขัดกัน 1. ผู้บังคับบัญชาระดับสูง/บุคคล แยกแยะ ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับ ต้นแบบ ถ่ายทอดประสบการณ์ใน ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ส่วนรวม การทางาน ส่วนตนกับ 2. กฎ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ 2. ศึกษากรณีตัวอย่างเกี่ยวกับคดี ผลประโยชน์ คิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับ ทุจริตอันเนื่องมาจากการขัดกัน ส่วนรวม ผลประโยชน์ส่วนรวม ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับ ผลประโยชน์ส่วนรวม 3. การแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติและการ นาเสนอ - 12 - หัวข้อวิชา ชั่วโมง เนื้อหา กระบวนการ วิชาที่ 2 3 1. การประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ๑. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ จิตพอเพียง พอเพียงในการต่อต้านการทุจริต ๒. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติและนาเสนอ ต่อต้านการ 2. การสร้างพื้นฐานความคิดจากแนวคิดจิต ทุจริต พอเพียงต่อต้านการทุจริตและพัฒนา วัฒนธรรมการต่อต้านการทุจริตให้แก่ หน่วยงาน วิชาที่ 3 ความ 3 1. ความหมาย สาเหตุ รูปแบบและ ๑. การประเมินตนเอง ก่อนและ ละอายและ ผลกระทบของการทุจริตต่อการพัฒนาสังคม หลังการอบรม / เรียน ความไม่ทนต่อ และประเทศ ๒. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ การทุจริต 2. การวิเคราะห์ตนเองและการตระหนักถึง ๓. ศึกษากรณีตัวอย่าง/กรณีศึกษา ความละอายและไม่ทนต่อการทุจริต ผลที่เกิดจากการทุจริต 3. การส่งเสริม สนับสนุนให้ผอู้ ื่นเกิดความ ละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต วิชาที่ 4 3 1. ความหมาย ความสาคัญ ของพลเมืองกับ 1. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ พลเมืองกับ ความรับผิดชอบต่อการทุจริต และบทบาท 2. กิจกรรมสร้างความเป็นพลเมือง ความรับผิดชอบ หน้าที่ของความเป็นพลเมืองในการมีส่วน เพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อ ต่อสังคม ร่วมแก้ไขปัญหาการทุจริต การทุจริต 2. การมีส่วนร่วมและบูรณาการกับทุกภาค 3. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติและนาเสนอ ส่วนของพลเมืองในการต่อต้านการทุจริต ผลงาน 3. แนวคิดความรับผิดชอบต่อการทุจริตของ สังคมและประเทศ (5) ระยะเวลา - ทหาร (สาหรับหลักสูตรตามแนวทางรับราชการและหลักสูตรเพิ่มพูนความรู้) แบ่งหลักสูตรออกเป็น 3 ระยะ ระยะสั้นมีการฝึกอบรม ๒ - ๔ เดือน ให้มีการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า ๓ - ๔ ชั่วโมง ระยะกลางมีการฝึกอบรม ๔ - ๖ เดือน ให้มีการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า ๖ - ๘ ชั่วโมง ระยะยาวมีการฝึกอบรม ๖ - ๑๒ เดือน ให้มีการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า ๙ - ๑๒ ชั่วโมง สาหรับหลักสูตรที่มีระยะเวลาการอบรมน้อยกว่า ๒ เดือน ให้ใช้รูปแบบการบรรยายพิเศษ/หรือสื่อ ประกอบการเรียนรู้ในการเรียนการสอน - ตารวจ หลักสูตรการฝึกอบรมที่เลื่อนตาแหน่งสูงขึ้น ให้มีการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า ๓ ชั่วโมง หลักสูตรนักเรียนนายสิบตารวจ ให้มีการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า ๑๖ ชั่วโมง สาหรับหลักสูตรอื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมา ให้ใช้รูปแบบการบรรยายพิเศษ/หรือสื่อประกอบการเรียนรู้ ในการเรียนการสอน - 13 - (6) สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ จั ดกิจกรรมด้วยสื่ อการเรี ยนรู้ ที่เกี่ ยวกับการป้ องกั นและปราบปรามการทุ จริ ต ได้แก่ สื่ อสิ่ งพิมพ์ เช่ น โจทย์สัมมนา บ่งการ ฯลฯ สื่ออุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยีหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อบุคคล แหล่งเรียนรู้ (7) การวัดและประเมินผล (7.1) สังเกตพฤติกรรมในห้องเรียน (7.2) สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม (7.3) ประเมินผลจากการทดสอบ (7.4) ประเมินผลจากผลงานกลุ่ม (8) การทดลองใช้ สถาบั น วิ ช าการป้ อ งกั น ประเทศ ได้ จั ด อบรมการปฐมนิ เ ทศนายทหารชั้ น นายพลของกองทั พ ไทย ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 จ านวน 2 รุ่ น รวมจานวน 421 คน โดยได้เชิ ญนายอุ ทิศ บัว ศรี ผู้ ช่ว ย เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. (อนุกรรมการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้าน การป้องกันการทุจริต) ไปบรรยายในหัวข้อวิชา “การป้องกันการทุจริต” ซึ่งได้สอดแทรกเนื้อหาการบรรยายวิชาการ ขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม จานวนรุ่นละ 1.30 ชั่วโมง รุ่นที่ 1 วันที่ 16 พฤศจิกายน 2560 ณ หอประชุมพิบูลสงคราม วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ รุ่นที่ 2 วันที่ 18 ธันวาคม 2560 ณ หอประชุมพิบูลสงคราม วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ------------------------------ - 14 - 3.4 หลักสูตรวิทยากร ป.ป.ช. / บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ (1) ชื่อหลักสูตร “สร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต” (2) จุดมุ่งหมายของรายวิชา (2.1) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับ ผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต และการฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากร (2.2) เพื่อสร้างวิทยากรที่มีทักษะและสามารถขยายผลองค์ความรู้ไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ เพื่อมุ่งสร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต (3) คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความ ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ เจตคติ ด้านการป้องกันการทุจริต และเกิดทักษะการเป็นวิทยากร (4) ตารางชั่วโมงการจัดการเรียนการสอน (รวม 18 ชั่วโมง) หัวข้อวิชา ชั่วโมง เนื้อหา กระบวนการ วิชาที่ 1 การคิด 6 1. สาเหตุของการทุจริตฯ การบรรยาย แยกแยะ 2. ความหมาย รูปแบบ ของการขัดกันระหว่าง การคิดวิเคราะห์กรณีศึกษา ประโยชน์ส่วน ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม การทากิจกรรมกลุ่ม ตนและ 3. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขัดกันฯ การอภิปรายกลุ่ม ประโยชน์ 4. วิธีคิดแบบ Analog thinking (ฐาน 10) / ส่วนรวม Digital thinking (ฐาน 2) 5. บทบาทของรัฐ / เจ้าหน้าที่ของรัฐ 6. กรณีตัวอย่างการคิดแยกแยะระหว่าง ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม วิชาที่ 2 ความ 3 1. ความไม่ทนต่อการทุจริต การบรรยาย การคิดวิเคราะห์ ไม่ทนและความ - ความเป็นพลเมือง กรณีศึกษา อายต่อการ - แนวคิดเกี่ยวกับความไม่ทนต่อการทุจริต การทากิจกรรมกลุ่ม ทุจริต 2. ความอายต่อการทุจริต การอภิปรายกลุ่ม - แนวคิดเกี่ยวกับความอายต่อการทุจริต 3. ตัวอย่างความไม่ทนและความอายต่อการ ทุจริต การแสดงออกถึงการไม่ทนต่อการทุจริต 4. ลงโทษทางสังคม 5. ช่องทางและวิธีการร้องเรียนการทุจริต 6. มาตรการคุ้มครองช่วยเหลือพยานและการ กันบุคคลไว้เป็นพยานโดยไม่ดาเนินคดี - 15 - หัวข้อวิชา ชั่วโมง เนื้อหา กระบวนการ วิชาที่ 3 การ 3 1. ที่มา ความหมายของโมเดล STRONG : จิต การอภิปราย ประยุกต์หลัก พอเพียงต้านทุจริต การกรณีโครงการ STRONG ความพอเพียง 2. การนาโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้าน ด้วยโมเดล ทุจริต ไปประยุกต์ในบริบทต่างๆ STRONG : จิต พอเพียงต้าน ทุจริต วิชาที่ 4 การฝึก 6 การฝึกปฏิบัติถ่ายทอดความรู้ ตามที่กาหนดได้ - 3 ชั่วโมงแรก ปฏิบัติการเป็น อย่างถูกต้องและเหมาะสม ให้ผู้เข้าร่วมทุกคนแบ่งกลุ่มฝึก วิทยากร ปฏิบัติการเป็นวิทยากรโดยสุ่ม หัวข้อจาก 3 วิชา - ๓ ชั่วโมงหลัง วิทยากรให้ ข้อเสนอแนะ (5) ระยะเวลา 3 วัน 2 คืน (6) สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ จัดกิจกรรมด้วยสื่อการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ได้แก่ PowerPoint วิดีโอ ภาพยนตร์สั้น ใบงาน หรือสื่ออื่นๆ ที่เหมาะสม (7) การวัดและประเมินผล (7.1) การทดสอบความรู้ (60 คะแนน) (7.2) การประเมินฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากร (40 คะแนน) โดยผู้ผ่านการอบรมจะต้องได้คะแนนรวมจากค่าคะแนนจากแบบทดสอบความรู้และค่าคะแนนจากการ ประเมินฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากรรวมกันอย่างน้อยตั้งแต่ 60 คะแนนขึ้นไป (8) การทดลองใช้ (8.1) สานักงาน ป.ป.ช. ได้นาไปใช้ในโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยากร ป.ป.ช. แกนนา สร้างสังคมที่ ไม่ทนต่อการทุจริต ระหว่างวันที่ 25–27 ส.ค. 60 ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพมหานคร เพื่อสร้าง วิทยากรที่มีทักษะและสามารถขยายผลองค์ความรู้ในเรื่องการคิ ดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต แนวคิด STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต อย่างเป็นมาตรฐานและ แนวทางเดียวกันไปขยายสู่กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ เพื่อมุ่งสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นเจ้าหน้าที่ จากสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด 76 จังหวัดๆ ละ 1 คน เจ้าหน้าที่จากสานักงาน ป.ป.ช. ภาค 9 ภาคๆ ละ 1 คน และเจ้าหน้าที่จากสานักงาน ป.ป.ช. ส่วนกลาง 20 คน จานวน 105 คน โดยเจ้าหน้าที่ของสานักงาน ป.ป.ช. ที่ เข้ารับการอบรมจะได้นาเนื้อหาวิชาไปขยายผลในพื้นที่จังหวัด - 16 - (8.2) ส านั กงาน ป.ป.ช. ได้น าไปใช้ในโครงการปลู กฝั งวิธีคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่ ว นตัว และ ผลประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง ความอาย และไม่ทนต่อการทุจริต ประจาปี 2561 โดยเป็นการจัดอบรม ให้ ความรู้ในเรื่องการคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อ การ ทุจริต แนวคิด STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต และเป็นการผลิตวิทยากรตัวคูณในการปลูกฝังวิธีคิดแยกแยะ ผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง ความอาย และไม่ทนต่อการทุจริต ให้มีทักษะและสามารถ ขยายผลอย่างเป็นมาตรฐานและแนวทางเดียวกันไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่ นๆ เพื่อมุ่งสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต โดยมีกลุ่มเป้าหมายดังนี้ - กลุ่มข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ จานวน 2 รุ่น รวมจานวน 297 คน รุ่นที่ 1 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 - 14 ธันวาคม 2560 ณ ศูนย์ประชุม อิมแพ็คฟอรัม เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี รุ่นที่ 2 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 - 15 ธันวาคม 2560 ณ ศูนย์ประชุม อิมแพ็คฟอรัม เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี - กลุ่มอาจารย์และบุคลากรในระดับอุดมศึกษา จานวน 2 รุ่น รวมจานวน 143 คน รุ่นที่ 1 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 – 21 ธันวาคม 2560 ณ ศูนย์ประชุม อิมแพ็คฟอรัม เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี รุ่นที่ 2 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 21 - 22 ธันวาคม 2560 ณ ศูนย์ประชุม อิมแพ็คฟอรัม เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สานักงาน ป.ป.ช. ได้ดาเนินการจัดอบรมและผลิตวิทยากรตัวคูณ ในการปลูกฝังวิธีคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง ความอาย และไม่ทนต่อ การทุจริต ให้กับกลุ่มเป้าหมายครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในทุกภูมิภาค รวมจานวน ประมาณ 1,579 คน และสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้ นพื้นฐาน ได้ดาเนินการจัดอบรมและผลิตวิทยากร ตัวคูณในการปลูกฝังวิธีคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง ความอาย และไม่ทน ต่อการทุจริต ให้กบั ศึกษานิเทศก์ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 225 คน ------------------------------ - 17 - 3.5 หลักสูตรโค้ช (1) ชื่อหลักสูตร “โค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต” (2) จุดมุ่งหมายของรายวิชา (2.1) เพื่อสร้างโค้ชด้านการรู้คิดต้านทุจริต (2.2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้สอนเกี่ยวกับบทบาทในการเป็นโค้ชให้กับผู้เรียน โดยสามารถกระตุ้นการรู้ คิดอย่างต่อเนื่อง เพื่อดึงศักยภาพของผู้เรียน (2.3) เพื่อเพิ่มพูนทักษะของผู้สอนให้สามารถนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อในการเรียน การสอนได้อย่างเหมาะสม (2.4) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมหลักสูตรเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการต้านทุจริต (3) คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับ การสร้ างโค้ช ที่มีความสามารถและทักษะเพื่อเป็นแทนของสานักงาน ป.ป.ช. ในการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับการคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต และหลักการจิตพอเพียงต้านทุจริต ด้วยเทคนิคและวิธีการที่เหมาะสม จะช่วยให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนักรู้ และเห็นความสาคัญของปัญหาการทุจริต อันจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมและเกิดค่านิยมต้านทุจริต ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยเกิดความรู้ความเข้าใจ เจตคติ ด้านการป้องกันการ ทุจริต และเกิดทักษะการเป็นวิทยากร (4) ตารางชั่วโมงการจัดการเรียนการสอน (รวม 15 ชั่วโมง) หัวข้อวิชา ชั่วโมง เนื้อหา กระบวนการ วิชาที่ 1 3 1. ความเป็นมาของการโค้ชเพื่อการรู้คิด 1.การบรรยายให้ความรู้หลักสูตรโค้ชเพื่อ แนวคิด 2. ความหมายของการโค้ชเพื่อการรู้คิด การรู้คิดต้านทุจริต หลักการ 3. เป้าหมายของการโค้ชเพื่อการรู้คิด 2.การยกตัวอย่างและวิเคราะห์กรณีศึกษา โค้ชเพื่อ 4. หลักการโค้ชเพื่อการรู้คิด 3.การทากิจกรรมกลุ่ม การรู้คิด 5 ทักษะเสริมการโค้ชให้มีประสิทธิภาพ 4.การอภิปรายกลุ่ม ต้านทุจริต 5.การฝึกทดลองปฏิบัติการภาคสนาม วิชาที่ 2 3 1. กลไกของการโค้ช 1.การบรรยายให้ความรู้หลักสูตรโค้ชเพื่อ กลไกและ 2. กระบวนการโค้ช การรู้คิดต้านทุจริต กระบวน 3. หลักการพัฒนาโค้ชและผู้เรียนอย่าง 2.การยกตัวอย่างและวิเคราะห์กรณีศึกษา การโค้ช ยั่งยืน 3.การทากิจกรรมกลุ่ม 4.การอภิปรายกลุ่ม 5.การฝึกทดลองปฏิบัติการภาคสนาม วิชาที่ 3 3 1. เรียนรู้ผู้เรียนด้วยจริต 6 วิชาที่ 3 เรียนรู้ผู้เรียน เรียนรู้ 2. เรียนรู้ผู้เรียนตาม Generation ผู้เรียน หัวข้อวิชา... - 18 - หัวข้อวิชา ชั่วโมง เนื้อหา กระบวนการ วิชาที่ 4 3 1. การสื่อสารเชิงบวก วิชาที่ 4 เทคนิคสาคัญในการโค้ช เทคนิค 2. คาถามที่ทรงพลัง สาคัญใน 3. การสะท้อนคิด การโค้ช 4. การเรียนรู้ยุคใหม่ด้วยการนา นวัตกรรมมาใช้ในการโค้ช 5. การถอดบทเรียน วิชาที่ 5 3 1. การประเมินเพื่อการเรียนรู้ วิชาที่ 5 การประเมินผลการเรียนรู้ที่เสริม การ 2. การประเมินขณะเรียนรู้ พลังต้านทุจริต ประเมิน 3. การประเมินผลการเรียนรู้ ผลการ เรียนรู้ที่ เสริมพลัง ต้านทุจริต (5) ระยะเวลา 3 วัน 2 คืน (6) สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ เอกสารประกอบการบรรยาย สื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิและปราชญ์ชาวบานผู้นา ชุมชน ชุดฝึกทักษะการเรียนรู บทเรียนสาเร็จ รูปแบบสื่อผสม เกมส์ การ์ตูน นิทาน ฯลฯ (7) การวัดและประเมินผล (7.1) ร้อยละผลการทดสอบและวัดประเมินผลก่อนและหลังการเรียนรู้ก่อนและหลังบทเรียน (Per & Post Test) (7.2) ร้อยละของจานวนชั่วโมงที่เข้ารับการอบรม (7.3) การผ่านการฝึกทดลองปฏิบัติการภาคสนาม (8) การทดลองใช้ (8.1) ส านั ก งาน ป.ป.ช. โดยส านั ก ป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต ภาคประชาสั ง คมและการพั ฒ นาเครื อ ข่ า ย ได้นาไปใช้ในโครงการ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ระหว่างวันที่ 13-15 พ.ย. 60 ณ โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพมหานคร โดยเป็นการอบรมให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่ของสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด 27 จังหวัด ที่ต้องดาเนินโครงการ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ซึ่งจะต้องจัดตั้งชมรม STRONG ขึ้นมา และคัดเลือก สมาชิกชมรมเพื่อเป็นตัวแทนของสานักงาน ป.ป.ช. ในการจัดทากิจกรรมป้องกันการทุจริตและขยายผลภายใน จังหวัด ผู้เข้าร่วมจานวน 72 คน (8.2) สานักงาน ป.ป.ช. … - 19 - (8.2) สานักงาน ป.ป.ช. ได้นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทาธรรมนูญชมรมจิต พอเพียงต้านทุจริต แผนงานระยะยาว และแผนประจาปี ภายใต้โครงการ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ระหว่าง วันที่ 14 - 17 มกราคม 2561 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ผลักดันการป้องกันการทุจริตเชิงรุกด้วยการสร้างเสริมให้บุคคลและชุมชนมีจิตพอเพียงต้านทุจริตด้วยกรอบแนวคิด STRONG จนสามารถพัฒนาเป็นวัฒนธรรมต้านทุจริต เพื่อปลูกฝัง STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริตแก่ประชาชน ในระดับจังหวัด ปรับฐานคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม สร้างจิตสานึกความอายใน การกระทาการทุจริ ต และไม่ทนต่อการทุจ ริตแก่ประชาชนในระดับจังหวัด เพื่อป้องกันการทุจริตเชิงรุ กผ่ าน กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และยกระดับการรับรู้การทุจริตของชุมชน สังคม และประเทศชาติผ่าน กระบวนการมีส่ ว นร่ ว มของประชาชน โดยกิจกรรมดังกล่ าวนี้มีกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้ น 314 คน ประกอบด้ว ย เจ้าหน้าที่ของสานักงาน ป.ป.ช. ประจาภาค 9 ภาค เจ้าหน้าที่ของสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด 27 จังหวัด ที่ต้องดาเนินโครงการ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต และโค้ช STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต จาก 27 จังหว?