คู่มือเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้นโท มัธยมศึกษา PDF

Document Details

Uploaded by Deleted User

โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย

2561

คณาจารย์โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย

Tags

ธรรมศึกษา เตรียมสอบ มัธยมศึกษา เรียงความ

Summary

คู่มือเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา ปี 2561 ครอบคลุมเทคนิคการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม และสรุปย่อเนื้อหาและตัวอย่างข้อสอบ.

Full Transcript

คู่มือเตรียมสอบ ธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา ตรงตามหลักสูตรแม่กองธรรมสนามหลวง ปี ๒๕๖๑ รวมสรุปย่อเนื้อหาที่ใช้ในการเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา ภายในเล่ม มีเนื้อหาประกอบด้วย เทคนิคการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธ...

คู่มือเตรียมสอบ ธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา ตรงตามหลักสูตรแม่กองธรรมสนามหลวง ปี ๒๕๖๑ รวมสรุปย่อเนื้อหาที่ใช้ในการเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา ภายในเล่ม มีเนื้อหาประกอบด้วย เทคนิคการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม สรุปย่อเนื้อหาและตัวอย่างข้อสอบที่ใช้สอบในปัจจุบันครบทุกวิชา เหมาะอย่างยิ่งสำหรับนักเรียนใช้ทบทวนเนื้อหา และเตรียมความพร้อมก่อนสอบ ช่วยเพิ่มความมั่นใจในการสอบมากยิง่ ขึ้น คณาจารย์โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม วัดพระธรรมกาย ข คู่มือเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา พิมพ์ครั้งแรก : ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒ จำนวน : ๒,๐๐๐ เล่ม จัดพิมพ์โดย : คณาจารย์โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ๒๓/๒ หมู่ ๗ ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ๑๒๑๒๐ http://www.pariyat.com, E-mail : [email protected] สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทั้งปวง หนังสือเล่มนี้ได้รับการสนับสนุนการจัดพิมพ์และเผยแพร่เป็นธรรมทาน โดย มูลนิธิธรรมกาย สำหรับสำนักศาสนศึกษา สถานศึกษา ที่มีความประสงค์จะนำไปใช้ประกอบการเรียนการสอน ธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา กรุณาติดต่อ โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี โทร. ๐-๒๘๓๑-๑๐๐๐ ค คำนำ คู่มือเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้น โท ระดับมัธยมศึกษา จัดพิมพ์ ขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้มีคู่มือเตรียมสอบ ที่สามารถอ่านได้ทั้งสรุปย่อเนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบ ตรงตามหลักสูตรแม่กองธรรมสนามหลวง ปี ๒๕๖๑ ภายในเล่มมีเนื้อหาประกอบด้วย เทคนิคการเขียนเรียงความแก้ก ระทู้ ธรรม สรุปย่อเนื้อหาและตัวอย่างข้อสอบที่ใช้สอบในปัจจุบันครบทุกวิชา เหมาะอย่างยิ่งสำหรับนักเรียนใช้ทบทวนเนื้อหาและเตรียมความพร้อม ก่อนสอบ คณะผู้จัดทำหวังว่า นักเรียนธรรมศึกษาจะได้รับประโยชน์จาก การศึกษาหนังสือเล่มนี้ โดยเฉพาะวิธีการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมที่ ง่ายต่อการจดจำ และสรุปย่อเนื้อหาแต่ละวิชาที่จะช่วยเสริมความเข้าใจ และจดจำแนวทางการออกข้อสอบได้ง่าย ใช้ทบทวนเนื้อหาก่อนเข้าสอบ ธรรมสนามหลวง เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการทำข้อสอบได้มากยิ่งขึ้น สามารถสอบผ่านธรรมศึกษาชั้นโทได้อย่างภาคภูมิใจ ท้ายที่สุดนี้ ขอขอบคุณผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้คำแนะนำ พร้อมทั้งความช่วยเหลือสนับสนุนใน การจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้จนสำเร็จเรียบร้อยด้วยดีทุกประการ ขอน้อม อุทิศบุญกุศลทั้งหลายอันจะเกิดขึ้น แด่มหาปูชนียาจารย์ มารดาบิดา คุณครูอุปัชฌาย์อาจารย์และผู้มีพระคุณทุกท่าน ขอขอบคุณและอนุโมทนาบุญ คณาจารย์โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ง สารบัญ หน้า บทที่ ๑ การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท ๑ ระดับมัธยม ๑.๑ วิธีอ่านภาษาบาลี ๒ ๑.๒ หลักเกณฑ์การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ๓ ๑.๓ โครงสร้างการเขียนกระทู้ธรรม ๔ ๑.๔ ขอบข่ายหัวข้อกระทู้ธรรม ๕ ๑.๕ กระทู้ยอดนิยม ๘ ๑.๖ ตัวอย่างการเขียนอธิบายหัวข้อกระทู้ธรรม ๙ บทที่ ๒ สรุปย่อเนื้อหา-แนวข้อสอบธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยม ๑๓ ๒.๑ แนวข้อสอบธรรมศึกษาชั้นโท วิชาธรรมวิภาค ๑๔ ๒.๒ แนวข้อสอบธรรมศึกษาชั้นโท วิชาอนุพุทธประวัติ ๒๓ ๒.๓ แนวข้อสอบธรรมศึกษาชั้นโท วิชาศาสนพิธี ๒๘ ๒.๔ แนวข้อสอบธรรมศึกษาชั้นโท วิชาอุโบสถศีล ๓๒ บรรณานุกรม ๓๙ บทที่ ๑ การเขียนเรียงความ แก้กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยม ๒ ๑.๑ วิธีอ่านภาษาบาลี ๑) พยัญชนะที่มีสระกำกับอยู่ ให้อ่านออกเสียงตามสระนั้นๆ เช่น ปุริมานิ อ่านว่า ปุ-ริ-มา-นิ ตีณิ อ่านว่า ตี-ณิ ๒) พยัญชนะที่ไม่มีสระใดๆ กำกับอยู่เลย ให้อ่านออกเสียงสระ อะ ทุกแห่ง เช่น นววิธํ อ่านว่า นะ-วะ-วิ-ธัง ปน อ่านว่า ปะ-นะ ๓) พยัญชนะที่มี พินทุ ( ฺ ) อยู่ข้างล่าง แสดงว่าพยัญชนะตัวนั้นเป็นตัวสะกด ให้อ่านออกเสียงรวมกับสระของพยัญชนะ ที่อยู่ข้างหน้า เช่น ภิกฺขู (ภิ+ก=ภิก) อ่านว่า ภิก-ขู โหนฺติ (โห+น=โหน) อ่านว่า โหน-ติ ถ้าพยัญชนะที่อยู่ข้างหน้าไม่มีสระใดๆ กำกับอยู่เลย พินทุ ( ฺ ) นั้นจะเท่ากับไม้หันอากาศ เช่น ตตฺถ (ตะ+ต=ตัต) อ่านว่า ตัต-ถะ อฏฺฐ (อะ+ฏ=อัฏ) อ่านว่า อัฏ-ฐะ ๔) พยัญชนะที่มี นิคหิต ( ํ ) อยู่ข้างบนและมีสระกำกับอยู่ด้วย ให้อ่านออกเสียงมี ง เป็นตัวสะกด เช่น กึ (กิ+ง=กิง) อ่านว่า กิง กาตุํ (ตุ+ง=ตุง) อ่านว่า กา-ตุง ถ้าพยัญชนะที่มี นิคหิต ( ํ ) อยู่ข้างบน แต่ไม่มีสระใดๆ กำกับอยู่เลย นิคหิต ( ํ ) นั้นจะเท่ากับ อัง เช่น วตฺตํ (ตะ+ง=ตัง) อ่านว่า วัต-ตัง อยํ (ยะ+ง=ยัง) อ่านว่า อะ-ยัง ๕) พยัญชนะตัวหน้าที่มี พินทุ ( ฺ ) อยู่ข้างล่าง ให้อ่านออกเสียงสระ อะ กึ่งเสียง เช่น เทฺว อ่านว่า ท๎-เว พฺยตฺตํ อ่านว่า พ๎-ยัต-ตัง ๖) ถ้ามี ร อยู่หลังพยัญชนะที่มี พินทุ ( ฺ ) อยู่ข้างล่าง ให้อ่านออกเสียงควบกล้ำกัน เช่น ตตฺร อ่านว่า ตัต-ตระ พฺรหฺมจริยา อ่านว่า พรัม-มะ-จะ-ริ-ยา ๗) ส ที่มี พินทุ ( ฺ ) อยู่ข้างล่าง ให้อ่านออกเสียงเป็นตัวสะกดของพยัญชนะที่อยู่ข้างหน้า และออกเสียง ส นั้นอีกกึ่งเสียง เช่น อิมสฺมึ อ่านว่า อิ-มัส-ส๎-หมิง ตสฺมา อ่านว่า ตัส-ส๎-หมา ๓ ๘) คำที่ลงท้ายด้วย ตฺวา ตฺวาน ให้อ่านออกเสียง ต เป็นตัวสะกดของพยัญชนะที่อยู่ข้างหน้า และออกเสียง ต นั้น อีกกึ่งเสียง เช่น กตฺวา อ่านว่า กัต-ต๎-วา คเหตฺวา อ่านว่า คะ-เหต-ต๎-วา ๙) ฑ ให้อ่านออกเสียงเป็นตัว ด ทั้งหมด เช่น ปิณฺฑปาตํ อ่านว่า ปิณ-ดะ-ปา-ตัง ปิณฺฑาย อ่านว่า ปิณ-ดา-ยะ ๑๐) ห ที่มีสระ อี อยู่ด้วย ให้อ่านออกเสียงเป็น ฮี เช่น ตุณฺหี อ่านว่า ตุณ-ณ๎-ฮี อจฺฉาเทหีติ อ่านว่า อัจ-ฉา-เท-ฮี-ติ ๑.๒ หลักเกณฑ์การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ๑) กระทู้ตั้ง คือ ธรรมภาษิตที่เป็นปัญหาที่ยกขึ้นมาก่อนสำหรับให้แต่งแก้ เช่น ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนัน้ ผู้ทํากรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทํากรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว ๒) คำนำ คือ คำขึ้นต้นหรือคำชี้แจงก่อนจะแต่งต่อไป กล่าวคือ เมื่อยกคาถาบทตั้งไว้แล้วเวลาจะแต่งต้อง ขึ้นอารัมภบทก่อนว่า บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้อ งต้น เพื่อ เป็นแนวทางแห่งการ ประพฤติปฏิบัติของสาธุชนผู้ใคร่ในธรรมสืบไป ๓) เนื้อเรื่องของกระทู้ตั้ง ต้องมีเนื้อหาสาระสำคัญ ลำดับเนื้อหาสาระให้ต่อเนื่องกันเป็นเหตุเป็นผล โดย ขึ้นต้นด้วยคำว่า “อธิบายความว่า” ก่อนจบการอธิบายจะลงท้ายด้วยคำว่า “นี้สมด้วยธรรมภาษิต ที่มาใน (ใส่ที่มาของ ธรรมภาษิตที่นำมารับ) ว่า” เพื่อรับรองไว้เป็นหลักฐาน เช่น นี้สมด้วยธรรมภาษิต ที่มาใน ขุททกนิกาย ธรรมบท ว่า ๔) กระทู้รับ คือ ธรรมภาษิตที่ยกขึ้นมารับรองให้สมเหตุสมผลกับกระทู้ตั้ง เพราะการแต่งเรียงความนั้น ต้องมีกระทู้รับอ้างให้สมจริงกับเนื้อความที่ได้แต่งไป มิใช่เขียนไปแบบลอย ๆ เช่น อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ. ตนแล เป็นทีพ่ ึ่งของตน คนอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่หาได้โดยยาก. ๔ ๕) เนื้อเรื่องของกระทู้รับ คือ อธิบายเนื้อหาสาระสำคัญของธรรมภาษิตที่ยกมารับ โดยขึ้นต้นด้วยคำว่า “อธิบายความว่า” ๖) บทสรุป คือ การรวบรวมใจความสำคัญของเรื่องที่ได้อธิบายมาแต่ต้น โดยกล่าวสรุปลงสั้นๆ หรือย่อ ๆ ให้ได้ความหมายที่ครอบคลุมถึงเนื้อหาที่กล่าวมาทั้งกระทู้ตั้งและกระทู้รับ โดยขึ้นต้นด้วยคำว่า “สรุปความว่า” ก่อนจบ การสรุปจะลงท้ายด้วยคำว่า “สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า” แล้วจึงเขียนกระทู้ตั้ง พร้อมคำแปลอีก ครั้งหนึ่ง เช่น สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนัน้ ผู้ทํากรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทํากรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว ๗) คำลงท้าย คือ ประโยคที่เป็นการจบการเขียนเรียงความ จะใช้คำว่า “มีนัยดังได้พรรณนามาด้วย ประการฉะนี้ ฯ” โดยให้เขียนขึ้นบรรทัดใหม่ชิดเส้นกั้นหน้า ๘) จำนวนกระทู้รับ คือ จำนวนธรรมภาษิตที่จะต้องหามาเชื่อมกับกระทู้ตั้ง สำหรับระดับธรรมศึกษาชั้นโท ให้ใช้ ๒ ธรรมภาษิต ๙) จำนวนหน้าที่ต้องเขียน คือ การเขียนเรียงความในกระดาษตอบสนามหลวง ขนาด F14 เว้นบรรทัด สำหรับระดับธรรมศึกษาชั้นโท ต้องเขียนอย่างน้อย ๓ หน้ากระดาษขึ้นไป และห้ามใช้ดินสอหรือปากกาน้ำหมึกสีแดง เขียนหรือขีดเส้นโดยเด็ดขาด ให้ใช้ปากกาน้ำหมึกสีน้ำเงินหรือสีดำเท่านั้น หากเขียนผิดเล็กน้อย สามารถใช้น้ำยาหรือ เทปลบคำผิดได้ ๑๐) การเขียนตัวเลขบอกจำนวน หากต้องเขียนตัวเลขบอกจำนวนข้อ เช่น ๑)........ ๒)........ ๓)........ ให้ ใช้ตัวเลขไทย ห้ามเขียนตัวเลขอารบิค และไม่ต้องขึ้นย่อหน้าใหม่ ให้เขียนเรียงต่อกันอยู่ในย่อหน้าของการอธิบายความ ๑.๓ โครงสร้างการเขียนกระทู้ธรรม (กระทู้ตั้ง)------------------. (คำแปลกระทู้ตั้ง)----------------. (ไม่ต้องเขียนที่มาของกระทู้ตั้ง) บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้อ งต้น เพื่อ เป็นแนวทางแห่งการ ประพฤติปฏิบัติของสาธุชนผู้ใคร่ในธรรมสืบไป อธิบายความว่า --------------------------------------------------------------------------------------------------------- -----------------------------------------------(เขียนอธิบายประมาณ ๑๐ บรรทัด)------------------------------------------------------ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- นี้สมด้วยธรรมภาษิต ที่มาใน -----(ที่มาของกระทู้รับ)-----ว่า ๕ (กระทู้รับที่ ๑)------------------. (คำแปลกระทู้รับที่ ๑)----------------. อธิบายความว่า --------------------------------------------------------------------------------------------------------- -----------------------------------------------(เขียนอธิบายประมาณ ๑๐ บรรทัด)------------------------------------------------------ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- นี้สมด้วยธรรมภาษิต ที่มาใน -----(ที่มาของกระทู้รับ)-----ว่า (กระทู้รับที่ ๒)------------------. (คำแปลกระทู้รับที่ ๒)----------------. อธิบายความว่า --------------------------------------------------------------------------------------------------------- -----------------------------------------------(เขียนอธิบายประมาณ ๑๐ บรรทัด)------------------------------------------------------ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สรุปความว่า -------------------(เขียนอธิบายประมาณ ๕-๘ บรรทัด)---------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------- สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น ว่า (กระทู้ตั้ง)------------------. (คำแปลกระทู้ตั้ง)----------------. (ไม่ต้องเขียนที่มาของกระทู้ตั้ง) มีนัยดังได้พรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ ____________ ๑.๔ ขอบข่ายหัวข้อกระทู้ธรรม สำหรับการเรียนการสอนธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา มีขอบข่ายพุทธศาสนสุภาษิตที่จะใช้เป็นหัวข้อ กระทู้ตั้ง มี ๓ หมวดธรรม ได้แก่ ๑) หมวดตน ๒) หมวดกรรม ๓) หมวดปัญญา มีรายละเอียด ดังนี้ ขอบข่ายธรรมภาษิตที่เป็นกระทู้ตั้ง มี ๓ หมวด อัตตวรรค คือ หมวดตน กัมมวรรค คือ หมวดกรรม ๑. อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ นหาปเย ๑. อติสีตํ อติอุณฺหํ อติสายมิทํ อหุ อตฺตทตฺถมภิญฺญาย สทตฺถปสุโตสิยา. อิติ วิสฺสฏฺฐกมฺมนฺเต อตฺถาอจฺเจนฺติ มาณเว. บุคคลไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน ประโยชน์ทั้งหลายย่อมล่วงเลยคนผู้ทอดทิ้ง ๖ เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก การงาน ด้วยอ้างว่าหนาวนัก ร้อนนัก รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายใน เย็นเสียแล้ว ประโยชน์ของตน. (พุทฺธ) ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๙. (พุทฺธ) ขุ. ธ.๒๕/๓๗. ๒. อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ ๒. ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม. กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทําตนฉันนั้น บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่าตนแล ผู้ทํากรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทํากรรมชั่ว ฝึกยาก. ย่อมได้ผลชั่ว (พุทฺธ) ขุ. ธ.๒๕/๓๖. (พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๓๓๓. ๓. อตฺตานเมว ปฐมํ ปฏิรูเป นิเวสเย ๓. โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ อถญฺญมนุสาเสยฺยน กิลิสฺเสยฺยปณฺฑิโต. อตฺถา ตสฺส ปลุชฺชนฺติ เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา. บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณอันสมควรก่อน ผู้ใด อันผู้อื่นทําความดี ทําประโยชน์ให้ในกาลก่อน สอนผู้อื่นภายหลังจึงไม่มัวหมอง. แต่ไม่รู้สึก(คุณของเขา) ประโยชน์ที่ผู้น้นั (พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๖. ปรารถนาย่อมฉิบหาย. (ทฬฺหธมฺมโพธิสตฺต) ขุ. ชา. สตฺตก. ๔. สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน วิหึสติ อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส น ลภเต สุขํ. สัตว์ทั้งหลายย่อมต้องการความสุข ผู้ใดแสวงหาสุขเพื่อตน เบียดเบียนเขา ด้วยอาชญา ผู้นั้นละไปแล้ว ย่อมไม่ได้สุข (พุทฺธ) ขุ. ธ.๒๕/๓๒. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา กระทู้รับ (แนะนำ ๒ กระทู้) ๑. ชีวเตวาปิ สปฺปญฺโญ อปิ วิตฺตปริกฺขยา กระทู้รับที่นิยม ๑ ปญฺญาย จ อลาเภน วิตฺตวาปิ น ชีวติ. ๑. อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ถึงสิ้นทรัพย์ ผู้มีปัญญาก็เป็นอยู่ได้ อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ. แต่อับปัญญาแม้มีทรัพย์ก็เป็นอยู่ไม่ได้ ตนแล เป็นที่พึ่งของตน คนอื่นใครเล่า (มหากปฺปินเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๐. จะเป็นที่พึ่งได้ ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่หาได้โดยยาก. (ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท) ๗ ๒. ยสํ ลทฺธาน ทุมฺเมโธ อนตฺถํ จรติ อตฺตโน กระทู้รับที่นิยม ๒ อตฺตโน จ ปเรสญฺจ หึสาย ปฏิปชฺชติ. ๒. ปุญฺ ญฺเจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ คนมีปัญญาทราม ได้ยศแล้ว ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺ สฺส อุจฺจโย. ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน ถ้าบุคคลจะกระทำบุญ ควรทำบุญนั้นบ่อย ๆ ย่อมปฏิบัติเพื่อเบียดเบียนทั้งตนและผู้อื่น ควรทำความพอใจในบุญนั้น (หตฺถาจริย) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๔๐. การสั่งสมบุญนำความสุขมาให้. ๓. โย จ วสฺสสตํ ชีเว ทุปฺปญฺโญ อสมาหิโต (ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท) เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปญฺญวนฺตสฺส ฌายิโน. ผู้ใดมีปัญญาทราม มีใจไม่มั่นคง พึงเป็นอยู่ ตั้งร้อยปี ส่วนผู้มีปัญญาเพ่งพินิจ มีชีวิตอยู่เพียง วันเดียวดีกว่า (พุทฺธ) ขุ. ธ.๒๕/๒๙. มีตัวอย่างแนวทางการอธิบาย ดังนี้ กระทู้ตั้งที่เป็นข้อสอบ (เลือกจาก ๓ หมวดตน, หมวดกรรม, หมวดปัญญา) (กระทู้ตั้ง). (คำแปลกระทู้ตั้ง). (ไม่ต้องเขียนที่มาของกระทู้ตั้ง) บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้อ งต้น เพื่อ เป็นแนวทางแห่งการ ประพฤติปฏิบัติของสาธุชนผู้ใคร่ในธรรมสืบไป อธิบายความว่า----------------------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------- นี้สมด้วยธรรมภาษิต ที่มาในขุททกนิกาย ธรรมบท ว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ. ตนแล เป็นทีพ่ ึ่งของตน คนอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่หาได้โดยยาก. อธิบายความว่า คำว่า ตน หมายถึง ร่างกายและจิตใจที่เรียกว่าอัตภาพ หรือตัวตนของเรา ในคำว่า ตนแล เป็นที่พึ่งของตน หมายถึง ให้พึ่งตัวเองให้มาก ในขณะที่ร่างกายแข็ง แรง เพราะคนอื่นที่เรายึดเป็นที่พึ่งไปตลอดชีวิ ต ๘ ย่อมจะทำได้โดยยาก การพึ่งตนเองทำได้ ๒ อย่าง คือ ๑) ทางร่างกาย อาศัยแรงกายทำงานประกอบสัมมาอาชีพดำรงชีวิต ๒) ทางจิตใจอาศัยร่างกายนี้เป็นส่วนหนึ่งที่จะตอบสนองให้ทำสิ่งต่างๆ เช่น การให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา บุคคลที่ ทำบุญไว้มาก ผลบุญนั้นย่อมทำให้ได้รับความสุขทั้งในภพชาตินี้และในภพชาติเบื้องหน้า นี้สมด้วยธรรมภาษิตที่มาใน ขุททกนิกาย ธรรมบท ว่า ปุญฺ ญฺเจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺ สฺส อุจฺจโย. ถ้าบุคคลจะกระทำบุญ ควรทำบุญนั้นบ่อย ๆ ควรทำความพอใจในบุญนั้น การสั่งสมบุญนำความสุขมาให้. อธิบายความว่า บุญ หมายถึง สิ่งเกิดขึ้นในจิตใจ แล้วทำให้จิตใจใสสะอาดบริสุทธิ์ ปราศจากความเศร้า หมองขุ่นมัว บุญเป็นชื่อของความสุขและความสำเร็จ เป็นผลจากการประกอบกรรมดี เกิดขึ้นได้ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ ๑) ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ทาน ๒) ศีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล ๓) ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญ สมาธิการทำบุญจึงควรทำความพึงพอใจ ควรมีอุตสาหะขวนขวายใน อย่าเกียจคร้านในการทำบุญ จะได้รับผลแห่งบุญคือ ความสุขในชีวิตทั้งในปัจจุบันและไปสู่สุคติสวรรค์ สรุปความว่า ------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น ว่า กระทู้ตั้งที่เป็นข้อสอบ (เลือกจาก ๓ หมวดตน, หมวดกรรม, หมวดปัญญา) (กระทู้ตั้ง)------------------. (คำแปลกระทู้ตั้ง)----------------. (ไม่ต้องเขียนที่มาของกระทู้ตั้ง) มีนัยดังได้พรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ ๑.๕ กระทู้ยอดนิยม ธรรมศึกษาชั้นโท ที่แนะนำให้นำมาใช้เป็นกระทู้รับ ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้ทำกรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทำกรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว. ที่มา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค. ๙ อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ. ตนแล เป็นที่พึ่งของตน คนอื่นใครเล่า จะเป็นที่พึ่งได้ ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่หาได้โดยยาก. ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท. โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ. ผู้เกียจคร้าน มีความเพียรเลว พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี ส่วนผู้ปรารภความเพียรมั่นคง มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวประเสริฐกว่า. ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท. ปุญฺญญฺเจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย. ถ้าบุคคลจะกระทำบุญ ควรทำบุญนั้นบ่อย ๆ ควรทำความพอใจในบุญนั้น การสั่งสมบุญนำความสุขมาให้. ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท. สพฺพปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสู ปสมฺปทา สจิตฺต ปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาสนํ. การไม่ทำบาปทั้งปวง ๑ การยังกุศลให้ถึงพร้อม ๑ การทำจิตของตนให้ผ่องแผ้ว ๑ นี้ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย. ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท. ๑.๖ ตัวอย่างการเขียนอธิบายหัวข้อกระทู้ธรรม โจทย์ตัวอย่างกระทู้ตั้ง คือ ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้ทำกรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทำกรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว. ที่มา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค. ๑๐ เลขที.่........... ประโยคธรรมศึกษาชัน้ โท วิชา เรียงความแก้กระทูธ้ รรม วันที่ ___ เดือน __________ พ.ศ.____ ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนัน้ ผูท้ าํ กรรมดี ย่อมได้ผลดี ผูท้ าํ กรรมชัว่ ย่อมได้ผลชัว่. บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตทีไ่ ด้ลขิ ติ ไว้ ณ เบื้องต้น เพื่อเป็นแนวทางแห่งการประพฤติปฏิบัติของสาธุชนผู้ใคร่ในธรรมสืบไป อธิบายความว่า กรรม หมายถึง การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนาที่ แสดงออกมาจากตัวเรา มี ๓ ทาง ได้แก่ การแสดงออกทางกาย (กายกรรม) ทางวาจา (วจีกรรม) และทางใจ (มโนกรรม) ผู้ที่ทำกรรมชั่ว เช่น ฆ่าสัตว์ ลัก ขโมย เจ้าชู้ โกหกหลอกลวง เสพยาเสพติด เป็นต้น ย่อมได้รับผลแห่งการ กระทำคือความทุกข์ใจ ไม่มีใครไว้ใจ และต้องถูกกฎหมายลงโทษ เมื่อตาย ไปต้องตกนรกชดใช้กรรมที่ตนทำไว้ ส่วนผู้ทที่ ำกรรมดี คือ คิด พูด ทำแต่ใน สิ่งที่ไม่ทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน ย่อมได้รับผลดี มีคนยกย่องนับถือ เมื่อเกิดในภพชาติเบื้องหน้า ย่อมมีอายุยืน ไม่มีโรคภัยเบียดเบียน เป็นต้น ซึ่ง การทำความดี ละเว้นความชั่วนั้นต้องทำด้วยตนเอง ไม่สามารถพึ่งผู้อื่นให้ทำ แทนได้ นี้สมด้วยธรรมภาษิตที่มาใน ขุททกนิกาย ธรรมบท ว่า ๑๑ อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลลฺ ภํ. ตนแล เป็นทีพ่ งึ่ ของตน คนอืน่ ใครเล่าจะเป็นทีพ่ งึ่ ได้ ก็บคุ คลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ทพี่ ึ่งทีห่ าได้โดยยาก. อธิบายความว่า ตน หมายถึง ร่างกายและจิตใจที่เรียกว่าอัตภาพหรือ ตัวตนของเรา คำว่า ที่พึ่งของตน หมายถึง ให้พึ่งตัวเองให้มาก ในขณะที่ ร่างกายแข็งแรง เพราะการอาศัยพึ่งพาผู้อื่น ย่อมไม่สามารถยึดถือเป็นที่พึ่ง ได้ตลอดชีวิต การพึ่งตนเองทำได้ ๒ อย่าง คือ ๑) ทางร่างกาย อาศัย แรงกายทำงานประกอบสัมมาอาชีวะ ดำรงชีวิตในทางสุจริต ๒) ทางจิตใจ ด้วยการหมั่นทำแต่ความดี ประพฤติปฎิบัติตนตามคำสอนของพระสัมมาสัม พุทธเจ้า มีจิตสาธารณะช่วยเหลือสังคม หมั่นสั่งสมบุญ เพื่อชำระใจให้ใส สะอาด หมดจดจากกิเลส บุคคลที่สั่งสมบุญไว้มาก ผลบุญนั้นย่อมทำให้ ได้รับความสุขทั้งในภพชาตินี้และในภพชาติเบื้องหน้า นี้สมด้วยธรรมภาษิต ที่มาใน ขุททกนิกาย ธรรมบท ว่า ปุญฺ ญฺเจ ปุรโิ ส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปนุ ํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺ สฺส อุจจฺ โย. ถ้าบุคคลจะกระทำบุญ ควรทำบุญนัน้ บ่อย ๆ ควรทำความพอใจในบุญนัน้ การสัง่ สมบุญนำความสุขมาให้. ๑๒ อธิบายความว่า บุญ หมายถึง สิ่งเกิดขึ้นในจิตใจ แล้วทำให้จิตใจใส สะอาดบริสุทธิ์ ปราศจากความเศร้าหมองขุ่นมัว บุญเป็นชื่อของความสุขและ ความสำเร็จ เป็นผลจากการประกอบกรรมดี เกิดขึ้นได้ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ ๑) ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ทาน ๒) ศีลมัย บุญสำเร็จด้วยการ รักษาศีล ๓) ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญสมาธิ การทำบุญจึงควรทำ ความพึงพอใจในบุญ ควรมีอุตสาหะขวนขวาย ไม่เกียจคร้านในการทำบุญ ย่อมจะได้รับผลแห่งบุญคือความสุขในชีวิตทั้งในปัจจุบันและไปสู่สุคติสวรรค์ สรุปความว่า กรรมที่บุคคลกระทำ ทั้งทางกาย วาจา และใจ ตนเอง ย่อมได้รับผลของการกระทำนั้น ไม่สามารถให้ผู้อื่นมารับผลแทนได้ จึงควร เลือกทำแต่กรรมดี ละเว้นกรรมชั่ว ควรทำที่พึ่งให้ตนเองไว้ด้วยการหมั่นสั่ง สมบุญกุศลอย่างสม่ำเสมอ งดเว้นการการกระทำความชั่วทั้งปวง ผลบุญนั้น จะส่งผลให้ได้รับความสุข ความสำเร็จในชีวิต เวลาถึงคราวจะละจากโลกนี้ไป ผลของกรรมดีที่ได้กระทำมาย่อมนำพาไปสู่สุคติ มีความสุขในภพชาติหน้า สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนัน้ ผูท้ าํ กรรมดี ย่อมได้ผลดี ผูท้ าํ กรรมชัว่ ย่อมได้ผลชัว่. มีนยั ดังได้พรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ ๑๓ บทที่ ๒ สรุปย่อเนื้อหา-แนวข้อสอบ ธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยม ๑๔ ๒.๑ แนวข้อสอบธรรมศึกษาชั้นโท วิชาธรรมวิภาค หมวด ๒ สุข ๒ หมวด ๒ กาม ๒ สุ ข หมายถึ ง สภาพที ่ ท นได้ ง ่ า ย คื อ ความสบายกาย กาม หมายถึ ง ความรั ก ใคร่ ความพอใจ หรื อ ความ สบายใจ มี ๒ อย่าง ต้องการ มี ๒ อย่าง ๑) กายิกสุข สุขทางกาย หมายถึง มีสุขภาพร่างกาย ๑) กิเลสกาม กิเลสเป็นเหตุใคร่ หมายถึง กิเลสที่อยู่ใน สมบูรณ์ แข็งแรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มาเบียดเบียน จิตของบุคคล เช่น ความโลภ ความอิจฉาริษยา ๒) เจตสิกสุข สุขทางใจ เมื่อกายสงบ ใจก็มีความสุข พบ ๒) วัตถุกาม วัตถุอันน่าใคร่ หมายถึง สิ่งที่น่าใคร่ ชอบ เจอแต่เรื่องดีๆ มีประโยชน์ไม่ทำให้ใจขุ่นมัว หงุดหงิด ใจ ได้แก่ กามคุณ ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ _____________ กิเลสกาม จัดเป็นมาร เพราะเป็นต้นเหตุล้างผลาญความ ๑. ความไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ จัดเข้าในสุขข้อใด ? ดี ก. กายิกสุข ข. เจตสิกสุข วัตถุกาม จัดเป็นบ่วงแห่งมาร เพราะเป็นเครื่องผูกจิตของ ค. สามิสสุข ง. นิรามิสสุข ผู้ไม่รู้เท่าทันให้ติดในกามคุณ ๒. เจตสิกสุข คือสุขทางใจ มีลักษณะเช่นไร ? _____________ ก. เพราะได้ลาภลอย ข. เพราะได้รับมรดก ๑. กาม มีโทษโดยรวมแก่สัตว์อย่างไร ? ค. เพราะได้เลื่อนยศ ง. เพราะไม่ถูกกิเลสครอบงำ ก. ทำให้ข้องอยู่ในโลก ข. ทำให้รบราฆ่าฟันกัน ๓. อะไรเป็นเหตุให้เกิดสุขทางกาย ? ค. ทำให้เห็นแก่ตัว ง. ทำให้แข่งขันกันในโลก ก. ไม่มีโรค ข. ไม่มีหนี้ ๒. ผู้ที่ชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ชื่อว่าหลงยึดติดในอะไร ? ค. ไม่มีศัตรู ง. ไม่มีกิเลส ก. กิเลสกาม ข. วัตถุกาม ๔. อะไรเป็นเหตุให้เกิดสุขทางใจ ? ค. กามตัณหา ง. ภวตัณหา ก. อำนาจ ข. ทรัพย์ ๓. ข้อใด ไม่ใช่กิเลสกาม ? ค. บริวาร ง. คุณธรรม ก. ราคะ ข. โลภะ ๕. ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐจัดเป็นสุขประเภทใด ? ค. อิจฉา ง. รูป ก. กายิกสุข ข. เจตสิกสุข ๔. เสียงประเภทใด จัดเป็นวัตถุกาม ? ค. สามิสสุข ง. นิรามิสสุข ก. เสียงสวดมนต์ ข. เสียงเพลง ๖. ข้อใด เป็นเหตุให้เกิดเจตสิกสุข สุขทางใจ ? ค. เสียงผรุสวาท ง. เสียงนินทา ก. รู้จักพอเพียง ข. มีการงานดี ๕. กิเลสอันเป็นเหตุให้ใคร่ เรียกว่าอะไร ? ค. มีทรัพย์มาก ง. มีตำแหน่งสูง ก. กามคุณ ข. กิเลสกาม หมวด ๓ ค. วัตถุกาม ง. กามฉันทะ หมวด ๓ อธิปเตยะ ๓ ๖. สิ่งที่น่าปรารถนาน่าพอใจ เรียกว่าอะไร ? อธิปเตยะ หมายถึง ความเป็นใหญ่ เป็นความต้องการที่มี ก. กามสังโยชน์ ข. กิเลสกาม อำนาจ ๓ ประเภท ค. วัตถุกาม ง. กามฉันทะ ๑๕ ๑) อัตตาธิปเตยยะ ความมีตนเป็นใหญ่ หมายถึง การ ๘. ประชาธิปไตยที่แท้จริงมุ่งประโยชน์เพื่อใคร ? ยึ ด ตนเองเป็ น ใหญ่ น ึ ก ถึ ง ประโยชน์ ท ี ่ ต นจะได้ ร ั บ เช่ น ก. คนร่ำรวย ข. คนยากจน เกียรติยศ ชื่อเสียง ค. คนมีอำนาจ ง. ทุกๆ คน ๒) โลกาธิปเตยยะ ความมีโลกเป็นใหญ่ หมายถึง การ หมวด ๓ ตัณหา ๓ ถือเอาความคิดเห็นของคนส่วนมากเป็นประมาณ ทำตาม ตัณหา หมายถึง ความทะยานอยาก ดิ้นรน แสวงหา มี ๓ กระแสสังคมนิยม อย่าง ๓) ธัมมาธิปเตยยะ ความมีธรรมเป็นใหญ่ หมายถึง การ ๑) กามตัณหา ความอยากในกามคุณ หมายถึง ความ กระทำที่ยึดหลักธรรม หลักการตลอดถึงวิธีการที่ถูกต้อง มี อยากในกามที่ชักชวนให้รักใคร่ ให้ยินดี ให้พัวพัน ลุ่มหลง เหตุมีผลเป็นใหญ่ ๒) ภวตัณหา ความอยากในภพ หมายถึง อยากมีอยาก _____________ เป็นตามใจต้องการ เช่น อยากมีอำนาจ มีชื่อเสียง ๑. ผู้มีอัตตาธิปเตยยะ มีลักษณะเช่นไร ? ๓) วิ ภ วตั ณ หา ความอยากพ้ น ไปจากภพ หมายถึ ง ก. ถือความเห็นของตน ข. ถือความเห็นพวกพ้อง ความไม่อยากในภพที่ไม่อยากเป็นนั้นเป็นนี้ ไม่พอใจกับสิ่งที่ ค. ถือความเห็นหมู่ญาติ ง. ถือความเห็นส่วนรวม เป็นอยู่ ๒. การทำงานมุ่งความถูกต้อง จัดว่ามีอธิปไตยใด? _____________ ก. อัตตาธิปไตย ข. โลกาธิปไตย ๑. ผู้อยากได้ไม่มีที่สิ้นสุด เพราะถูกอะไรครอบงำ ? ค. ธรรมาธิปไตย ง. ประชาธิปไตย ก. ราคะ ข. โทสะ ๓. ผู้มีอัตตาธิปเตยยะ คือถืออะไรเป็นใหญ่ ? ค. โมหะ ง. ตัณหา ก. ตนเอง ข. พวกพ้อง ๒. ข้อใด จัดเป็นภวตัณหา ? ค. หมู่ญาติ ง. บริวาร ก. อยากร่ำรวย ข. อยากมีรถ ๔. ทำดีตามกระแสนิยมเพื่อให้ผู้อื่นยกย่องตรงกับข้อใด ? ค. อยากมีโทรศัพท์ ง. อยากเป็นใหญ่ ก. อัตตาธิปเตยยะ ข. โลกาธิปเตยยะ ๓. ความทะยานอยาก หมายถึงข้อใด ? ค. ธัมมาธิปเตยยะ ง. ถูกทุกข้อ ก. ราคะ ข. โทสะ ๕. ความเป็นใหญ่ ใครๆ ก็ชอบ ถืออะไรเป็นใหญ่จึงจะดี ? ค. โมหะ ง. ตัณหา ก. ถือตน ข. ถือเสียงข้างมาก ๔. อยากกินอาหารรสอร่อยๆ จัดเป็นตัณหาประเภทใด ? ค. ถือประชาชน ง. ถือธรรมะ ก. กามตัณหา ข. ภวตัณหา ๖. ปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่ใช้หลักอธิปไตยใด ปกครอง ค. วิภวตัณหา ง. ถูกทุกข้อ ประเทศ ? ๕. อยากอยู่ในตำแหน่งนานๆ จัดเป็นตัณหาประเภทใด ? ก. อัตตาธิปไตย ข. โลกาธิปไตย ก. กามตัณหา ข. ภวตัณหา ค. ธัมมาธิปไตย ง. อนาธิปไตย ค. วิภวตัณหา ง. ถูกทุกข้อ ๗. คำว่า ทำตามใจคือไทยแท้ จัดเข้าในอธิปไตยใด ? ก. อัตตาธิปไตย ข. โลกาธิปไตย ค. ธัมมาธิปไตย ง. ประชาธิปไตย ๑๖ หมวด ๓ อัคคิ ๓ หมวด ๓ วัฏฏะ ๓ อัคคิ แปลว่า ไฟ หมายถึง กิเลสภายในจิตใจ เป็นไฟเผา วัฏฏะ แปลว่า วน หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิดของ จิตใจมนุษย์ให้เร้าร้อน มี ๓ อย่าง คือ สัพพสัตว์ทั้งหลาย ดุจล้อรถหมุนเวียนไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ๑) ราคัคคิ ไฟคือราคะ หมายถึง กิเลสที่มีความกำหนัด ๑) กิเลสวัฏฏะ วนคือกิเลส หมายถึง การหมุนเวียนเป็น รักใคร่ในกามคุณ ๕ เป็นตัวเผาลนจิตใจ วงจรของกิเลส ต้องเกิด แก่ เจ็บ ตาย อยู่เรื่อยไป ราคัคคิ จะดับได้ด้วยการเจริญอสุภสัญญา ๒) กัมมวัฏฏะ วนคือกรรม หมายถึง กรรมเกิดขึ้น เพราะ ๒) โทสัคคิ ไฟคือโทสะ หมายถึง กิเลสที่มีความโกรธ แรงผลักดันของกิเลส กิเลสมาก ย่อมทำกรรมชั่วได้มาก ความขัดเคือง เป็นเหตุให้หงุดหงิด ๓) วิ ป ากวั ฏ ฏะ วนคื อ วิ บ าก หมายถึ ง ผลของการ โทสัคคิ จะดับได้ด้วยการเจริญเมตตาพรหมวิหาร และ กระทำ อันเป็นเหตุให้เกิดในภพต่างๆ ถ้าเป็นกรรมดี ผลที่ อัปปมัญญาภาวนา ได้รับเป็นความสุข ๓) โมหัคคิ ไฟคือโมหะ หมายถึง กิเลสที่มีความลุ่มหลง สรุป เมื่อกิเลสเกิดขึ้น บังคับมนุษย์ไ ปสร้างกรรม ย่อม ไม่รู้จริง เห็นผิดเป็นชอบ ได้รับวิบากผลของการกระทำต่อๆ ไปไม่รู้จบ โมหัคคิจะดับได้ด้วยการเจริญสมาธิอยู่เป็นประจำ จนมี _____________ ความเห็นที่ถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิเกิด) ๑. การเวียนว่ายตายเกิด มีอะไรเป็นสาเหตุ ? _____________ ก. กิเลส กรรม วิบาก ข. ราคะ โทสะ โมหะ ๑. ผู้ไม่รู้จักบาปบุญคุณโทษ เพราะถูกไฟอะไรแผดเผา ? ค. กุศล อกุศล ง. ทาน ศีล ภาวนา ก. ราคะ ข. โทสะ ๒. ในเรื่องวัฏฏะ ข้อใดจัดเป็นวิบาก ? ค. โมหะ ง. ตัณหา ก. กรรม ข. ขอขมากรรม ๒. เมื่อไฟคือโทสะเกิดขึ้น จะระงับด้วยวิธีใด ? ค. ทำกรรม ง. รับกรรม ก. เจริญเมตตา ข. เจริญอสุภะ ๓. การเวียนว่ายตายเกิด หมายถึงข้อใด ? ค. เจริญปัญญา ง. เจริญอนุสสติ ก. วัฏฏะ ข. จุติ ๓. รูปสวยเสียงไพเราะ ก่อให้เกิดไฟกิเลสประเภทใด ? ค. ปฏิสนธิ ง. อุบัติ ก. ไฟราคะ ข. ไฟโทสะ ๔. พระอริยบุคคลใด ตัดการเวียนว่ายตายเกิดได้ ? ค. ไฟโมหะ ง. ไฟริษยา ก. พระโสดาบัน ข. พระสกทาคามี ๔. คนที่ถูกไฟโทสะแผดเผา มักมีอาการเช่นไร ? ค. พระอนาคามี ง. พระอรหันต์ ก. โกรธง่าย ข. หงุดหงิดง่าย ๕. อะไร เป็นเหตุให้ทำกรรม ? ค. อารมณ์ร้อน ง. ถูกทุกข้อ ก. กิเลส ข. กรรม ๕. คนที่ไม่รู้จักบุญคุณพ่อแม่ เพราะถูกไฟกิเลสชนิดใด ค. วิบาก ง. ตัณหา แผดเผา ? หมวด ๓ ญาณ ๓ ก. ไฟราคะ ข. ไฟโทสะ ญาณ หมายถึง ปรีชาหยั่งรู้ในสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง ค. ไฟโมหะ ง. ไฟตัณหา ในอริยสัจ ๔ มี ๓ อย่าง ๑๗ ๑) สัจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้อริยสัจ ๑. อปัสเสนธรรมข้อพิจารณาแล้วอดกลั้น ควรใช้เมื่อใด ๒) กิจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรทำ ก. ถูกทุกขเวทนาครอบงำ ข. ถูกกิเลสครอบงำ ๓) กตญาณ ปรีชาหยัง่ รู้กิจอันทำแล้ว ค. ถูกความเสื่อมครอบงำ ง. ถูกพยาบาทครอบงำ _____________ ๒. อปัสเสนธรรมข้อว่า พิจารณาแล้วเว้น ตรงกับข้อใด ? ๑. คำว่า สัจจญาณ หมายถึงหยั่งรู้อะไร ? ก. ทุกขเวทนา ข. บัณฑิต ก. ทุกข์ ข. สมุทัย ค. ยารักษาโรค ง. คนพาล ค. นิโรธ ง. อริยสัจ ๓. ถูกเพื่อนด่า ควรใช้อปัสเสนธรรมข้อใด ? ๒. ข้อใด เป็นกิจจญาณในอริยสัจ ๔ ? ก. รับรู้ ข. อดกลั้น ก. รู้ความจริง ข. รู้สิ่งที่ควรทำ ค. เว้น ง. บรรเทา ค. รู้สิ่งที่ทำแล้ว ง. รู้อนาคต ๔. ในอปัสเสนธรรม เมื่อพิจารณาแล้วควรปฏิบัติอย่างไร ? ๓. ญาณ ๓ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. อดกลั้น ข. เว้น ก. สมาธิชั้นสูง ข. การบรรลุธรรม ค. บรรเทา ง. ถูกทุกข้อ ค. ปัญญาหยั่งรู้ ง. อิทธิฤทธิ์ ๕. ข้อใด ไม่ใช่วิธีปฏิบัติในอปัสเสนธรรม ? หมวด ๔ อปัสเสนธรรม ๔ ก. อดกลั้น ข. รู้แจ้ง ค. บรรเทา ง. เสพ อปัสเสนธรรม หมายถึง ธรรมดุจพนักพิง เป็นปฏิปทา เพื่อความเจริญ เป็นเหตุให้อกุศลที่เกิดขึ้นแล้วเสื่อมไป กุศล หมวด ๔ อัปปมัญญา ๔ ที่ยังไม่เกิดย่ อมเกิ ดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็เ จริญ ยิ่งๆ ขึ้นไป อัปปมัญญา หมายถึง การภาวนาอันมีสัตว์หาประมาณ มี ๔ อย่าง มิได้เป็นอารมณ์ เป็นการแผ่บุญกุศล หรือความปรารถนาดี ๑) พิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง หมายถึง ก่อนที่จะ ที่ไม่เจาะจงตัวผู้รับ ไม่มีการกำหนดเขตแดน โดยแผ่ให้กับ กินจะใช้สิ่งของต่างๆ ควรพิจารณาก่อนเพื่อไม่ให้หลงมัวเมา สรรพสัตว์ทุกหมู่เหล่า มี ๔ อย่าง ๒) พิจารณาแล้วอดกลั้นของอย่างหนึ่ง หมายถึง การ ๑) เมตตา ความรักใคร่ที่ปราศจากราคะ หมายถึง การ ประสบกับสิ่ง ที่ไม่น่าปรารถนา เช่น ความหนาว ร้อน หิว แผ่เมตตาจิตไปด้วยความรักใคร่ที่ไม่มีความกำหนัดเจือปน กระหาย คำเสียดแทง เป็นต้น ควรพิจารณารู้จักข่ม และ ๒) กรุณา ความสงสาร หมายถึง การแผ่ความสงสาร อดทนให้ได้ ความหวั่นใจ คิดช่วยให้ผู้อื่นพ้นจากความทุกข์ ๓) พิจารณาแล้วเว้นของอย่างหนึ่ง หมายถึง พิจารณา ๓) มุทิตา ความพลอยยินดี หมายถึง การชื่นชม ความ เว้น ไม่เสพในสิ่งที่จะมีผลเป็นความทุกข์ เดือดร้อนต่อตนเอง พลอยยินดีในเมื่อผู้อื่นได้ดี แสดงถึงความชื่นชมยินดี บันเทิง ในภายหลัง ใจ ๔) พิจารณาแล้วบรรเทาของอย่างหนึ่ง หมายถึง การ ๔) อุ เ บกขา ความวางเฉย หมายถึง การวางตนเป็ น บรรเทาสิ ่ ง ที ่ ม ี โ ทษ เป็ น อั น ตราย คิ ด จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความ กลาง ความวางเฉย ไม่เอนเอียงเข้าไปด้วยความไม่ ช อบ เสียหายแก่ตน หรือชอบก็ตาม ควรใช้สติปัญญาพิจารณาเหตุผล ด้วยความ _____________ ยุติธรรม ๑๘ อัปปมัญญา คือ การแผ่โดยไม่เจาะจง ๑. อกุศลธรรมที่ครอบงำจิตไม่ให้ก้าวขึ้นสู่ธรรมชั้นสูงขึ้นไป พรหมวิหาร คือ การแผ่โดยเจาะจง ตรงกับข้อใด ? _____________ ก. มัจฉริยะ ข. นิวรณ์ ๑. การภาวนาข้อใด จัดเป็นอัปปมัญญา ? ค. ตัณหา ง. มาร ก. ไม่เจาะจง ข. เจาะจงบุคคล ๒. รูป เสียง กลิ่น รส ที่น่าชอบใจ ก่อให้เกิดนิวรณ์ใด ? ค. เจาะจงสัตว์ ง. เจาะจงตนเอง ก. กามฉันทะ ข. พยาบาท ๒. ยินดีเมื่อเพื่อนสอบได้ จัดว่ามีอัปปมัญญาข้อใด ? ค. ถีนมิทธะ ง. วิจิกิจฉา ก. เมตตา ข. กรุณา ๔. คนเป็นโรคซึมเศร้า เพราะจิตถูกนิวรณ์ใดครอบงำ ? ค. มุทิตา ง. อุเบกขา ก. พยาบาท ข. ถีนมิทธะ ๓. ข้อใด จัดเป็นข้าศึกของเมตตา ? ค. อุทธัจจกุกกุจจะ ง. วิจิกิจฉา ก. ความรัก ข. ความโลภ ๕. คนที่มีความสงสัยในเรื่องบาปบุญ เพราะจิตถูกนิวรณ์ใด ค. ความหลง ง. ความพยาบาท ครอบงำ ? ๔. วิธีแผ่เมตตาที่ถูกต้อง ควรเริ่มที่ใคร ? ก. กามฉันทะ ข. พยาบาท ก. ตนเอง ข. มิตร ค. ถีนมิทธะ ง. วิจิกิจฉา ค. ศัตรู ง. สรรพสัตว์ หมวด ๕ มัจฉริยะ ๕ ๕. ขอให้สรรพสัตว์พ้นจากทุกข์เถิด เป็นการเจริญ มัจฉริยะ คือ ความตระหนี่ เสียดาย หวงแหน เป็นกิเลสที่ อัปปมัญญาใด ? ทำให้กลายเป็นคนตระหนี่ เห็นแก่ตัว มี ๕ อย่าง ก. เมตตา ข. กรุณา ๑) อาวาสมัจฉริยะ ความตระหนี่ที่อยู่ ค. มุทิตา ง. อุเบกขา ๒) กุลมัจฉริยะ ความตระหนี่สกุล ๖. สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของของตน เป็นการเจริญ ๓) ลาภมัจฉริยะ ความตระหนี่ลาภ อัปปมัญญาใด ? ๔) วัณณมัจฉริยะ ความตระหนี่วรรณะ ก. เมตตา ข. กรุณา ๕) ธัมมมัจฉริยะ ความตระหนี่ธรรม ค. มุทิตา ง. อุเบกขา _____________ หมวด ๕ นิวรณ์ ๕ ๑. ความตระหนี่อะไร จัดเป็นธัมมมัจฉริยะ ? นิวรณ์ เครื่องกีดกั้นการทำงานของจิต สิ่งที่ขัดขวางความ ก. ความดี ข. ความรู้ ดีงามของจิตมี ๕ อย่าง ค. ที่อยู่ ง. ตระกูล ๑) กามฉันทะ ความพอใจในกาม ๒. ความตระหนี่อะไร จัดเป็นวัณณมัจฉริยะ ? ๒) พยาบาท ความขัดเคืองแค้นใจ ก. ความดี ข. ความรู้ ๓) ถีนมิทธะ ความหดหู่และเซื่องซึม ค. ที่อยู่ ง. ตระกูล ๔) อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและเดือดร้อนใจ ๓. ข้อใด จัดเป็นความหมายของอาวาสมัจฉริยะ ? ๕) วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ก. หวงที่อยู่อาศัย ข. หวงเงินทอง _____________ ค. หวงวิชาความรู้ ง. หวงวงศ์สกุล ๑๙ ๔. อาวาสมัจฉริยะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? ๔. ความสบายใจ มีความหมายตรงกับเวทนาใด ? ก. หวงที่อยู่ ข. หวงสกุล ก. สุขเวทนา ข. ทุกขเวทนา ค. หวงลาภ ง. หวงวรรณะ ค. โสมนัสเวทนา ง. อุเบกขาเวทนา ๕. คนที่ไม่ถือชาติชั้นวรรณะ แสดงว่าไม่มีมัจฉริยะใด ? ๕. อาการที่ไม่ดีใจเสียใจ มีความหมายตรงกับเวทนาใด ? ก. กุลมัจฉริยะ ข. ลาภมัจฉริยะ ก. สุขเวทนา ข. ทุกขเวทนา ค. วัณณมัจฉริยะ ง. ธัมมมัจฉริยะ ค. โสมนัสเวทนา ง. อุเบกขาเวทนา ๖. คนที่กลัวคนอื่นจะได้ดีกว่า ชื่อว่ามีความตระหนี่ในเรื่อง ๖. ความสบายกาย มีความหมายตรงกับเวทนาใด ? อะไร ? ก. สุขเวทนา ข. ทุกขเวทนา ก. ตระกูล ข. ที่อยู่ ค. โสมนัสเวทนา ง. อุเบกขาเวทนา ค. วรรณะ ง. ลาภ หมวด ๖ จริต ๖ ๗. ธัมมมัจฉริยะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? จริต หมายถึง ความประพฤติ อุปนิสัย พื้นเพของจิตใจที่ ก. หวงวิชา ข. หวงสกุล แท้จริงที่ฝังแน่นติดอยู่ในสันดานมักแสดงออกมาให้เห็นอยู่ ค. หวงลาภ ง. หวงวรรณะ เสมอ มี ๖ อย่าง หมวด ๕ เวทนา ๕ ๑) ราคจริต มีความประพฤติหนักไปทางรักสวยรักงาม เวทนา หมายถึง ความรับรู้อารมณ์หรือความรู้สึก ที่ มา ๒) โทสจริต มีโทสะเกิดขึ้นเสมอ ใจจะร้อน หงุดหงิด กระทบเข้า มี ๕ อย่าง ๓) โมหจริต มีโมหะเป็นปกติ คือ เขลา ไม่กล้าแสดงออก ๑) สุข ความรู้สึกสบายกาย ๔) วิ ต ั ก กจริ ต มีความคิด ฟุ ้ง ซ่ าน ชอบสร้างวิ ม านใน ๒) ทุกข์ ความรู้สึกไม่สบายกาย อากาศ วิตกกังวลจนเกินเหตุ ๓) โสมนัส ความรู้สึกสบายใจ ๕) สัทธาจริต มีจิตใจพร้อมที่จะเชื่อถือ เลื่อมใส ในสิ่งที่ ๔) โทมนัส ความรู้สึกไม่สบายใจ ได้ยินได้ฟัง ๕) อุเบกขา ความรู้สึกเฉยๆ ๖) พุทธิจริต มีปัญญา ใช้เหตุผล ใช้ความคิดพิจารณา _____________ _____________ ๑. อุเบกขาในเวทนา ๕ หมายถึง วางเฉยใน

Use Quizgecko on...
Browser
Browser