บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ PDF
Document Details
Uploaded by UnconditionalSweetPea9420
ธิดา บุตรรักษ์
Tags
Summary
เอกสารนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ ครอบคลุมแนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทของสารสนเทศทางการท่องเที่ยว และองค์ประกอบหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Full Transcript
บทที่ 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการท่องเที่ยวและบริการ ธิดา บุตรรักษ์ 1 ประเด็นที่นําเสนอ แนวคิดเกีย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเทีย่ ว...
บทที่ 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการท่องเที่ยวและบริการ ธิดา บุตรรักษ์ 1 ประเด็นที่นําเสนอ แนวคิดเกีย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเทีย่ ว การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การท่องเทีย่ ว โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเทีย่ ว 2 แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงทีไ่ ด้ถูกเก็บรวบรวมไว้โดยยังไม่ผา่ นการ ประมวลผลใด ๆ ข้อมูลจะกลายเป็ นสารสนเทศทีผ่ ใู้ ช้ตอ้ งการโดยผ่านการ ประมวลผล เช่น การจัดกลุ่ม หรือการแบ่งประเภท การจัดลําดับ การคํานวณ การสรุป หรือการหาแนวโน้ม สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลทีไ่ ด้รบั จากการประมวลผล ซึง่ เป็ น ข้อมูลทีน่ ํามาใช้ประกอบการตัดสินใจได้ 3 แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี มีความถูกต้องเทีย่ งตรง (Accuracy) มีความทันสมัย (Timeliness) ตรงตามความต้องการใช้ (Relevance) สมบูรณ์ครบถ้วน (Completeness) 4 แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร์มา ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดทํา และสนับสนุ นสารสนเทศต่าง ๆ ให้กบั บุคลากรภายในองค์กร เพือ่ ประโยชน์ในการปฏิบตั งิ านและการจัดการองค์กรทีม่ ี ประสิทธิภาพ หน้ าที่ของระบบสารสนเทศ คือ การประมวลผลข้อมูล (Processing) การจัดการ ฐานข้อมูล (Database Management) การจัดทํารายงาน (Reporting) การ สอบถามข้อมูล (Enquiry) และการช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support) 5 แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หรือบางครัง้ เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Information and Communication Technology : ICT) เป็ นเทคโนโลยีทใ่ี ช้จดั การหรือประมวลผลสารสนเทศ ซึง่ เป็ น เทคโนโลยีทเ่ี กีย่ วข้องกับการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล การสือ่ สาร การค้นคืนสารสนเทศ เป็ นต้น ในการประยุกต์การบริการและพืน้ ฐาน เทคโนโลยี สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 กลุ่ม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ การสือ่ สาร และ ข้อมูลแบบมัลติมเี ดีย 6 แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) องค์ประกอบหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ข้อมูล (Data) เครือข่ายและการสือ่ สารโทรคมนาคม (Networking and Telecommunication) บุคลากร (People Ware) 7 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว ประเภทของสารสนเทศทางการท่องเที่ยว แบ่งตามกลุ่มของผูใ้ ช้สามารถแบ่ง ได้ ดังนี้ สารสนเทศสําหรับนักท่องเที่ยว : เช่น แหล่งท่องเทีย่ ว สิง่ อํานวยความ สะดวก ราคาของสินค้าหรือบริการ การเดินทาง สภาพภูมอิ ากาศ เป็ นต้น สารสนเทศสําหรับผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว : เช่น ข้อมูลธุรกิจ ข้อมูลและประวัตลิ กู ค้า พฤติกรรมการท่องเทีย่ ว คูแ่ ข่งขัน ข้อมูล ตัวแทนจําหน่าย เป็ นต้น 8 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) ประเภทของสารสนเทศทางการท่องเที่ยว (ต่อ) สารสนเทศสําหรับตัวแทนจําหน่ าย : เช่น แนวโน้มของความต้องการของ ลูกค้า จุดหมายปลายทาง แหล่งท่องเทีย่ ว รายการนําเทีย่ ว ประเภทของราคา สินค้าและบริการทีม่ ไี ว้บริการ ข้อมูลผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเทีย่ ว คูแ่ ข่งขัน เป็ นต้น สารสนเทศสําหรับหน่ วยงานวางแผนการท่องเที่ยว : เช่น จํานวน นักท่องเทีย่ ว รายได้จากการท่องเทีย่ ว นโยบายการท่องเทีย่ ว แผนส่งเสริม การท่องเทีย่ ว แนวโน้มการท่องเทีย่ วโลก เป็ นต้น 9 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) ลักษณะของสารสนเทศทางการท่องเที่ยว สามารถแบ่งได้หลายรูปแบบ สารสนเทศทางการท่องเที่ยวที่ไม่เปลี่ยนแปลงกับที่เปลี่ยนแปลงอยู่ เสมอ (Static vs. Dynamic Information) : ซึง่ สารสนเทศทีไ่ ม่เปลีย่ นแปลง เช่น ประเภทและลักษณะของสินค้าและบริการ เส้นทางคมนาคม สถานทีต่ งั ้ ของแหล่งท่องเทีย่ ว ส่วนสารสนเทศทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ เช่น จํานวน สินค้าและบริการ ตารางการบิน อัตราค่าโดยสาร สภาพภูมอิ ากาศ 10 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) ลักษณะของสารสนเทศทางการท่องเที่ยว (ต่อ) สารสนเทศทางการท่องเที่ยวก่อนการเดินทาง ระหว่างเดินทาง และ หลังการเดินทาง (Pre-trip vs. In-trip vs. Post-trip Information) : สารสนเทศก่อนการเดินทาง จะเป็ นสารสนเทศทีช่ ว่ ยในการวางแผนและ ตัดสินใจซือ้ สินค้าหรือบริการ เช่น สถานทีต่ งั ้ ลักษณะและประเภทของสินค้า และบริการ เป็ นต้น สารสนเทศระหว่างเดินทาง เช่น สภาพภูมอิ ากาศ กิจกรรมการท่องเทีย่ ว เป็ นต้น สารสนเทศหลังการเดินทาง มักเป็ นข้อมูลสรุป หรือข้อคิดเห็นของนักท่องเทีย่ วทีส่ ะท้อนกลับหลังจากการเดินทาง เช่น การ รีววิ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) ลักษณะของสารสนเทศทางการท่องเที่ยว (ต่อ) ไม่เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงเสมอ แผ่นพับ โทรศัพท์ อีเมล เว็บไซต์ หนังสือแนะนําสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว สือ่ สังคมออนไลน์ ก่อนเดินทาง รูปภาพ วิดโิ อ อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ ระบบจัดจําหน่ายแบบเบ็ดเสร็จ แผ่นพับ โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล ขณะเดินทาง หนังสือแนะนําสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว อินเทอร์เน็ต สือ่ สังคมออนไลน์ ป้ ายแนะนํา แผนที่ ตูบ้ ริการ/จอภาพสัมผัส โมบายแอปพลิเคชัน ช่องรายการโทรทัศน์วงจรปิ ดในโรงแรม รายงานสรุป อินทราเน็ต บล็อก เครือข่ายสังคมออนไลน์ หลังเดินทาง รูปภาพ วิดโิ อ สือ่ แชร์แลกเปลีย่ นกัน บทความแสดงความคิดเห็น 12 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) ลักษณะของสารสนเทศทางการท่องเที่ยว (ต่อ) สารสนเทศทางการท่องเที่ยวจัดทําโดยภาครัฐกับภาคเอกชน (Public sector vs. Private sector Information) สารสนเทศทีจ่ ดั ทําโดยภาครัฐ มัก ให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็ นกลางและครอบคลุมรายละเอียดสําหรับการเดินทาง เช่น ให้ ข้อมูลเกีย่ วกับ ลักษณะ ทีต่ งั ้ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีแ่ นะนํา สารสนเทศทีจ่ ดั ทํา โดยภาคเอกชน มักให้ขอ้ มูลทีเ่ ฉพาะเจาะจงซึง่ เป็ นสินค้าหรือบริการทีม่ ตี รา ผลิตภัณฑ์ทช่ี ดั เจน หรือส่งเสริมการท่องเทีย่ วในพืน้ ทีท่ ธ่ี ุรกิจตัง้ อยู่ 13 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) ลักษณะของสารสนเทศทางการท่องเที่ยว (ต่อ) สารสนเทศทางการท่องเที่ยวจัดทําโดยภาครัฐกับภาคเอกชน (Public sector vs. Private sector Information) การให้ขอ้ มูลข่าวสารของเว็บไซต์ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย การให้ขอ้ มูลข่าวสารของเว็บไซต์ Traveloka 14 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ สาเหตุ ความสัมพันธ์ คือ อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วประกอบด้วยสารสนเทศมากมายหลายประเภท หลาย ขนาด เช่น ข้อมูลการเดินทาง ข้อมูลทีพ่ กั ข้อมูลการตลาด อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วมีการติดต่อสือ่ สารไปทัวโลก ่ อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วมีการนําระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยดําเนินการเป็ น จํานวนมาก เช่น ระบบจองและจัดการ ระบบข้อมูลลูกค้า 15 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ความจําเป็ นทางเศรษฐกิจทําให้เกิดการแข่งขันของธุรกิจทัวโลก ่ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงานและการติดต่อสือ่ สาร ของธุรกิจการท่องเทีย่ ว การเติบโตอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีทาํ ให้กลายเป็ นส่วนหนึ่งของ อุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว 16 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) เทคโนโลยีสารสนเทศกับพฤติกรรมนักท่องเที่ยว นักท่องเทีย่ วสือ่ สารผ่านระบบโมบายมากขึน้ นักท่องเทีย่ วสือ่ สารตลอด 24 ชัวโมง ่ และตลอด 7 วัน นักท่องเทีย่ วได้รบั สารสนเทศจํานวนมากด้วยความเร็วสูง สารสนเทศเสมือนจริงได้รบั ความนิยมสูงสุด นักท่องเทีย่ วไว้วางใจนักท่องเทีย่ วอื่นมากกว่าองค์กรหรือบริษทั ต่าง ๆ 17 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) เทคโนโลยีสารสนเทศกับพฤติกรรมนักท่องเที่ยว (ต่อ) นักท่องเทีย่ วเป็ นผูค้ วบคุมสารสนเทศทีต่ อ้ งการ โปรแกรมค้นหาช่วยอํานวยความสะดวกให้แก่นกั ท่องเทีย่ ว การค้นหาข้อมูลการบริการในพืน้ ที่ นักท่องเทีย่ วต้องการความเป็ นส่วนตัวและเป็ นส่วนหนึ่งของสังคม 18 เทคโนโลยีสารสนเทศและการท่องเที่ยว (ต่อ) เทคโนโลยีสารสนเทศกับพฤติกรรมนักท่องเที่ยว (ต่อ) 19 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในภาคธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจการบิน เช่น การใช้ระบบการจัดจําหน่ายแบบเบ็ดเสร็จ (Global Distribution System : GDS) ธุรกิจทีพ่ กั แรม เช่น มีระบบการจองห้องพัก และนําระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ ในการบริหารงานภายในองค์กร ธุรกิจนําเทีย่ วและตัวแทนจําหน่าย เช่น การดําเนินธุรกิจผ่านบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ธุรกิจภัตตาคารหรือร้านอาหาร เช่น มีการนําระบบการขาย ณ จุดขาย (Point-of-sale System) ระบบการจัดการเมนู 20 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว (ต่อ) กรอบแนวคิดหลายมิติของเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ระบบอินทราเน็ต (Intranet) : เป็ นระบบทีช่ ว่ ยในการปฏิบตั งิ านภายใน องค์กรธุรกิจการท่องเทีย่ วและการโรงแรม เช่น ระบบการจัดการทรัพย์สนิ ระบบการขาย ณ จุดขาย ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการและกลยุทธ์ ระบบ บัญชีและเงินเดือน ระบบเทคโนโลยีการผลิตอาหาร ระบบควบคุมสินค้า คงคลัง เป็ นต้น 21 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว (ต่อ) กรอบแนวคิดหลายมิติของเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว (ต่อ) ระบบเอกซ์ทราเน็ต (Extranet) : เป็ นระบบเครือข่ายทีใ่ ช้ในการสือ่ สารกับ หุน้ ส่วน พันธมิตร หรือซัพพลายเออร์ ภายนอกองค์กร โดยการกําหนด ข้อตกลงหรืออํานาจในการติดต่อระหว่างกัน เช่น การเข้าใช้งานระบบการจัด จําหน่ายแบบเบ็ดเสร็จของบริษทั นําเทีย่ ว เป็ นต้น 22 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว (ต่อ) กรอบแนวคิดหลายมิติของเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว (ต่อ) ระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) : เป็ นระบบทีใ่ ช้ในการปฏิสมั พันธ์กบั ลูกค้า ผูม้ สี ว่ นได้เสีย และสังคมส่วนรวม และสามารถขายสินค้าหรือบริการผ่าน ระบบนี้ได้ 23 โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว แบ่งออกเป็ น 6 ส่วน รัฐบาล (Government) : มีบทบาทสําคัญ 3 ด้าน ต่อการท่องเทีย่ ว วางแผนพัฒนาการท่องเทีย่ ว เช่น แผนพัฒนาสาธารณูปโภค ออกกฎหมายควบคุมอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว เช่น ออกกฎหมาย ควบคุมผูป้ ระกอบการท่องเทีย่ ว ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว เช่น สนับสนุนผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการ ท่องเทีย่ ว การนําเทคโนโลยีมาใช้ในการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารด้านการ ท่องเทีย่ ว 24 โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว (Suppliers) : คือ ผูท้ ใ่ี ห้บริการ นักท่องเทีย่ วในด้านต่าง ๆ เช่น สายการบิน รถไฟ โรงแรม ภัตตาคาร บริษทั นําเทีย่ ว ธุรกิจการท่องเทีย่ วทีเ่ ป็ นผูผ้ ลิตสินค้าและบริการ จะพิจารณาใช้ เทคโนโลยี 2 ระดับ คือ การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ภายในเพือ่ การปฏิบตั งิ าน การใช้คอมพิวเตอร์เพือ่ จัดจําหน่ายสินค้าและบริการต่อลูกลูกค้า 25 โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) ระบบจัดจําหน่ ายแบบเบ็ดเสร็จ (Global Distribution System-GDS) : เป็ นตัวกลางในการสํารองและจัดจําหน่ายสินค้าและบริการและบริการ สารสนเทศจากผูผ้ ลิตสูต่ วั แทนจําหน่าย โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีการติดต่อสือ่ สาร ระบบ GDS ใช้ในธุรกิจการบินเป็ นหลัก โดยใช้ ในการสํารองทีน่ งและจํ ั่ าหน่ายบัตรโดยสารเครือ่ งบิน ต่อมาได้มกี ารเพิม่ ข้อมูลด้าน บริการห้องพัก บริการรถเช่า เข้าไปในระบบด้วย 26 โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) : การเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ของหน่วยงานหรือธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วเข้าด้วยกัน ทํา ให้การบริการด้านการท่องเทีย่ วเกิดขึน้ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็ นจํานวน มาก 27 โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) ตัวกลางสู่ผบู้ ริโภค (Consumer Intermediaries) : ตัวแทนจําหน่ายทางการท่องเทีย่ ว (Travel Agents) เป็ นตัวกลางระหว่าง ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการกับนักท่องเทีย่ ว เป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญและรอบรูใ้ น สินค้าและบริการ สํานักงานท่องเทีย่ ว (Tourist Offices) เป็ นตัวกลางสูผ่ บู้ ริโภคในการ ให้บริการสารสนเทศทางการท่องเทีย่ ว โดยแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ สํานักงานท่องเทีย่ วภาครัฐ และสํานักงานท่องเทีย่ วภาคเอกชน 28 โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (ต่อ) ผูบ้ ริโภค (Consumer) : คือ ผูเ้ ดินทางท่องเทีย่ วเพือ่ จุดประสงค์เพือ่ การ พักผ่อนหย่อนใจ หรือเพือ่ เจรจาธุรกิจ หรือเพือ่ เยีย่ มญาติ ผูบ้ ริโภค อาจจะซือ้ สินค้าและบริการทางการท่องเทีย่ วจาก ผูผ้ ลิต ตัวแทนจําหน่าย หรือผ่าน ช่องทางออนไลน์ 29 ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการการท่องเทีย่ วจะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ จัดการ สํานักงานอัตโนมัตแิ ละเป็ นช่องทางการจัดจําหน่ายไปสูล่ กู ค้าในท้องตลาด ผูผ้ ลิต สินค้าแต่ละประเภทมีววิ ฒั นาการการใช้เทคโนโลยีทแ่ี ตกต่างกัน 30 ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว (ต่อ) สายการบิน รถไฟ เรือสําราญ และรถเช่า : ธุรกิจการบินใช้คอมพิวเตอร์ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ระบบ CRS ( Computerized Reservation System ) เป็ น ระบบสํารองทีน่ งของสายการบิ ั่ น ต่อมาธุรกิจอื่นในอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วเห็น ความสําคัญของระบบ CRS จึงมีการนําข้อมูลสินค้าและบริการต่าง ๆ มาจัด จําหน่ายเพิม่ เติม เช่น ห้องพัก โรงแรม บริการเรือสําราญ บริการรถเช่า โดยต่อมา ระบบ CRS ได้มกี ารพัฒนาและกลายเป็ นระบบการจัดจําหน่ายแบบเบ็ดเสร็จ (Global Distribution System : GDS ) 31 ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว (ต่อ) สายการบิน รถไฟ เรือสําราญ และรถเช่า : 32 ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว (ต่อ) โรงแรม (Hotel ) : โรงแรมมีทงั ้ ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ เป็ นจํานวนมาก โดยทัวไป ่ ธุรกิจโรงแรมใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในงานหลายด้าน เช่น ระบบการสํารองห้องพัก และจัดจําหน่าย ระบบการจัดการทรัพย์สนิ ระบบบริการส่วนหน้า และงานส่วน หลังทีม่ คี วามสําคัญต่อการเพิม่ ประสิทธิภาพการเพิม่ ผลกําไร 33 ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว (ต่อ) โรงแรม (Hotel ) : โรงแรมมีทงั ้ ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ เป็ นจํานวนมาก โดยทัวไป ่ ธุรกิจโรงแรมใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในงานหลายด้าน เช่น ระบบการสํารองห้องพัก และจัดจําหน่าย ระบบการจัดการทรัพย์สนิ ระบบบริการส่วนหน้า และงานส่วน หลังทีม่ คี วามสําคัญต่อการเพิม่ ประสิทธิภาพการเพิม่ ผลกําไร 34 ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว (ต่อ) โรงแรม (Hotel ) : (ต่อ) โดยโรงแรมสามารถจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ได้ใน 3 ลักษณะ คือ การพัฒนาระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ของตัวเอง (In-house System) การซือ้ โปรแกรมสําเร็จรูป (Pre-packaged System) การว่าจ้างบริษทั คอมพิวเตอร์จากภายนอก (Outsourced System) 35 ผูผ้ ลิตสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว (ต่อ) บริษทั นําเที่ยว (Tour Operator) : เป็ นธุรกิจที่ ซือ้ สินค้าและบริการจากผูผ้ ลิตทางการท่องเทีย่ ว แล้วนํามาประกอบเป็ นรายการนําเทีย่ ว และเสนอ ขายแก่นกั ท่องเทีย่ ว โดยจําหน่ายผ่านตัวแทนหรือ อาจติดต่อกับลูกค้าโดยตรง ดังนัน้ บริษทั นําเทีย่ ว จึงต้องมีระบบการดําเนินการภายในทีม่ ี ประสิทธิภาพ และมีระบบเครือข่ายจัดจําหน่ายโดย ตัวแทนจําหน่ายทีก่ ว้างขวาง โดยจัดทําเป็ นระบบ บริษทั นําเทียว : Avenue Tour บริษทั เอฟวีนิว อินเตอร์ ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ แทรเวิล กรุ๊ป จํากัด 36 มอบหมายงาน ให้นกั ศึกษาทําการศึกษาประเด็น เรือ่ ง “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วและบริการ” แล้วทําการสรุปเรือ่ งดังกล่าว จัดส่งงานผ่าน Google Classroom 37