ปัญหาสุขภาพจิตในวัยทำงาน PDF
Document Details
Uploaded by IdealGriffin
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
อาจารย์กนกพร สมพร
Tags
Summary
เอกสารนี้กล่าวถึงปัญหาสุขภาพจิตในวัยทำงาน โดยเน้นสาเหตุและวิธีการจัดการปัญหาต่างๆ เช่น ความเครียดและภาวะซึมเศร้า
Full Transcript
ปัญหาสุขภาพจิตในวัยทางาน อาจารย์กนกพร สมพร สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปัญหาสุขภาพจิตในวัยทางาน เมื่อเข้าสู่วัยกลางคนจะเริ่มปักหลักเรื่องการทางา...
ปัญหาสุขภาพจิตในวัยทางาน อาจารย์กนกพร สมพร สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปัญหาสุขภาพจิตในวัยทางาน เมื่อเข้าสู่วัยกลางคนจะเริ่มปักหลักเรื่องการทางาน การแต่งงานมีครอบครัว สร้างฐานะที่หมั่นคง มีภาระความ รับผิดชอบต่าง ๆ เพิ่มมากขึน้ และมีความมุ่งมั่นกระตือรือร้นที่จะสร้างความสาเร็จ โดยเฉพาะความสาเร็จในหน้าที่การทางาน เพื่อให้ได้ประสบความสาเร็จและความภาคภูมิใจในตนเอง แต่ในบางครั้งที่การดาเนินชีวิตโดยเชื่อมั่นในสิ่งต่าง ๆมากเกินไป เมื่อ เกิดความล้มเหลวก็จะทาให้เกิดความรู้สึกท้อแท้ สิ้นหวัง มีความคิดอยากจะฆ่าตัวตาย หรือพยายามหลีกหนีหนีต่อความรู้สึก กังวลใจ ความไม่สบายใจ ความโกรธ ความหงุดหงิด ด้วยการดื่มสุร า การใช้ยา จนส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักของการสร้าง สัมพันธภาพกับบุคคลอื่น และเกิดการแยกตัวออกมาจากสังคม ปัญหาสุขภาพจิตที่มักจะพบในวัยทางาน 1. ความเครียด 2. โรคซึมเศร้า 3. BURNOUT SYNDROME ภาวะซึมเศร้า ภาวะซึมเศร้า สาเหตุของภาวะซึมเศร้าจากการทางาน 1. มีแนวคิดไม่ตรงกับบริษัท แต่ฝืนทางานต่อไปแม้จะไม่ชื่นชอบหลักการทางานขององค์กร 2. ทางานไม่ตรงกับความรู้ความสามารถที่มี ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดภาวะเครียดและความกดดันได้ เช่น มีความสามารถหรือเรียน จบด้านศิลปะแต่ตอ้ งทางานที่เกี่ยวข้องกับการใช้ตัวเลข เป็นต้น 3. ขาดสมดุลในการใช้ชีวติ และการทางาน ทางานหลายชั่วโมงติดต่อกันโดยไม่ได้หยุดพักเพื่อทากิจกรรมผ่อนคลายอื่น ๆ เช่น สังสรรค์กับเพื่อน ทางานอดิเรกที่ตนเองชอบ หรือออกกาลังกาย เป็นต้น 4. ได้รับคาแนะนาในการทางานที่ไม่ชัดเจน และไม่รู้วา่ เจ้านายหรือบริษัทคาดหวังอะไร ซึ่งอาจทาให้รู้สึกไม่มั่นใจว่างานที่ทาอยู่ นัน้ มีประสิทธิภาพมากพอหรือไม่ 5. ได้รับมอบหมายให้ทางานมากเกินไป หรือมีงานมากจนต้องทางานล่วงเวลาบ่อย ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อเวลาที่ควรใช้พักผ่อน 6. โดนกลั่นแกล้งจากหัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน หรือลูกค้า 7. มีความไม่สบายใจส่วนบุคคล ต้องติดต่อประสานงานกับเพื่อนร่วมงานหรือบุคคลที่ไม่เป็นมิตร หรือบุคคลที่มีทัศนคติ ลักษณะนิสัย และการทางานที่แตกต่างกัน สาเหตุของภาวะซึมเศร้าจากการทางาน 8. เป็นคนโลกส่วนตัวสูง ผู้ที่มีนิสัยชอบเก็บตัวอาจรู้สึกอึดอัดหากทางานในห้องที่พนักงานทุกคนหรือทุกแผนกต้องนั่งทางานในห้อง เดียวกัน 9. เป็นคนชอบเข้าสังคม ผู้ที่ชื่นชอบการเข้าสังคมอาจรู้สึกไม่สะดวกสบายเมื่อต้องทางานในสภาพแวดล้อมที่พนักงานไม่ค่อยมี ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน 10 ค่าตอบแทนหรือผลประโยชน์ที่ได้รับไม่เพียงพอกับความต้องการขัน้ พื้นฐาน 11. อยู่ในภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออก แม้วา่ รู้สกึ อยากออกจากงาน แต่ดว้ ยภาระต่าง ๆ หรือเหตุผลบางประการก็ทาให้ไม่สามารถ ลาออกจากงานได้ 12. แผนการทางานไม่ดี มีการสื่อสารผิดพลาด ส่งงานล่าช้ากว่ากาหนด หรือทางานเกินงบประมาณที่ตั้งไว้ ซึ่งอาจเป็นผลให้งานไม่ ประสบความสาเร็จตามที่คาดหวัง 13. ไม่มีกาลังใจในการทางาน ผู้นาองค์กรโยนความผิดให้แก่พนักงาน จากัดงบประมาณการขึ้นเงินเดือน หรือมีการให้รางวัลแก่ผู้ที่ ทางานอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจทาให้พนักงานรู้สึกหมดกาลังใจในการทางานได้ 14. สภาพแวดล้อมในที่ทางานไม่ดี ฝ่ายจัดการละเลยการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในองค์กรที่อาจมีผลต่อพนักงานได้ เช่น ช่วงเวลา พักของพนักงานน้อยเกินไป การเพิกเฉยต่อความปลอดภัยในองค์กร และไม่ปรับอุณหภูมิในห้องทางานให้อยู่ในระดับที่พนักงาน สามารถทางานได้โดยไม่รู้สึกอึดอัด เป็นต้น สัญญาณของภาวะซึมเศร้าจากการทางาน 1. ประสิทธิภาพในการทางานลดลง 2. ทักษะการแก้ไขปัญหาลดลง 3. ทางานแบบผัดวันประกันพรุ่ง 4. ยอมแพ้ต่อชีวิต ไม่ต่อสู้ดิน้ รน ไม่พยายามเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ให้ดีขนึ้ 5. เก็บตัว ไม่เข้าสังคม 6. เชื่องช้าลง 7. รู้สึกผิดหวัง สะเทือนใจง่าย 8. ไม่มีความภูมิใจหรือเห็นคุณค่าในตัวเองต่า เมื่อไรควรไปพบแพทย์ ? หากพบอาการของโรคซึมเศร้า เช่น รู้สึกเศร้า สิ้นหวัง ไม่แจ่มใส รู้สึกว่าตนเองไร้ค่า วิตกกังวล และ นอนไม่หลับ ควรไปพบแพทย์เพื่อรับคาแนะนาในการวางแผนรักษาต่อไป นอกจากนั้น หากเผชิญภาวะซึมเศร้าจนพบว่าตนเองคิดวางแผนฆ่าตัวตาย พยายามฆ่าตัวตาย คิด หรือทาร้ายตนเองและผู้อื่น รวมทั้งหาทางออกให้กับปัญหาไม่ได้ ควรรีบโทรศัพท์ไปยังสายด่วนสุขภาพจิตที่เบอร์ 1323 เพื่ อ ปรึ ก ษาปั ญ หาความผิ ด ปกติ ท างอารมณ์ หรื อ ไปพบผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นสุ ข ภาพและจิ ต แพทย์ ทั น ที โดยเฉพาะเมื่อพบว่าตนเองมีอาการหูแว่ว คิดฆ่าตัวตายบ่อยครั้ง หรือสงสัยว่าตนเองป่วยเป็นโรคซึมเศร้า การดูแลสุขภาพกายใจให้พ้นจากภาวะซึมเศร้าด้วยตนเอง 1. ออกกาลังกาย การออกกาลังกายด้วยการเดิน การวิ่ง หรือการทากิจกรรมอื่น ๆ ช่วยกระตุ้นให้ร่างกายหลั่ง สารเอนดอร์ฟิน (Endorphins) ซึ่งเป็นฮอร์โมนแห่งความสุข และอาจส่งผลดีต่อผูท้ ่มี ีอาการซึมเศร้าในระยะยาว 2. นอนหลับในระยะเวลาที่เหมาะสม 3. ฝึกเป็นคนคิดบวก ผู้ท่ีมีอาการซึมเศร้ามักมีความคิดด้านลบตลอดเวลา ดังนั้น ควรปรับชีวิตให้คิดในแง่ดีเมื่อ รู้สึกแย่กับตนเอง ทบทวนสิ่งที่เกิดขึ้นว่าตนไม่ดีจริงหรือ หรือมีข้อผิดพลาดตรงไหนที่แก้ไขได้ และแม้ว่าการฝึกเป็น คนคิดบวกอาจต้องใช้เวลา แต่การปรับชีวิตให้คิดแต่สิ่งที่ดีจะช่วยขจัดความคิดในแง่ลบหรือการมองโลกในแง่ร้าย ออกไปได้ในที่สุด 4. สร้ า งกิ จวั ตรประจาวั น อารมณ์ เครี ย ดหรื อ ซึ ม เศร้ าอาจท าให้ ก ารท างาน และการท ากิจ กรรมต่ า ง ๆ ใน ชีวิตประจาวันแย่ลง ซึ่งการกาหนดกิจวัตรในแต่ละวันจะช่วยให้มีสติและพัฒนาอารมณ์ให้ดีขนึ้ ได้ 5. ก าหนดเป้ า หมาย ผู้ ท่ี อ ยู่ ใ นภาวะซึ ม เศร้ า มั ก รู้ สึ ก ท้อ แท้ กั บ ชี วิ ต และรู้สึ ก แย่ ต่ อ ตั ว เอง ดั ง นั้ น การกาหนด เป้าหมายเชิงบวกในแต่ละวันจะช่วยให้รู้สึกดีขึน้ เมื่อทาตามเป้าหมายจนสาเร็จลุล่วง 6. พัฒนาความรับผิดชอบ ภาวะซึมเศร้าอาจทาให้ความรับผิดชอบต่อการทางานและภาระหน้าที่ต่าง ๆ ลดลงได้ การฝึกตนเองให้ เป็นคนมีความรับ ผิดชอบจึงจะช่วยเสริมสร้างรูป แบบการดาเนินชีวิตที่ดีและอาจช่วยป้อ งกันการเกิดภาวะซึมเศร้าในอนาคตได้ เนื่องจากการรับผิดชอบหน้าที่ตา่ ง ๆ จะช่วยให้รู้สึกดีเมื่อทางานต่าง ๆ บรรลุผลสาเร็จ 7. ทาอะไรใหม่ ๆ หลายคนมักจะรู้สกึ หดหู่และอ่อนไหวง่ายเมื่ออยู่ในภาวะซึมเศร้า จึงควรออกไปหากิจกรรมใหม่ ๆ ทาเพื่อเปิดหู เปิดตา เช่น ไปเยี่ยมชมสถานที่ใหม่ ๆ หรือเรียนรู้ภาษาใหม่ ๆ เพื่อดึงความสนใจจากอารมณ์ด้านลบไม่ให้มีอาการแย่ลง 8. สร้างปฏิสัมพันธ์และออกไปพบปะผู้ค น กาลังใจที่ดีจากเพื่อ นร่วมงาน เพื่อ น และครอบครัวทาให้รู้สึกดีและสบายใจขึ้น นอกจากนี้ การทากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับเพื่อนยังช่วยทาให้รู้สึกผ่อนคลายจากความเครียดได้ด้วย 9. ช่วยเหลือผู้อ่นื การเป็นอาสาสมัครหรือทากิจกรรมเพื่อช่วยเหลือสังคมอาจช่วยฟื้นฟูสภาพอารมณ์ให้กลับมาเป็นปกติได้ โดย ช่วยให้เห็นคุณค่าในตนเองจากการช่วยเหลือผู้อื่น แต่หากไม่มีเวลามากพออาจช่วยเหลือผู้คนด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น ช่วยเด็กข้ามถนน เอือ้ เฟื้อต่อคนพิการและคนชรา ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานตามเหมาะสม เป็นต้น 10. ยอมรับในสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ สถานการณ์หรือเหตุการณ์บางอย่างอาจเป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลงได้ยาก ดังนัน้ ควรทาความ เข้าใจและยอมรับในสิ่งที่เป็น โดยจดจ่ออยู่กับสิ่งที่สามารถแก้ไขได้แทน 11. ปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอ หากเกิดปัญหาทางอารมณ์ที่ไม่สามารถควบคุมได้ มีความทุกข์หรือมีข้อสงสัยใด ๆ ควรปรึกษา แพทย์เพื่อหาแนวทางรักษาอาการอย่างเหมาะสมต่อไป นอกจากนี้ แม้มีหลักฐานว่าอาหารเสริมบางชนิดช่วยต้านภาวะซึมเศร้าได้ เช่น น้ามันตับ ปลา และกรดโฟลิค แต่ค วรปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทานอาหารเสริมใด ๆ เพื่อรักษาภาวะซึมเศร้า เนื่อ งจากใน ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานการทดลองที่ชัดเจนเพียงพอในด้านนี้ และด้วยความแตกต่างทางสุขภาพของแต่ละบุคคล สารบางอย่างจึง อาจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้แม้รับประทานในปริมาณปกติก็ตาม BURNOUT SYNDROME https://www.youtube.com/watch?v=_1r- qdZjDPk ใบงานที่ 1 1. BURNOUT SYNDROME คืออะไร 2. คนกลุ่มอายุใด BURNOUT มากที่สุด และกลุ่มอายุใด BURNOUT น้อยที่สุด 3. BURNOUT มีอาการอย่างไร 4. วิธีการจัดการกับ BURNOUT ในวัยทางาน 5. งานอะไรหรือภาวะใดที่ส่งผลให้เกิด BURNOUT ได้ ยกตัวงานมาอย่างน้อย 3 งาน 6. BURNOUT มีกี่ระยะ อะไรบ้าง 7. จงบอกอาการแต่ละด้านของ BURNOUT อาการทางด้านอารมณ์ อาการทางด้าน ความคิด อาการทางด้านพฤติกรรม 8. หากพบว่าตัว นศ. เอง มีปัญหาภาวะ BURNOUT จากการเรียน นศ. จะจัดการ กับภาวะนั้นอย่างไร