เอกสารทบทวนความรู้_สอบปลายภาคต้น__ปีการศึกษา_2567.pdf

Full Transcript

1 เอกสารทบทวนความรู สอบปลายภาคตน ปการศึกษา 2567 วิชาเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม Microsoft Excel เปนโปรแกรมทางดานตารางคำนวณ หรือเร...

1 เอกสารทบทวนความรู สอบปลายภาคตน ปการศึกษา 2567 วิชาเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม Microsoft Excel เปนโปรแกรมทางดานตารางคำนวณ หรือเรียกวา สเปรดชีต (Spreadsheet) มีความสามารถในดานการสรางตาราง การคำนวณ การวิเคราะห การออก รายงานในรูปแบบตารางและกราฟ ชองตารางแตละชองจะมีชื่อประจำแตละชอง ทำใหงายตอการ ปอนขอมูล การแกไขขอมูล สะดวกตอการคำนวณและการนำขอมูลไปประยุกตใช สามารถจัด ขอมูลตาง ๆ ไดอยางเปนหมวดหมูและเปนระเบียบมากยิ่งขึ้น การทำงานของโปรแกรมใชตารางตามแนวตั้ง (Column)และแนวนอน(Row) สามารถใสขอมูล ตางๆ ลงไปใน Cell ได และ คำนวณสูตรตางๆได ขอดีของการใช Microsoft Excel Online -มีบริการจาก Microsoft -สามารถทำงานเปนทีมได สามารถแชรงานไดแกไขแบบเรียลไทม -ไมตองกดบันทึก ทุกการพิมพจะถูก บันทึกไวทั้งหมดแบบอัตโนมัติ -ทำงานรวมกับ Microsoft Excel สามารถเปด แกไข และบันทึกเปนไฟล Microsoft Excel ได 2 การใชงานพื้นฐาน การสรางตาราง - ใชเมาสบวกสีขาวลากคลุมขอมูลที่จะสรางตาราง เลือกคำสั่ง Borders เลือกคำสัง่ All Borders เพื่อ เลือกสรางตาราง -การใสสีใหตาราง เลือกคำสัง่ Borders > Line Color เลือกสีตามตองการ และกดเลือกคำสัง่ All Borders 3 - การใสรูปแบบเสน เชน เสนประ เสนหนา เลือกคำสัง่ Borders > Line Style เลือกรูปแบบ เสนที่ตอ งการ และกดเลือกคำสั่งAll Borders การเรียงขอมูลตอเนื่องอัตโนมัติ เพื่อสะดวกตอการใชงาน แคพิมพขอความเริ่มตนแลวนำเมาสไป ที่มุมขวาลางของเซลลนั้น ใหเปนสีดำแลวคลิกเมาสคางลงหรือไปทางขวา ที่นิยมใช มีดังนี้ เรียงตัวเลข ตัวเลขอาราบิก ตัวเลขไทย (ตองพิมพ 1 และ 2 ) แลวบวกดำที่มุมขวาลาง หรือ พิมพ 1 แลวกดปุม ctrl แลวกดบวกดำลากลง เรียงวัน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในรูปแบบตาง ๆ เชน จันทร จ. Monday mon เรียงเดือน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในรูปแบบตาง ๆ เชน มกราคม ม.ค. January jan และเรียงวันที่ สูตรคูณ เปนตน เครื่องหมายทางคณิตศาสตรที่ใชในการคำนวณ พิมพเองเหมือนใชเครื่องคิดเลข แสดงสูตรใน ชอง Formula bar ตองใสเครื่องหมายเทากับ เครื่องหมาย + (บวก) เชน = A1+A2 เครื่องหมาย - (ลบ) เชน = B5-F5 เครื่องหมาย * (คูณ) เชน = E8*A3 เครื่องหมาย / (หาร) เชน = D5/D1 4 ฟงกชันพื้นฐานที่ควรรูจัก sum ฟงกชันสำหรับการหาผลรวมของกลุมตัวเลขที่กำหนด max ฟงกชันสำหรับการหาคามากที่สุดในกลุมขอมูลที่กำหนด min ฟงกชันสำหรับการหาคานอยที่สดุ ในกลุม ขอมูลทีก่ ำหนด average ฟงกชนั สำหรับการหาคาเฉลี่ยของกลุมขอมูลที่กำหนด ฟงกชัน IF ฟงกชัน if แปลภาษาไทยก็คอื “ถา” เปนสูตรที่ใชในการตรวจสอบเงื่อนไขตามที่เรากำหนด =IF(logical_test,[value_if_true],[value_if_false]) =IF(สิ่งที่จะใหตรวจ,ถาเปนจริงจะใหแสดงอะไร,ถาเปนเท็จจะใหแสดงอะไร) การใชฟงกชัน IF คำนวณเกรด ถาไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 80 ไดเกรด A ถาไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 70 ไดเกรด B ถาไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 60 ไดเกรด C ถาไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 50 ไดเกรด D ถาไดคะแนนนอยกวา 50 ไดเกรด F =IF(B2>=80,"A",IF(B2>=70,"B",IF(B2>=60,"C",IF(B2>=50,"D","F")))) ***จะใชเครื่องหมาย >= แทนมากกวาหรือเทากับ ฟงกชัน COUNTIF ใช COUNTIF ซึง่ เปนหนึ่งใน ฟงกชนั ทางสถิติ เพื่อนับจำนวนของเซลลทตี่ รงตามเกณฑ เชน ตองการนับจำนวนนักเรียนที่ไดเกรด A =COUNTIF(ตองการคนหาที่ใด,ตองการคนหาอะไร) เชน =COUNTIF(A2:A5,"A") 5 ตัวอยางงาน รูปแบบการโจมตีของอาชญากรรมทางอินเทอรเน็ต แฮกเกอร (Hacker) Hacker คือผูที่มีความรอบรูในระบบคอมพิวเตอร สามารถเขาใจและหาขอผิดพลาด และ ทำการศึกษาเพื่อหาชองโหวในระบบคอมพิวเตอร เพื่อทำความเสียหายใหกับระบบ ขอมูล และ ทรัพยสินอันมีคาของผูใชงานบนโลกออนไลน เชน กระจาย virus , spyware หรือการเรียกคาไถ **มีทั้งแฮกเกอรที่ดี และไมดี ฟชชิ่ง (Phishing) คืออันตรายทางอินเทอรเน็ต มักจะมาใน รูปแบบการปลอมแปลงอีเมลขอความ เว็บไซตธนาคาร หรือ การเขามาพูดคุย ซึ่งมักจะแตกตางจากของจริง มีการเปลี่ยนชื่อในลิงกเพียงเล็กนอยทำใหเรา ไมสังเกต เพื่อหลอกใหเราเปดเผยขอมูลทางดานการเงิน หรือขอมูล สวนตัวตาง ๆ เชน Passport , หมายเลขบัตรเครดิต , หมายเลขบัตร ประชาชน เปนตน 6 สแปม (Spam) คือการสงอีเมลหรือขอความโดยไมได รับอนุญาตจากผูรับ สวนใหญทําเพื่อ การโฆษณาเชิง พาณิชยมักจะเปนสินคา บริการ หรือ งาน ที่อาจจะเขาขายผิด กฎหมาย ซึ่งจะกอความรําคาญ ใหกับผูที่ไดรับ ไวรัส (Virus) คือโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ถูกออกแบบมา ใหมีคุณสมบัตินําตนเองไปติด หรือ ทําสําเนากับไฟลใน คอมพิวเตอรและ จะเผยแพรกระจายไปติดไฟลอื่น จะทําลายไฟลคอมพิวเตอรซอฟตแวร หรือ ฮารดแวรของคอมพิวเตอรเครื่องนั้นขึ้นอยูกับจุดประสงค ของไวรัสตัวนั้นๆ โทรจัน (Trojan) คือโปรแกรมจำพวกหนึ่งที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแอบแฝง กระทำการบางอยาง ในเครื่องของเรา จากผูที่ไมหวังดี โทรจันจะถูกแนบมากับ อีเมล หรือโปรแกรมที่มีใหดาวนโหลดตามอินเทอรเน็ต และสามารถเขามาในเครื่องของเรา อาการเชนโดนควบคุมเครือขายคอมพิวเตอรของคุณ (เขา Internet ไมได) เขาโปรแกรมหรือไฟลไมได โดนขโมยขอมูล แนวทางการปองกันอาชญากรรมทางอินเทอรเน็ต 1. ควรลงทะเบียนกอนใชงาน (Sign up) 2. ควรเปลี่ยนรหัสผานทุก 3 เดือน 3. ควรกําหนดสถานะ ในสื่อสังคมออนไลนเปนสวนตัว 4. การไมเผยแพรรูปที่ไมเหมาะสมของตนเอง 5. ไมควรเปดเผยตําแหนงที่ตั้ง 6. ติดตั้งระบบปองกันไวรัส 7. ไมควรดาวนโหลดโปรแกรมหรือขอมูลจากเว็บไซตที่ไมนาเชื่อถือ 8. ควรใสรหัสปองกันขอมูลสําคัญ 9. ควรทําการสํารองขอมูล 10. ปรับปรุงโปรแกรมและระบบปฏิบัติการใหทันสมัยอยูเสมอ 7 11. เลือกใชเว็บไซตที่มีความนาเชื่อถือปลอดภัยใน การแลกเปลี่ยนขอมูล 12. ระมัดระวังการพูดคุยสื่อสารอยาหลงเชื่อขอมูลโดยงาย เพื่อปองกันมิจฉาชีพ อันตรายจากการติดตั้งซอฟตแวรที่อยูบนอินเทอรเน็ต มิจฉาชีพจะฝงมัลแวรไวกับซอฟตแวรเถื่อน เมื่อผูใชงานดาวนโหลดลงมา และ เรียกใชงาน จะทําใหมัลแวร แพรกระจายไป ทําใหเกิดอันตรายตอระบบคอมพิวเตอร เชน คอมพิวเตอรจะติด ไวรัสหรือมัลแวรได อาจถูกขโมยขอมูลสวนตัว ทําลายระบบคอมพิวเตอร อาจจะเปนพาหะใหไป ติดยังเครื่องคอมพิวเตอรอื่นๆ อาจถูกนําไปใชกออาชญากรรมทางอินเทอรเน็ต แนวทางการปองกันการติดตั้งซอฟตแวร ที่อยูบนอินเทอรเน็ต 1. ดาวนโหลดจากแหลงที่มาที่นาเชื่อถือได 2.ดาวนโหลดจากเว็บไซตที่มีระบบรักษาความปลอดภัย ไมควรดาวนโหลดซอฟตแวรละเมิด ลิขสิทธิ์ การสำรองขอมูล (Backup) การคัดลอกขอมูลที่สำคัญไปเก็บไวอีกที่หนึ่ง เพื่อทำเสำเนาเมื่อขอมูลตนฉบับสูญหาย หรือถูก ทำลาย จะสามารถกูคืนจากขอมูลที่สำรองไวได เชน แฟลชไดรฟ(Flash Drive), ฮารดดิส (Harddisk), การดหนวยความจำ(Memory Card), คลาวด(Cloud) 1. การจัดเก็บขอมูลผานอุปกรณ ฮารดแวร เชน ฮารดดิสก (Harddisk), ฮารดดิสกแบบพกพา (External Harddisk), แฟลชไดรฟ (Flash Drive), การดหนวยความจำ (Memory Card) ฯลฯ สามารถจัดเก็บขอมูลโดยการเสียบเขากับ คอมพิวเตอร มือถือ หรือกลองถายรูป เพื่อโอนถายขอมูลมาไวในอุปกรณเหลานี้ ขอดีและขอเสียของการสำรองขอมูลผานอุปกรณ ฮารดแวร ขอดี ไมตองใชอินเทอรเน็ตในการสำรอง โอนถายขอมูล โอนยายขอมูลไดงาย โดยการเชื่อมตออุปกรณ หลักเขากับอุปกรณเก็บขอมูล ซื้อครั้งเดียวสามารถใชงานไดจนกวาจะพัง 8 ขอเสีย มีโอกาสที่ขอมูลเสียหายจากการติดมัลแวร(ไวรัส) ถาอุปกรณหายหรือพัง ขอมูลก็จะหายไปดวย ถาพอรตการเชื่อมตอไมแนน ทำใหไฟลไมครบถวนหรือเสียหายได 2. การจัดเก็บขอมูลบน คลาวด (Cloud) เทคโนโลยีการจัดเก็บขอมูลที่เสมือนเก็บขอมูลไวบนเมฆลองลอยไปไดทุกแหงหน สามารถจัดเก็บ ไฟลและเขาถึงไฟลจากทีต่ า งๆ ผานระบบอินเทอรเน็ต ซึ่งใชผานอุปกรณไดหลายชนิด เชน คอมพิวเตอร แท็บเล็ต ไอแพด สมารทโฟน เปนตน ขอดีและขอเสียของการสำรองขอมูลบน คลาวด (Cloud) ขอดี สามารถเขาถึงขอมูลที่สำรองไวไดงาย รวมถึงการแชรใหผูอื่น สามารถเปดไดจากอุปกรณใด ๆ ก็ได ที่รองรับ มีใหใชงานฟรี 15 GB หรือราคาเริ่มตนไมแพงจนเกินไป (ขึ้นอยูกับผูใหบริการดวย) ผู ใหบริการมีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูล ขอเสีย ไมมีอินเทอรเน็ต ก็ไมสามารถเขาถึงขอมูลได ตองจำชื่อผูใชและรหัสผานใหได หากตองการพื้นที่ จำนวนมาก ตองเสียคาใชจายเพิ่มเติม ไฟลขอมูลอาจถูกแกไขหรือเปลี่ยนแปลงโดยผูอื่น 9 ลิขสิทธิ์ Copyright หมายถึง สิทธิแตเพียงผูเดียวที่จะกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผูสรางสรรคไดริเริ่มโดยการใช สติปญญาความรู ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสรางสรรค โดยไมลอก เลียนงานของผูอื่น โดยงานที่สรางสรรคตองเปนงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ใหคุมครอง โดยผูสรางสรรคจะไดรับความคุมครองทันทีที่สรางสรรคโดยไมตองจดทะเบียน ประเภทของลิขสิทธิ์ 9 ประเภท 1. งานวรรณกรรม ไดแก หนังสือ บทความ สิ่งเขียน สิ่งพิมพ คำปราศรัย โปรแกรมคอมพิวเตอร 2. งานนาฏกรรม ไดแก งานเกี่ยวกับการรำ การเตน การทำทา หรือการแสดงที่ประกอบขึ้นเปน เรื่องราว การแสดงโดยวิธีใบ 3. งานศิลปกรรม ไดแก งานภาพเขียน ภาพวาด ภาพพิมพ งานปน งานสถาปตยกรรม ภาพถาย ภาพประกอบ หรืองานสรางสรรครูปทรงสามมิติ 4. งานดนตรีกรรม ไดแก คำรอง ทำนอง การเรียบเรียงเสียงประสานรวมถึงโนตเพลงที่ไดแยกและ เรียบเรียงเสียงประสานแลว 5. งานโสตทัศนวัสดุ ไดแก สิ่งสำหรับบันทึกเสียงหรือภาพ ที่เราสามารถนำมาเลนซ้ำโดยใช อุปกรณที่สามารถอานสิ่งนั้นได เชน ซีดี ดีวีดี blueray เปนตน 6. งานภาพยนตร ไดแก ภาพยนตร รวมทั้งเสียงประกอบของภาพยนตรนั้นดวย 7. งานสิ่งบันทึกเสียง ไดแก เทปหรือซีดีที่มีการบันทึกเสียงไว (ไมรวมถึงเสียงประกอบภาพยนตร หรือเสียงประกอบโสตทัศนวัสดุอยางอื่น 8. งานแพรเสียงแพรภาพ ไดแก รายการวิทยุ รายการโทรทัศน การ Live Streaming 9. งานอื่นใดอันเปนงานที่นอกเหลือจาก 8 ประเภท เชน แผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร เปน ตน

Use Quizgecko on...
Browser
Browser