บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดสำหรับการควบคุมคุณภาพ PDF

Summary

เอกสารนี้กล่าวถึงความหมายและแนวคิดของคุณภาพ, วิวัฒนาการของคุณภาพ, ความหมายในมิติต่างๆ ของคุณภาพ,และแนวความคิดการควบคุมคุณภาพ. โดยมีการอธิบายและยกตัวอย่างจากผู้เชี่ยวชาญในด้านคุณภาพ

Full Transcript

บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของคุณภาพ เนื้อหาทีเ่ รียน ▪ความหมายของคุณภาพ ▪วิวฒ ั นาการของคุณภาพ ▪ความหมายของคุณภาพมิตติ ่ างๆ ▪แนวความคิดการควบคุมคุณภาพ ความหมายของคุณภาพ ▪ ได้ขนานนามว่าเป็ นบิดาแห่งการควบคุมคุณภาพ โดยวิธีทาง...

บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของคุณภาพ เนื้อหาทีเ่ รียน ▪ความหมายของคุณภาพ ▪วิวฒ ั นาการของคุณภาพ ▪ความหมายของคุณภาพมิตติ ่ างๆ ▪แนวความคิดการควบคุมคุณภาพ ความหมายของคุณภาพ ▪ ได้ขนานนามว่าเป็ นบิดาแห่งการควบคุมคุณภาพ โดยวิธีทาง สถิติ (Statistical Quality Control) ▪ เครื่ องมือที่สาคัญ ได้แก่ แผนภูมิควบคุม (Shewhart’s Control Chart) และวิธีสุ่มตัวอย่าง (Sampling) เพื่อตรวจสอบคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ ▪ โดยได้กาหนดคุณภาพ 2 ลักษณะคือ ความแตกต่างของ ผลิตภัณฑ์โดยธรรมชาติ และผิดธรรมชาติ Walter Andrew Shewhart ความหมายของคุณภาพ ▪ เทคนิคทางสถิติมาพัฒนาคุณภาพและประยุกต์ใช้ควบคู่กบั การ พัฒนาจิตสานึ กด้านคุณภาพให้กบั คนในองค์กร และสามารถ เพิ่มผลผลิ ต ลดต้น ทุน และยกระดับคุ ณภาพของผลผลิ ตใน ประเทศญี่ปุ่น สาหรับผลงานที่สาคัญคือ บัญญัติหลักการบริ หารคุณภาพ 14 ข้อ ▪ 1) สร้างปณิ ธานอันมุ่งมัน่ และแน่วแน่ในการปรับปรุ งคุณภาพทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาวอย่างชัดเจน William Edwards Deming ▪ 2) ยอมรับปรัชญาใหม่ของการบริ หารคุณภาพ ▪ 3) ยุติการควบคุมคุณภาพโดยอาศัยการตรวจสอบ ความหมายของคุณภาพ (ต่ อ) ▪ 4) ยุติวิธีการดาเนินธุรกิจโดยการตัดสิ นที่ราคาเพียงอย่างเดียว ▪ 5) จงปรับปรุ งกระบวนการผลิตและให้บริ การอย่างต่อเนื่อง โดย การใช้วฏั จักรเด็มมิ่ง ▪ 6) ทาการฝึ กอบรมอย่างสม่าเสมอให้แก่พนักงานทุกคน ▪ 7) สร้างภาวะผูน้ าให้เกิดขึ้นด้วยการพัฒนาให้พนักงานเป็ นผูน้ า ตนเองให้ได้ William Edwards Deming ▪ 8) ขจัดความกลัวและสร้างบรรยากาศของการเรี ยนรู ้ ▪ 9) ทาลายการสิ่ งกีดขวางความร่ วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ ความหมายของคุณภาพ (ต่ อ) ▪ 10) กาจัดคาขวัญและเป้าหมายที่เป็ นสิ่ งสมมติ แต่ตอ้ งนามาลงมือ ปฏิบตั ิจริ ง ▪ 11) กาจัดจานวนโควตาที่เป็ นตัวเลขที่มุ่งเน้นที่ปริ มาณ ทาให้ พนักงานละเลยคุณภาพ ▪ 12) กาจัดสิ่ งกีดขวางความภูมิใจของพนักงาน โดยมอบรางวัลหรื อ คาชมเชยในการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ ▪ 13) จัดทาแผนฝึ กอบรมเพื่อรองรับการพัฒนาปรับปรุ งอย่างต่อเนื่อง William Edwards Deming ▪ 14) ลงมือปฏิบตั ิเพื่อให้บรรลุผลสาเร็ จของการเปลี่ยนแปลง ความหมายของคุณภาพ ▪ เน้นการใช้หลักการบริ หารปรับปรุ งคุณภาพ ▪ ผลงานที่โดดเด่นเป็ นการใช้แผนภาพพาเรโต (Pareto Chart) เพื่อ แสดงปัญหาหรื อสาเหตุสาคัญที่ส่งผลกระทบอย่างมากต่อองค์กร ▪ ได้รับการยกย่องว่าเป็ นผูอ้ ยูเ่ บื้องหลังความสาเร็ จของอุตสาหกรรม ญี่ปุ่น โดยได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพ ดังนี้ Joseph Moses Juran ความหมายของคุณภาพ (ต่ อ) 1) คุณภาพหมายถึง ความเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอยที่ผใู ้ ช้ ผลิตภัณฑ์หรื อผูร้ ับบริ การต้องการ (Fitness for use) 2) พนักงานเอาใจใส่ เสนองานที่มีคุณภาพต่อลูกค้าภายในเท่ากับ การเอาใจใส่ ระดับคุณภาพที่ลูกค้าภายนอก 3) ให้ความสาคัญกับการค้นหาปัญหาสาคัญเพียง 2-3 ปัญหา 4) การผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพต้องเกิดจากการตระหนักถึง ความสาคัญของคุณภาพของผูบ้ ริ หารระดับสู งตลอดจนความ ร่ วมมือของพนักงานทุกคนในองค์กร Joseph Moses Juran ความหมายของคุณภาพ ▪ นาหลักการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ และแผนภูมิควบคุมไปใช้ใน อุตสาหกรรมภายในประเทศญี่ปุ่น และได้นาแนวคิดในการ บริ หารคุณภาพปรับใช้ให้มีความสอดคล้องกับวัฒนธรรมการ ทางานของประเทศญี่ปุ่น ▪ ผลงานที่สาคัญ ได้แก่ 1) พัฒนาแผนผังแสดงเหตุและผล หรื อแผนผังก้างปลา 2) พัฒนากิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ (QCC) Kaoru Ishikawa 3) พัฒนาแนวคิดการควบคุมคุณภาพทัว่ ทั้งองค์กร ความหมายของคุณภาพ ▪ เป็ นผูน้ าแนวคิดสาคัญ “คุณภาพที่ดีตอ้ งเริ่ มต้นตั้งแต่การออกแบบ” พอสรุ ปออกมาได้ดงั นี้ 1) ความทนทานได้ของคุณภาพ (Quality Robust) 2) ต้นทุนความสู ญเสี ยด้านคุณภาพ (Quality Loss Function) 3) คุณภาพมุ่งตามเป้าหมาย (Target Oriented Quality) Genichi Taguchi ความหมายของคุณภาพ ▪ เป็ นผูเ้ สนอแนวคิดหลักเกี่ยวกับการบริ หารไว้วา่ “Doing It Right The First Time” ซึ่งมีแนวคิดประกอบดังนี้ 1) คุณภาพเป็ นเรื่ องที่ได้มาโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายเลย (Quality is Free) 2) สร้างนิยาม “คุณภาพ” คือ การทาได้ตามข้อกาหนด โดยยึดหลัก ความต้องการของลูกค้าหรื อผูใ้ ช้ 3) มุ่งเน้นวัฒนธรรมของเสี ยเป็ นศูนย์ (Zero Defect Culture) 4) ทาการตรวจวัดต้นทุนของคุณภาพทั้งหมด โดยเน้นการผผช Armand Vallin Feigenbaum ป้องกันความผิดพลาด วิวฒ ั นาการของคุณภาพ ยุคสมัย นิยาม วิธีการสาคัญของคุณภาพ 1. ก่อนการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ความสามารถในการทดแทนกันได้ แรงงานฝี มือ 2. หลังการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม การตรงต่อข้อกาหนด การตรวจสอบ 3. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การสร้างความพึงพอใจลูกค้า ระบบ TQC 4. โลกาภิวฒั น์ การสร้างความประทับใจต่อลูกค้า การปรับปรุ งคุณภาพ 5. อนาคต การสร้างความประทับใจอย่างเบ็ดเสร็ จ การพัฒนาคุณภาพ การควบคุมคุณภาพกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ▪ นิยาม คุณภาพ (Quality) หมายถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ทเี่ ป็ นไปตามความ ต้ องการของลูกค้ า รวมถึงการออกแบบให้ มีคุณสมบัติตามทีล่ ูกค้ าต้ องการ ▪ นิยาม การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) หมายถึงกิจกรรมหรื อผลรวมของ กิจกรรมต่ างๆ ทีจ่ ัดทาขึน้ เพื่อให้ ได้ คุณภาพผลิตภัณฑ์ ▪ นิยาม มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (Product Standard) หมายถึงข้ อกาหนดหรื อกฎเกณฑ์ เกีย่ วกับคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ การเก็บตัวอย่ าง วิธีทดสอบและเกณฑ์ การตัดสิ น ผลิตภัณฑ์ น้ันๆ ว่ าเป้ นไปตามทีก่ าหนดไว้ หรื อไม่ Quality & Standard Quality Quality Quality And Standard Standard Standard ความหมายของคุณภาพมิตติ ่ างๆ QI QM QP QA QC Quality Trilogy of Juran ความหมายของคุณภาพมิตติ ่ างๆ ▪ความหมายของคุณภาพมิตติ ่ างๆ Planning Control Control Improvement Sporadic Spike Chronic Waste Chronic Waste Juran Trilogy (Planning, Control, Improvement) ความสั มพันธ์ ระหว่ างสั ดส่ วนกระบวนการบริหาร คุณภาพกับพนักงานระดับต่ างๆ การวางแผนคุณภาพ (Quality Planning : QP) ▪ เป็ นภารกิจระดับกลยุทธ์ขององค์กรซึ่งประกอบด้วย 1) การศึกษาลูกค้าและความต้องการลูกค้า 2) การออกแบบผลิตภัณฑ์ พิจารณาถึงคุณภาพและความต้องการของลูกค้า 3) การวางแผนและออกแบบกระบวนการผลิต 4) การออกแบบและวางแผนกระบวนการตรวจสอบคุณภาพตลอดการผลิต การควบคุมคุณภาพ (Quality Control : QC) ▪ เป็ นภารกิจด้านคุณภาพขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในการตรวจสอบ ติดตาม วิเคราะห์ผลการตรวจระดับคุณภาพ ▪ หาวิธีการในการเพิ่มหรื อปรับปรุ งระดับคุณภาพของผลผลิตขององค์กร ▪ ลดความผันแปรของปัจจัยหรื อสภาพแวดล้อมต่างๆ ของกระบวนการผลิต การปรับปรุงคุณภาพ (Quality Improvement) ▪ เป็ นการปรับปรุ งคุณภาพก่อนกระบวนการผลิตหรื อไม่ได้ทาในระหว่างกระบวนการผลิต ดาเนินอยู่ ▪ เป็ นกิจกรรมที่มุ่งเน้นการลดความผันแปรต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ์โดยตรง ▪ การปรับปรุ งคุณภาพนั้นประกอบด้วย กระบวนการในการวิเคราะห์ผล การตรวจสอบคุณภาพ การวิเคราะห์สาเหตุหรื อปัจจัยที่เกิดขึ้น เพื่อหาข้อสรุ ปเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพ การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) ▪ เป็ นการดาเนินงานด้านคุณภาพในระดับนโยบายขององค์กร ▪ สร้างความเชื่อมัน่ ในคุณภาพสิ นค้าที่ผลิตให้เป็ นไปตามแผนงานด้านคุณภาพทีว่ างไว้ ▪ กาหนดกระบวนการมาตรฐาน (Work Procedure) และขั้นตอนการปฏิบตั ิงานมาตรฐาน (Work Instruction) ขององค์กร แนวความคิดการควบคุมคุณภาพ ▪ PDCA เป็ นแนวคิดที่เน้นให้การดาเนินงานอย่างเป็ นระบบมีเป้าหมายให้เกิดการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ▪ พัฒนาขึ้นเป็ นคนแรกโดย Walter Andrew Shewhart ได้อธิบายไว้ในหนังสื อ Statistical Methods from the Viewpoint of Quality Control ▪ ปรมาจารย์ดา้ นบริ หารคุณภาพ William Edwards Deming ได้นามาเผยแพร่ ในประเทศ ญี่ปุ่นเป็ นเครื่ องมือสาหรับการปรับปรุ งกระบวนการและเป็ นที่นิยมจนถึงปัจจุบนั เรี ยก วงจรนี้วา่ “Deming Cycle” แนวความคิดการควบคุมคุณภาพ (ต่ อ) ▪ SDCA เป็ นแนวคิดที่เน้นการสร้างมาตรฐานงานและมาตรฐานการควบคุมให้สอดคล้องกับ มาตรฐานและเกณฑ์ที่กาหนด ▪ เป็ นกระบวนการที่ใช้เมื่อรู ้วา่ ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐานที่กาหนดไว้ ▪ การนา SDCA มาใช้ตอ้ งเรี ยนรู ้และทาความเข้าใจมาตรฐานของลูกค้าทั้งภายในและ ภายนอก แนวความคิดการควบคุมคุณภาพ (ต่ อ) SDCA & PDCA Cycle