กรณีศึกษาองค์กรจิตอาสาสิ่งแวดล้อมในประเทศและต่างประเทศ (บทที่ 3) PDF
Document Details
Uploaded by LavishOnyx4014
Mahasarakham University
2567
Tags
Summary
เอกสารนี้เป็นบทคัดย่อของกรณีศึกษาองค์กรจิตอาสาสิ่งแวดล้อมในประเทศและต่างประเทศ บทที่ 3 กล่าวถึงวัตถุประสงค์ การจัดทำสารบัญ และเนื้อหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
Full Transcript
บทที่ 3 กรณีศึกษาองค์กรจิตอาสาสิ่งแวดล้อม ในประเทศและต่างประเทศ Objectives วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ทาให้ทราบ บุคคล กลุ่ม องค์กร เครือข่ายที่มีบทบาทและทางานด้าน จิตอาสาสิ่งแวดล้อม ทาให้ทราบ พัฒนาการ รูปแบบ แนวทาง วิธีการของการทางานจิต อาสาสิ่งแวดล้อม Table of Con...
บทที่ 3 กรณีศึกษาองค์กรจิตอาสาสิ่งแวดล้อม ในประเทศและต่างประเทศ Objectives วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ทาให้ทราบ บุคคล กลุ่ม องค์กร เครือข่ายที่มีบทบาทและทางานด้าน จิตอาสาสิ่งแวดล้อม ทาให้ทราบ พัฒนาการ รูปแบบ แนวทาง วิธีการของการทางานจิต อาสาสิ่งแวดล้อม Table of Contents บริบทพื้นฐานทาง 01 สังคมในแต่ละประเทศ รูปแบบและกิจกรรม 03 จิตอาสา ความหมายและ 02 พัฒนาการของจิตอาสา 04 บทสรุปภาพรวม วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ทาให้ทราบ บุคคล กลุ่ม องค์กร เครือข่ายที่มีบทบาทและทางานด้าน จิตอาสาสิ่งแวดล้อม ทาให้ทราบ พัฒนาการ รูปแบบ แนวทาง วิธีการของการทางานจิต อาสาสิ่งแวดล้อม องค ์กรจิตอาสา/เครือข่ายจิตอาสา เนื่องจากเหตุการณ์ประสบภัยครั้งใหญ่ - ก่อให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างองค์กรภาครัฐภาคเอกชนภาคประชาสังคม ต่างๆ - จุดเริ่มต้นของกระแสการเป็นอาสาสมัครซึ่งเป็นการช่วยเหลือซึ่งกัน - องค์กรต่างๆได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในด้านงานอาสาสมัคร - มีการช่วยเหลือผู้คนที่อ่อนแอทั่วโลก - มีการร่วมมือกันเป็น เครือข่ายจิตอาสาเพื่อให้กระแสอาสาสมัครใน สังคมไทยนั้น เป็นไปอย่าง มั่นคงและยั่งยืน เหตุการณ์สน ึ ามิ ปี 2547 เหตุการณ์น้ าท่วมใหญ่ ปี 2554 ่ องค ์กรจิตอาสาสิงแวดล้ อมในประเทศไทย องค์กรจิตอาสาสิ่งแวดล้อมภาครัฐ ทสม.อาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานที่สนับสนุนนโยบาย จากมติ ครม. โดยปี 2545 ดาเนินกิจกรรมในรูปแบบ “เครือข่าย อาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม (อสว) และปรับเปลี่ยนเป็น “เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมู่บ้าน” หรือ “เครือข่าย ทสม.” ในปี 2549 ่ องค ์กรจิตอาสาสิงแวดล้ อมในประเทศไทย องค์กรจิตอาสาสิ่งแวดล้อมภาครัฐ ทสม.อาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - พ.ศ. 2558 จึงมีประกาศใช้ “ระเบียบว่าด้วยอาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน พ.ศ.2558 - พ.ศ.2559 นับเป็นอย่างก้าวย่างที่สาคัญ ขับเคลื่อนพลัง ทสม. สืบ สานพระราชปณิธานในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งต่อความมั่นคง มั่งคั่งยังยืน ให้กับคนรุ่นหลังสืบต่อไป ความหมาย ทสม.คือ บุคคลในท้องถิ่น หรือ หมู่บ้าน หรือชุมชนที่มีความสนใจ มีการ แสวงหาความรู้ และประสบการณ์ มีความเสียสละและอุทิศตัวในการ ทางานด้านการอนุรักษ์ สงวน คุ้มครอง และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองอย่างยั่งยืน ปรัชญาพื้นฐานในการดาเนินการ คือ 1. การดาเนินการที่อยู่บนพื้นฐานความต้องการจากชุมชน 2. ชุมชนต้องมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติทุก ขั้นตอน 3. ชุมชนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของ 4. เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจากการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของชุมชน 5. ยึดหลักธรรมาภิบาลในการดาเนินงาน บทบาท ผู้นาการเปลี่ ยนแปลงด้า นการบริ หารจัด การทรัพ ยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ การเฝูาระวังปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ง แวดล้ อ ม รวมทั้ง มี กระบวนการสร้ า งจิ ตส านึ ก ในการอนุ รัก ษ์แ ละ รั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ กั บ ประชาชนและ กลุ่ ม เปู า หมาย เกิ ด ความรู้ สึ ก เป็ น เจ้ า ของหวงแหน บ ารุ ง รั ก ษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นตนเองให้คงอยู่ในสภาพ สมบูรณ์ได้อย่างยั่งยืน ภาพที่ 3.1 ทส จัดกิจกรรมร่วมกับ ทสม ประชาชนจิตอาสา เฝ้าระวังไฟป่า ลดหมอก ควัน ทีจ่ ังหวัดเชียงใหม่ ภาพที่ 3.3 ทสม.จ.ชัยนาท ร่วมกับ ทสจ.ชัยนาท ออกบูธ นิทรรศการ การจัดการขยะมูลฝอย การตรวจวัดคุณภาพน้า การจัดการปุาชุมชนพืช สมุนไพรและพันธุ์ไม้ วันสิ่งแวดล้อมไทย 2558 ภาพที่ 3.4 เครือข่าย ทสจ.สมุทรสงคราม และเครือข่าย ทสม.จ.สมุทรสงคราม ร่วมกัน จัดกิจกรรมนั่งเรือเก็บขยะในคลองอัมพวา ภาพที่ 3.5 ทสม.จ.ตราด และ ทสจ.ตราด ร่วมปล่อย พันธุ์สัตว์น้าลงสู่คลองบางพระ และฟื้นฟูคุณภาพน้าด้วยน้าหมัก อี.เอ็ม.และจุลินทรียบ์ อล ่ องค ์กรจิตอาสาสิงแวดล้ อมในประเทศไทย องค์กรจิตอาสาสิ่งแวดล้อมภาคเอกชน 1.มูลนิธิการศึกษาเพื่อโลกสีเขียว (กศข.) Green World Education Foundation (GreenWEF) เป็ น องค์ กรพั ฒนาเอกชนต้ น แบบด้า นการจั ด การศึ ก ษาหลัก สู ต ร ท้องถิ่นแบบบูรณาการ ด้านการเกษตรอินทรีย์ พืชสมุนไพร การจัด การ ด้านสุข ภาพอนามั ยและสิ่ง แวดล้อ ม การส่ง เสริม อาชีพและการสร้า ง รายได้ แก่กลุ่มเด็ก เยาวชน สตรี ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน การสร้าง เครือข่ายความร่วมมือทั้งในระดับชุมชนและองค์กรสาธารณประโยชน์ - จัดกิจกรรมค่ายอาสา - เข้าถึงชุมชนในระดับรากหญ้า - สร้างเครือข่ายการตอบแทนคุณของแผ่นดินด้วยการจัด กิจ กรรมที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งงานเกษตรอินทรีย์และพืชสมุนไพร - ก่อตั้งมูลนิธิชื่อ”มูลนิธิการศึกษาเพื่อโลกสีเขียว(กศข.)”ขึ้นในที่สุด และ ได้รับการจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ ทะเบียนเลขที่ 2201 ลงวันที่ 16 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการจัดทาหลักสูตรท้องถิ่นแบบบูรณาการ 2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตรอินทรีย์ พืชสมุนไพร พื้นบ้าน ตลอดจนการจัดการด้านสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชน 3. เพื่อส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้เสริมให้กับกลุ่มเด็ก / เยาวชน กลุ่ม สตรีและผู้ด้อยโอกาสในชุมชน 4. เพื่อดาเนินการหรือร่วมมือกับองค์การการกุศล เพื่อการกุศลและ องค์การสาธารณประโยชน์ เพื่อสาธารณประโยชน์ ยุทธศาสตร์ 1. การจัดทาหลักสูตรท้องถิ่นแบบบูรณาการมี 5 กลยุทธ์ 1.1 เพิ่มขีดความสามารถผู้นาชุมชน / วิทยากรท้องถิ่น และครูผู้สอน 1.2 การจัดทาหลักสูตรท้องถิ่นแบบบูรณาการโดยผู้นาชุมชน/ ผู้ปกครอง/ผู้บริหารโรงเรียน/นักเรียน/วิทยากร 1.3 การจัดเก็บข้อมูลเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน 1.4 การจัดการความรู้ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน 1.5 การวัดผล / ประเมินผลหลังการใช้หลักสูตร ยุทธศาสตร์ 2. การจัดการความรู้มี 5 กลยุทธ์ 2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตรอินทรีย์ 2.2 ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการแปรรูปและการใช้ประโยชน์จากพืช สมุนไพร 2.3 ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการจัดการสุขภาพอนามัยในชุมชน 2.4 ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการสิ่งแวดล้อมในชุมชน 2.5 ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านอาชีพเสริมในชุมชน ยุทธศาสตร์ 3. ส่งเสริมการสร้างอาชีพและสร้างรายได้เสริมมี 3 กลยุทธ์ 3.1 สืบค้น / ค้นหาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาชีพที่เอื้อต่อบริบทในชุมชน 3.2 ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการผลิต / การแปรรูปจากเศษวัสดุ พื้นบ้าน 3.3 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการจัดการด้านการตลาด ยุทธศาสตร์ 4. เสริมสร้างขีดความสามารถในการพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชนและการ สร้างเครือข่ายองค์กรสาธารณประโยชน์มี ๒ กลยุทธ์ 4.1 ส่งเสริมและพัฒนาผู้นาชุมชน โดยผ่านกระบวนการประชุม/ อบรมและศึกษาดูงาน 4.2 สร้างเครือข่ายองค์กรเด็ก เยาวชน สตรี และผู้ด้อยโอกาสใน ชุมชน พื้นที่ปฏิบัติการ 1. พื้นที่หลักของมูลนิธิ ฯ / ศูนย์ ฯ สุรินทร์ 1.1 โครงการสร้างศูนย์การเรียนรู้เรื่องการอนุรักษ์ฟื้นฟูปุาชุมชน แบบบูรณาการ / แบบครบวงจร บ้านทวารไพร ตาบลเมือง ลีง อาเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ พื้นที่ปฏิบัติการ 2.พื้นที่ปฏิบัติการเครือข่าย ฯ อื่น ๆ 2.1 กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอ่างลาพอกและ โบราณสถาน (โครงการกระปุกแตกแยกขยะ/โครงการจัดการ สิ่งแวดล้อมอ่างลาพอก ) ตาบลยาง ตาบลกุดหวาย ตาบลระแงง อาเภอ ศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ พื้นที่ปฏิบัติการ 2.2 โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน อย่างยั่งยืน ตาบลเมืองแก ตาบลบัวโคก ตาบลหนองบัว อาเภอท่า ตูม จังหวัดสุรินทร์ 2.2.1 โครงการ “ล้านต้นคืนสู่ปุา” - กิจกรรม “ธนาคารต้นกล้า” “ธนาคารขวดแก้ว” 2.2.2 โครงการ “นักสืบลุ่มน้า/นักสืบผืนปุา” - กิจกรรม “ตรวจวัดคุณภาพน้า” - กิจกรรม “การสารวจและจัด จาแนกสิ่งมีชีวิต” อาเภอกาบเชิง อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ พื้นที่ปฏิบัติการ 2.3 ศูนย์การเรียนรู้ตามอัธยาศัยอาเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ 2.4 ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนบ้านโคกโกหมู่ที่ ๑ ตาบลมะขามล้ม อาเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี มีกิจกรรม สร้าง ฐานการเรียนรู้ 6 ฐาน ได้แก่ (1)ฐานพืชผักสวนครัว (2)ฐานนาข้าว อินทรีย์ (3)ฐานบ่อปลา (4)ฐานสมุนไพร (5)ฐานน้าส้มควันไม้ (6) ฐาน น้าหมักชีวภาพ พื้นที่ปฏิบัติการ 2.5 เครือข่ายชุมชนลุ่มน้าห้วยเสนง ครอบคลุมพื้นที่อาเภอเมือง อาเภอปราสาท อาเภอกาบเชิง อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ 2.6 โครงการภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ ตาบลเมืองลีง อาเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ ภาพที่ 3.7กิจกรรม โครงการอนุรกั ษ์ทรัพยากร ดินและปุา โดยมูลนิธิการศึกษาเพื่อโลกสีเขียว (วันที่ 21 สิงหาคม 2562) ่ องค ์กรจิตอาสาสิงแวดล้ อมในประเทศไทย องค์กรจิตอาสาสิ่งแวดล้อมภาคเอกชน 2 มูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเทศไทย ได้ดาเนินงานโครงการสิ่งแวดล้อมศึกษาและคิดค้น ต้นแบบศูนย์ศึกษาธรรมชาติ และการดาเนินงานที่เหมาะสมกับการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและสังคมไทย โดย WWF(World Wide Fund for Nature) ประเทศไทย ซึ่ง - เล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากร - ผลักดันการดาเนินงานสิ่งแวดล้อมศึกษาให้เป็นรูปธรรม - WWF ประเทศไทยได้ดาเนินการรวมศูนย์ศึกษาธรรมชาติ ทั้ง 3 ศูนย์ฯ - ขึ้นทะเบียนเป็นมูลนิธิเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.2554 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิ จกรรมด้านอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยและกลุ่ม ประเทศเพื่อนบ้าน ด้วยกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2. เพื่อจัดตั้งและสนับสนุ นการดาเนินงานศูนย์ศึกษาธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อ มและการใช้พลังงานอย่างยั่งยืน 3. เพื่อส่งเสริมงานการศึกษาการพัฒนาและฝึกอบรมเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อ ม รวมถึงการใช้พลังงานอย่างยั่งยืน 4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบอาชีพเกษตรกรรมหัตถกรรมอุตสาหกรรมที่เหมาะสม และ กิจกรรมการท่อ งเที่ย วเชิงนิ เวศที่เอื้อต่ อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อ ม 5. เพื่ออนุรักษ์และส่งเสริมภู มิปัญญาท้องถิ่น 6. ดาเนินการใดๆ ในการปูองกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติต่างๆ 7. เพื่อดาเนินการหรือร่ วมมือกับองค์กรการกุศลเพื่อการกุศลและองค์กรสาธารณประโยชน์เพื่อ สาธารณประโยชน์ การดาเนินงานของมูลนิธิ 1. บริหารจัดการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ 1.1 ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี 1.2 ศูนย์การเรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและความยั่งยืน “ชีว พนาเวศ” 1.3 ศูนย์การเรียนรู้โตโยต้าเมืองสีเขียว อยุธยา การดาเนินงานของมูลนิธิ 2. ดาเนินกิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการ สิ่งแวดล้อมศึกษา - กิจกรรมอนุรักษ์และฟื้นฟูปุาต้นน้า ปุาชายเลน ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง - กิจกรรมลดภาวะโลกร้อน การอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ที่สาคัญและใกล้ สูญพันธุ์ รวมถึงการปูองกันและรับมือภัยพิบัติต่างๆ การดาเนินงานของมูลนิธิ 3. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเกิดความ ร่วมมือในการจัดทากระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาตั้งแต่ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับประเทศ 4. ประสานความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรม CSR ของภาคธุรกิจ เอกชน ให้สอดคล้องกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา ในกลุ่มเยาวชน นักเรียน นิสิต นักศึกษา และชุมชน หลักสูตร กิจกรรม 1. ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี 2. ศูนย์การเรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและความยั่งยืน “ชีว พนาเวศ” 3. ศูนย์การเรียนรู้ โตโยต้าเมืองสีเขียว อยุธยา 4. ค่ายนักเรียนบูรณาการ เรียนรู้สิ่งแวดล้อม ทักษะทางสังคมและหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. โครงการโรงเรียนใหญ่ รอยเท้าเล็ก หลักสูตร กิจกรรม 6. โครงการค่ายเยาวชนอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. โครงการวิจัยเพื่องานด้านสิ่งแวดล้อม 8. โครงการศิลปะเพื่อสิ่งแวดล้อม 9. โครงการฟื้นฟูระบบนิเวศในโรงเรียน (โรงเรียนสีเขียว) 10. โครงการอนุรักษ์โลมาในอ่าวไทย 11. โครงการหลักสูตรสิ่งแวดล้อมโรงเรียนจิตรลดา หลักสูตร กิจกรรม 12. โครงการปลูกปุาและฟื้นฟูระบบนิเวศวังน้าเขียว นครราชสีมา (ศูนย์ ศึกษาธรรมชาติวังน้าเขียว) 13. ค่ายนักเรียนบูรณาการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม ทักษะทางสังคมและหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ส่วนขยายผล) 14. โครงการรถนิทรรศการเคลื่อนที่ 15. โครงการส่งน้องเข้าห้องเรียนธรรมชาติ 16. โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติคลองวาฬ ประจวบคีรีขันธ์ ศูนย์สิ่งแวดล้อมศึกษา กรุงเทพมหานคร ภาพที่ 3.9 กิจกรรมพลังเยาวชนต้นกล้า ท้ารักษ์ปุาชายเลน โดย มูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ภาพที่ 3.10 กิจกรรมเยาวชนลดโลกร้อน ร่วมกับ ESDI EDU CHULALONGKORN โดย มูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ่ องค ์กรจิตอาสาสิงแวดล้ อมในประเทศไทย องค์กรจิตอาสาสิ่งแวดล้อมภาคเอกชน 3 เครือข่ายอาสารักษ์ธรรมชาติ(V4N) - เกิดจากคนกลุ่มหนึ่ง ที่ได้เข้าไปมี ส่วนร่วม เป็นอาสาสมัคร เพื่อคอย ช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย ในเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ ณ วัดย่านยาว อ. ตะกั่วปุา จ.พังงา - ก่อตั้งกลุ่มอาสาสมัครขึ้น ภายใต้ชื่อว่า เครือข่ายอาสารักษ์ธรรมชาติ (Volunteer for Nature Network : v4n) วัตถุประสงค์ 1. มุ่งเน้นในเรื่องของการไปเป็นอาสาสมัคร เพื่อทาประโยชน์ให้กับชุมชน ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 2. ปลูกฝังจิตสานึกอันดีให้กับเด็ก เยาวชน และรวมไปถึงบุคคลทั่วไป ให้รู้สึกถึง ความรักและผูกพันต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจถึงระบบนิเวศวิทยาของธรรมชาติได้อย่างลึก ซึ้ง มากขึ้น โดยใช้กระบวนการทากิจกรรมอาสาสมัครด้านสิ่งแวดล้อม และการ ท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์เป็นตัวดาเนินกิจกรรม 4. เพื่อให้เกิดสานสัมพันธ์ที่ดี และสร้างเครือข่ายกับกลุ่มอาสา องค์กร หรือ หน่วยงานต่าง ๆ ให้ไปในทิศทางเดียวกัน พันธกิจ 1. มุ่งอนุรักษ์และพัฒนา ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นพื้นฐานของชีวิต ให้มี ความสมบูรณ์ และเกื้อหนุนชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ให้มีความสุขตามวิถีของ ธรรมชาติ 2. ร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีที่สุด สาหรับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผ่านกระบวนการ ในรูปแบบกิจกรรมของอาสาสมัคร ตามหลักการและแนวทางวิชาการที่ถูกต้อง และเหมาะสม 3. ร่วมเป็นพันธมิตรกับองค์กรต่างๆ ทั้งภาคสังคม และภาคธุรกิจ ในการ แสวงหากระบวนการและองค์ความรู้ รวมทั้งผสานความร่วมมือกัน เพื่อ สร้างสรรค์ผลงานด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคม ภาพที่ 3.12 กิจกรรมปลูกปุาชายเลน โดย เครือข่ายอาสารักษ์ธรรมชาติ ่ องค ์กรจิตอาสาสิงแวดล้ อมในประเทศไทย กลุ่มอาสาสมัคร 1 อาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม - กาเนิดมาจากโครงการอาสาสมัครพิทกั ษ์ภูกระดึงสู่ปุาทัว่ ไทย ของกลุ่ม อาสาสมัครพิทักษ์ภกู ระดึง - ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2554 - เปิดกลุ่มขึ้นใน facebook.com มีบทบาทในการกาหนดทิศทางอนาคตภู กระดึง เกีย่ วกับประเด็นเรื่องโครงการสร้างกระเช้าไฟฟูาขึ้นภูกระดึง - จัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยการ รวมตัวกันไปเก็บขยะทีอ่ ุทยานแห่งชาติภูกระดึง - จัดโครงการอาสาสมัครพิทักษ์ภูกระดึงสูป่ ุาทั่วไทย - ต่อมาจึงได้ก่อตั้งขึ้นเป็นกลุม่ ใหม่ ใช้ชื่อว่า “อาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม” กิจกรรมปลูกปุาชายเลน เก็บขยะ วันสิ่งแวดล้อมโลก กิจกรรมล่องเรือ เก็บขยะ สังขละบุรี กิจกรรมปลูกปุา ณ.อ่างเก็บน้าเขาสน จ.ราชบุรี ่ องค ์กรจิตอาสาสิงแวดล้ อมในประเทศไทย กลุ่มอาสาสมัคร 2. กรีน อีเว้นท์ - “กรีน อีเว้นท์ หมายถึง กิจกรรมสีเขียว ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2556 - เป็นกลุ่มองค์กรประเภทกิจการเพื่อสังคม - จัดกิจกรรมอาสาสมัครและท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ - ทีมงานผู้จัดมีทั้งนักศึกษา และคนเรียบจบแล้ว ทางานแล้ว - ว่างจากการประกอบอาชีพหลักของแต่ละคนมาร่วมกันจัดกิจกรรม กิจกรรมเก็บขยะพิทักษ์ภูเรือ-เชียงคาน กิจกรรมเก็บขยะพิทักษ์ภูชี้ฟูา-ดอยแม่สลอง ่ องค ์กรจิตอาสาสิงแวดล้ อมในประเทศไทย กลุ่มองค์กรชุมชน 1. กลุ่มเด็กรักษ์ปุา - เริ่มดาเนินงานมาตั้งแต่ปี 2533 - ค่ายเล็กๆ ในชุมชนพื้นที่ ของโครงการปุาชุมชน ในพื้นที่ปุาเขตอีสานใต้ - เกิดโครงการ “โรงเรียนเด็กรักปุา” ในปี 2534 - ปี 2540 โรงเรียนเด็กรักปุา ได้กลายเป็น “ศูนย์ศึกษาศิลปะธรรมชาติเด็ก รักปุา” บริการกิจกรรมด้านธรรมชาติศึกษา - สนับสนุนงานกลุ่มแม่บ้านเด็กรักปุา ในการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ และ กิจกรรมอนุรักษ์ปุา ่ องค ์กรจิตอาสาสิงแวดล้ อมในประเทศไทย กลุ่มองค์กรชุมชน 2 สถาบันพัฒนาเยาวชนชาติพันธุ์ - เป็นองค์กรระดับชุมชน ที่ให้การสนับสนุนเยาวชนอาข่าและชาติพันธุ์ - กิจกรรมอาสาพิทักษ์ปุาต้นน้า การปลูกปุา เพาะชากล้าไม้และสวนเกษตร อินทรีย์ธรรมชาติ - เสริมสร้างภาวะผู้นาให้กับเยาวชน - ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ประเทศพม่า และจีน - ได้รับทุนสนับสนุนจาก Community Health Education, USA. พันธกิจ 1. พัฒนาและเสริมสร้างผู้นาเยาวชนชาวเขา 2. พัฒนาและส่งเสริมการพึ่งพาตนเอง 3. พัฒนาและส่งเสริมด้านจริยธรรม ศีลธรรมชาวเขา กิจกรรม 1. การฝึกอบรมผู้นาในหมู่บ้านชาวเขา อาข่า ลาหู่ ในประเทศไทย พม่า และจีน 2. ผลิตสื่อในภาษาชาวเขา อาข่า และลาหู่ 3. บ้านพักเด็กนักเรียนไกลบ้าน จิตอาสาใน ประเทศบรูไน 01 บริบทพื้นฐานทางสังคม ของบรูไน บรูไน ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว มีพื้นที่ทั้งสิ้น 5,765 ตารางกิโลเมตร มีจานวนประชากร 417,200 คน 66 66 % % ชาวมาเลย์ ความมั่งคั่งของบรู ไน บรูไน สถาปนา 3 เสาหลัก เรียกว่า ที่เหลือชาวจีนร้อยละ 10.1 มาจากอุตสาหกรรม หลักคือน้ามันและก๊าซ MIB = Malayu, Islam, Beraja (วัฒนธรรมมลายู, และอื่น ๆ ธรรมชาติ ศาสนาอิสลาม, การปกครองแบบราชาธิปไตย) 02 ความหมายและพัฒนาการ ของจิตอาสาบรูไน ความหมาย งานจิตอาสาของบรูไน หมายถึง การทางานเชิงรณรงค์ (โดยไม่ขัดกับแนวทางของรัฐ) และการสังคมสงเคราะห์ (เสริม บทบาทจากสวัสดิการภาครัฐ) กล่าวอีกนัยหนึ่งงานจิตอาสาบรูไน ถูกพิจารณาเป็นส่วนเสริมของรัฐ และเน้นสร้าง ความสุขให้กับสังคมในลักษณะเป็นชุมชนร่วมกัน จิตอาสาถูกมองว่าเป็นส่วนช่วยในการหลอมรวมผู้คนที่หลากหลายให้มีความรู้สึกร่วม ในสังคม เดียวกัน ภายใต้อุดมการณ์ MIB (Malayu, Islam, Beraja : วัฒนธรรมมลายู, ศาสนาอิสลาม, การปกครองแบบราชาธิปไตย) พัฒนาการ เริ่มแรกบรูไนมีพนื้ ฐานของสังคมที่มีสถาบันพระมหากษัตริย์ มีบทบาทนาใน สังคม กลุม่ องค์กรอาสาสมัครแบบเดิมเริ่มจากการเป็น ส่วนเสริม ของงานสังคม สงเคราะห์ของพระมหากษัตริยแ์ ละด้วยลักษณะสังคมที่เหมือนเป็น ชุมชนร่วมกัน พัฒนาการ ระยะหลังจิตอาสาของบรูไน เน้นให้เป็นองค์กรที่มีฐานจากเยาวชน โดยเน้น เยาวชนเป็นกาลังในอนาคต ส่งเสริมให้มีกิจกรรมร่วมกับประเทศในอาเซียน พัฒนาการ การสร้างจิตอาสารุ่นใหม่จากเยาวชน รัฐร่วมสร้างกลไกสนันสนุนดังนี้ ผนวกศาสนาอิสลามที่เป็นศาสนาประจาชาติเข้ากับชีวิตประจาวัน เสริมสร้างเยาวชนให้สร้างคุณูปการต่อเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคม เพาะบ่มความตระหนักและตื่นรู้ สร้างความรู้และทักษะแก่เยาวชน พัฒนาทัศนคติและบุคลิกลักษณะ เช่น ความรักชาติ ความเชื่อมั่นในตนเองและ ความคิดสร้างสรรค์ ระบบการศึกษาในบรูไนยังระบุไว้ว่า ก่อนจบการศึกษาระดับปริญญาตรี เยาวชนจะต้องมี ชั่วโมงการบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม 100 ชั่วโมง 03 รูปแบบและกิจกรรม จิตอาสา รูปแบบ รูปแบบระยะแรก เป็นกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ รูปแบบระยะหลัง มีประเด็นปัญหาใหม่ทที่ ้าทาย เช่น สิ่งแวดล้อม ภัยพิบตั ิ เป็น ประเด็น กิจกรรม ที่เพิ่มเติมขึน้ มา รูปแบบ กิจกรรมจิตอาสาจากพื้นฐานศาสนาอิสลาม อิสลามเป็นศาสนาแห่งความเอื้อเฟื้อ ครอบครัวชาวมุสลิมจะดูแลผู้มาเยี่ยม เยือน อย่างดีมาก การถือศีลอดของชาวมุสลิมมีเพื่อให้ได้รู้สึกร่วม และระลึกถึงผู้ที่อดอยาก นอกจากนี้ศาสนายังให้มีการแบ่งทรัพย์สินส่วนหนึ่งไปบริจาค เรียกว่า ซากาด (Zakat) โดย ทั่วไปบริจาคที่ร้อยละ 3 และยังมีการกล่าวสนับสนุนให้ศาสนิก ทางานอุทิศเพื่อสังคม รูปแบบ องค์กร Green Brunei กลุ่มเยาวชนที่มุ่งเน้นกิจกรรมอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและการสร้างภาวะผู้นา ตัวอย่างกิจกรรมได้แก่ การจัดเสวนา การเดิน ปุา การเข้าค่ายอบรม พื้นที่ทาการ คือ พื้นที่ปุาเกาะบอร์เนียว โดยเชื่อมโยงกับประเด็นใหม่ๆ ด้วย เช่น การรี ไซเคิล ภาวะโลกร้อน เกษตรยั่งยืน การทางานนั้นมี การเชื่อมโยงกับเครือข่ายภาครัฐและภาคธุรกิจ รูปแบบ องค์กร Green Brunei ช่วงแรกของการก่อตั้งองค์กร Green Brunei ทางานด้านการสอนเรื่อง สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เรียกว่า Green School Project ในปัจจุบันมีการเน้นเรื่องหลักด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องดาเนินการในบรูไน ได้แก่ (1) การจัดการขยะ (Waste management) (2) รอยเท้าคาร์บอน (Carbon Footprint) สืบเนื่องจากน้ามันราคาถูก ทาให้การ ใช้รถส่วนตัวเป็นไปอย่างสิ้นเปลือง และไม่มีระบบขนส่งมวลชนที่เพียงพอ (3) เรื่องการบริโภคพลังงาน (Energy Consumption) ความที่เป็นประเทศผลิต ปิโตรเลียมได้ ต้นทุนพลังงานจึงต่าและใช้อย่างสิ้นเปลือง รูปแบบ องค์กร Green Brunei องค์กร ใช้ 3 กระบวนการสาคัญเพื่อให้ประชนตระหนักรู้และเกิดการ เปลี่ยนแปลงชีวิตประจาวันของประชาชน ให้ประชาชนปรับพฤติกรรมใส่ใจ สิ่งแวดล้อมมากขึ้นได้แก่ (1) การสื่อสารและจัดการ (communication) (2) การศึกษา (Education) (3) การบอกกล่า วแก่สังคม (Advocacy) รูปแบบ องค์กร H.E.A.R.T Volunteers ย่อมาจาก Humanitarian Emergency Aid Response Team - HEART Volunteers Group ก่อตั้งในปี ค.ศ.2012 เป็นกลุ่มอาสาสมัครกู้ชีพกู้ภัย ทางานสังคมสงเคราะห์ และมีการพัฒนา เยาวชน ข้อที่น่าสนใจ คือ มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณีจีน และ มีคนเชื้อสายจีนร่วมทากิจกรรมไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ ไม่แบ่งแยกศาสนา ไม่ยุ่งเกี่ยวทางการเมือง 04 บทสรุปภาพรวม สรุป จิตอาสาในบรูไนแต่เดิมนั้นมีรากฐานมาจากคาสอนในศาสนาอิสลาม และเป็น ส่วนงาน ที่เสริมกับกิจการการกุศลขององค์สุลต่าน ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะของบรูไนที่เป็นสังคมแบบ ชุมชน และด้วยความที่ กิจกรรมจิตอาสาเชื่อมโยงกับนานาชาติมาตั้งแต่แรก ทาให้กลุ่มจิตอาสา ในบรูไนปัจจุบันสามารถใช้เครือข่ายอาเซียนให้เป็น ประโยชน์ในการจัดตั้งกลุ่ม และการเรียนรู้ ร่วมกับกลุ่มอาสาสมัครอื่นของอาเซียน จิตอาสาใน ประเทศเมียนมาร์ 01 บริบทพื้นฐานทางสังคม ของเมียนมาร์ เมียนมาร์ มีพนื้ ทีท่ งั้ สิน้ 676,578 ตารางกิโลเมตร มีจานวนประชากร 53,582,855 คน ประชาชนจานวนมากมีรายได้ต่ากว่าขีดความยากจน 25 % 68 % เศรษฐกิจของพม่าขึ้นอยู่กับภาค The World Giving Index จัดเมียนมาร์ให้อยู่ในลาดับที่ 1 ด้วย 68% พม่า เกษตรกรรมเป็นหลัก สินค้า คะแนนรวมถึงร้อยละ 64 ด้านการมีส่วนร่วมในการบริจาคเงิน 16% ไทใหญ่ ส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ ก๊าซ และจัดอยูใ่ นลาดับที่ 1 การเสียสละในด้านอื่น เช่น การช่วยเหลือ 7% กะเหรีย่ ง ธรรมชาติ (25%) ถั่วแขก ผ้าผืน คนแปลกหน้า ต้นสัก ไม้เนื้อแข็ง ปลา ข้าว 02 ความหมายและพัฒนาการ ของจิตอาสาเมียนมาร์ ความหมาย ผู้ประสานงานมูลนิธิเมตตาเพื่อการพัฒนาสานักงานย่างกุ้ง ให้ความหมายของจิต อาสาว่า “การกระทาเพื่อชุมชนโดยไม่หวังผลกาไร การกระทา เพื่อผูอ้ ื่นด้วยจิตกุศล” Civic Society Initiative (CSI) ให้ความเห็นว่าการเป็นอาสาสมัครหรือผูม้ ีจิตอาสา ในการช่วยเหลือสังคม คือ การกระทาที่มีความหมายว่า “เราอยู่ในสังคมร่วมกัน และเรา ทุกคน มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมของเราเท่าๆ กัน” ความหมายของจิตอาสา (Volunteer Spirit) ในเมียนมาร์ จึงมีความหมายต่างๆ ตามที่ รวบรวมได้ดังนี้ การทาบุญ (Merit) การกระทาเพื่อผูอ้ ื่นในรูปแบบต่างๆ การ ช่วยเหลือ ผู้ที่ยากลาบาก ผู้ประสบปัญหา การช่วยให้ผู้อื่นพ้นความทุกข์ การกระทาที่ไม่ หวังผลตอบแทน พัฒนาการ ยุคอาณานิคมและหลังได้รับเอก ราชจากอังกฤษ เริ่มรวมกลุ่มกัน พัฒนาแนวคิด ยุคเผด็จการ การรวมกลุ่ม อาสาสมัครต่างๆ เพื่อทากิจกรรม เชื่อมโยงกับวัดหรือโบสถ์ โดยเป็น กิจกรรมด้านสังคมสงเคราะห์ที่รัฐไม่ได้ ดาเนิน การ เช่น กลุ่มฌาปนกิจและ การแพทย์ พัฒนาการ ยุคหลังภัยพิบัติและยุครัฐบาลพล เรือน หลังจากเกิดภัยพิบัติในเมียน มาร์ ครั้งใหญ่คือพายุนากิสใน พ.ศ. ๒๕๕๑ ทาความเสียหายให้กับพื้นที่ ชายฝั่งของประเทศ อย่างกว้างขวาง แต่ความช่วยเหลือของรัฐบาลเป็นไป อย่างเชื่องช้า ไม่ทั่วถึง จึงเกิดการ รวมกลุ่มอาสาสมัครขึ้นอย่างกว้างขวาง โดยบางส่วนได้รับสนุบสนุนจาก รัฐบาล 03 รูปแบบและกิจกรรม จิตอาสา รูปแบบ รูปแบบระยะแรก เป็นกิจกรรมแนวคิดและการเมือง รูปแบบระยะหลัง เน้นประเด็นปัญหา ด้านสังคมสงเคราะห์ ด้านการศึกษา เยาวชน ส่งเสริมและพัฒนาชุมชน สิง่ แวดล้อมและภัยพิบตั ิ รวบรวมเงินบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัย https://www.mmtimes.com/lifestyle/19758-volunteer- https://asia.nikkei.com/NAR/Articles/Myanmar-flooding- teachers-extend-their-reach-1.html triggers-massive-volunteer-effort 04 บทสรุปภาพรวม สรุป ปัจจัยที่ทาให้เกิดกลุ่มอาสาสมัคร หรือกลุ่มจิตอาสาในเมียนมาร์ ความศรัทธา ความเชื่อทางศาสนา ข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มอาสาสมัคร หลายกลุ่ม สะท้อนถึงอิทธิพลความเชื่อ ทางพุทธศาสนา และหลักความเชื่อใน ศาสนาอื่ นอย่า งชั ด เจน แม้ มีร ะดั บที่ แ ตกต่า งกั น โดยเห็ นตรงกัน ว่า กิจ กรรม อาสาสมัครเป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้อื่น ช่วยผู้เดือดร้อน ให้พ้นทุกข์ ตรงตามหลัก เมตตาของพุทธศาสนา หรือการรักผู้อื่นตามหลักคริสต์ศาสนา ไปจนถึงความเชื่อ ในผลของการกระทาดี ที่ให้ผลเป็นความพอใจ ความสุขของผู้กระทา สรุป ปัจจัยที่ทาให้เกิดกลุ่มอาสาสมัคร หรือกลุ่มจิตอาสาในเมียนมาร์ ความจากัดของกลไกและความช่วยเหลือของรัฐ เมียนมาร์ ไม่มีการสร้าง กลไกของรัฐ และจัด สรรงบประมาณให้เพี ยงพอต่อ การช่วยเหลือประชาชนใน สถานการณ์ ต่า งๆ ส่ งผลให้ มีข้ อจ ากั ด ในการรับ มื อกั บสถานการณ์ภั ยพิ บัติ ใ น ประเทศที่ส่งผลกระทบ ต่อประชาชนจ านวนมากในบริ เวณกว้า ง การให้ค วาม ช่วยเหลือในระบบ ราชการยังเป็นไปอย่า งเชื่องช้า ทาให้ประชาชนจ านวนมาก รวมตัวกันเป็นอาสาสมัคร ระดมรับบริจาคสิ่งของ และเข้า ไปช่วยเหลือประชาชน ผู้ประสบภัยในพื้นที่ภัยพิบัติ โดยมีการรวมตัวทั้งในรูปของปัจเจกชน จิตอาสาในประเทศ ประเทศสิงคโปร์ 01 บริบทพื้นฐานทางสังคม ของประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ มีพื้นที่ทั้งสิ้น 715 ตารางกิโลเมตร มีจานวนประชากร 5.08 ล้านคน สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางการเงินใหญ่ที่สุดอันดับ 4 ของโลก สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางของการขนส่งสินค้าผ่านท่าเรือเชิงพาณิชย์อันดับ 2 ของโลก 76 75 % % 76.5% ชาวจีน สิงคโปร์พัฒนาเศรษฐกิจด้าน ประเทศสิงคโปร์เปลี่ยนผ่านจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษ มาสู่การ 13.8% ชาวมาเลย์ การค้า(บริการ) โดยเป็นประเทศ ปกครองตนเองใน ค.ศ.1959 การเป็นเอกราช และรวมอยู่ภายใต้สหพั นธ์รัฐ 8.1% ชาวอินเดีย พ่อค้าคนกลางในการขายสินค้า มาเลเซียในปี 1963 จนแยกตัวไปตั้งสาธารณรัฐสิงคโปร์ในปี 1965 ผู้นารุ่น และอื่น ๆ เป็นท่าเรือขนส่งสินค้า สร้าง แรกของสิงคโปร์กาหนดเป้าหมายในการบริหารประเทศ ทั้งการพัฒนา รายได้ 75% ของรายได้ทั้งหมด สังคม เศรษฐกิจและการเมือง 02 ความหมายและพัฒนาการ ของจิตอาสาสิงคโปร์ ความหมาย คาว่าจิตอาสาที่ใช้กันในสิงคโปร์นั้นมีคาภาษาอังกฤษที่พอจะเทียบเคียงได้อยู่ ๒ คา คือ คาว่า Volunteering และคาว่า Philanthropy Volunteering นั้นมักจะให้ความหมายว่า กิจกรรมที่ปจั เจกหรือกลุ่มบุคคลดาเนินการ เพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่นโดยไม่ได้คาดหวังผลตอบแทน ขณะที่ Philanthropy มีความหมาย ใกล้เคียงกันว่าความต้องการทีจ่ ะเสริมสร้าง สวัสดิภาพแก่ผู้อื่น แต่มีจุดเน้นต่างกัน โดยเฉพาะ การบริจาคทรัพย์เพื่อกิจการอันเป็น ประโยชน์ ความหมาย ภายหลังจากนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ อย่างก้าวกระโดดในคริสต์ศตวรรษที่ 1970 และ 1980 ทาให้พลเมืองสิงคโปร์ส่วนหนึ่ง คิดถึงแต่ประโยชน์ของตนเอง ด้วยเหตุนี้ การให้ความหมายของจิตอาสาและสาธารณกุศลของสิงคโปร์ในปัจจุบันจึง เชื่อมโยงกับ การแบ่งปัน (Sharing) ความเอื้ออาทร (Caring) การให้ (Giving) ความเมตตา (Kindness) และ ความดี (Good) พัฒนาการ ยุคมรดกอาณานิคม การรวมกลุ่ม 2 กลุ่มใหญ่ เพื่อดาเนินงานกิจกรรมจิตอาสา ของส่งเสริมระบบสวัสดิการของชุมชน ยุคสร้างชาติ เกิดสมาพันธ์ประชาชน เพื่อเป็นกลไกให้ประชาชนสิงคโปร์ต่างชาติ พันธุ์ ต่างภาษา ต่างศาสนา และวัฒนธรรม มารวมตัวกันทากิจกรรมจิตอาสาเพื่อ ร่วมกันพัฒนาประเทศ พัฒนาการ ยุคสังคมของการให้ ปี ค.ศ.1957 นายกรัฐมนตรี โก๊ะ ตุ๊ ก ตง มี น โนบาย สิ ง คโปร์ จ ะต้ อ งเป็ น สั ง คมที่ ให้ ความสาคัญ ต่อการพัฒนาความเป็น มนุษย์มากกว่าการ พัฒนาทางวัตถุ โดยส่งเสริมการมี ส่ว นร่ ว มของภาคประชาชน การ สร้างวัฒนธรรมจิตอาสาและวัฒนธรรมแห่ ง การให้ ให้ เป็น ส่วนหนึ่งของชีวิตคนสิงคโปร์ ก่อตั้งศูนย์วิจัยกิ จ การสั ง คมและการสาธารณะกุ ศ ล แห่งเอเชีย กระทรวงศึกษาธิกาสิ ง คโปร์ ก าหนด ให้ ก ารเข้ าร่ ว ม กิ จ กรรมจิ ต อาสาภาย เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการส าเร็ จ การศึกษาชั้นมัธยมปลาย 03 รูปแบบและกิจกรรม จิตอาสา รูปแบบ รูปแบบระยะแรก เป็นการรวมกลุ่มชาติพนั ธุท์ ากิจกรรมส่งเสริมสวัสดิการชุมชน รูปแบบระยะหลัง เน้นการทาสาธารณะกุศล กิจกรรมพัฒนาสังคมพัฒนาชุมชน สิ่งแวดล้อม การช่วยเหลือคนยากไร้ การเข้าร่วมของเยาวชน เป็น อาสาสมัครเพื่อ ช่วยเหลือกิจกรรมต่าง ๆ ทางสังคม รูปแบบ รูปแบบระยะแรก เป็นการรวมกลุ่มชาติพนั ธุท์ ากิจกรรมส่งเสริมสวัสดิการชุมชน รูปแบบระยะหลัง เน้นการทาสาธารณะกุศล กิจกรรมพัฒนาสังคมพัฒนาชุมชน สิ่งแวดล้อม การช่วยเหลือคนยากไร้ การเข้าร่วมบริจาคเพื่อ ช่วยเหลือกิจกรรมด้าน สวัสดิภาพสัตว์ รูปแบบ (1) Youth Corps Singapore และ RSVP Singapore Youth Corps Singapore หรือ องค์กรเยาวชนแห่งสิงคโปร์ ศูนย์กลางของการดาเนินกิจกรรมจิตอาสาสาหรับเยาวชน ที่รู้จักกันในนามว่า “The Red Box” กิจกรรมที่จัดมีความหลากหลาย และน่า สนใจ เพื่อ ดึงดูดเยาวชนสิงคโปร์ให้ สนใจกิจกรรมจิตอาสา เน้นพัฒนาจิตสานึกของการให้ การแบ่งปัน การทางานร่วมกันและการรับ ใช้ การเข้าร่วมบริจาคเพื่อช่วยเหลือกิจกรรมด้านสวัสดิภาพสัตว์ รูปแบบ (2) RSVP Singapore หรือ องค์ก รอาสาสมัครอาวุโ ส แห่งสิงคโปร์ จัดตั้งขึ้นเพื่อ เปิดให้ก ลุ่ ม ประชาชนอาวุโ สได้ใ ช้ ทักษะความสามารถ และประสบการณ์ข องตนใน การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์แก่สังคม สิ่งที่เป็นหัวใจสาคัญ ขององค์ก รก็คือ การแบ่งปัน และการรับใช้ 04 บทสรุปภาพรวม สรุป สาธารณรัฐสิงคโปร์กาลังผลักดันวัฒนธรรมการให้ เพื่อเป็นคุณธรรมหลักใน การพัฒนาความสุขของคนในประเทศ รวมถึงกระตุ้นให้เยาวชนเกิด การ เรียนรู้ จากประสบการณ์ตรงในการเป็นจิต อาสา เพื่อนามาเป็นแรงบันดาลใจให้ตัวเอง ต่อไป สรุป การให้นอกจากอาสาสมัครเป็นผู้ที่เข้าไปช่วยเหลือแล้ว สิ่งที่ได้กลับมา คือ การเติมเต็มความเป็นพลเมืองให้กับตัวเอง ทาให้เกิดสานึกรักและมีส่วนร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ ในสังคม เกิดความรู้สึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมมากขึ้น วัฒนธรรมการให้ที่รัฐบาลสิงคโปร์ ผลักดันให้เป็นวัฒนธรรมใหม่ของชาติ เป็นผลของสิ่งที่ขาดในสังคมสิงคโปร์ คือ ความห่วงใย ใส่ใจกันและกัน หากสัง คม เกิ ด ความตระหนั ก ที่ จ ะแบ่ ง ปั น ด้ ว ยการให้ นั่ น หมายความว่ า สั ง คมและ ความรู้สึกเหล่านี้เองจะเป็นสิ่งที่ทาให้สิงคโปร์เข้มแข็ง CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, including icons by Flaticon, and infographics & images by Freepik. Thanks! Do you have any questions? CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, including icons by Flaticon, and infographics & images by Freepik.