หะละเกาะฮฺอัลกุรอาน PDF

Document Details

InterestingKelpie8437

Uploaded by InterestingKelpie8437

อิสมาอีล ลุตฟ จะปะกียา

Tags

อัลกุรอาน ศาสนาอิสลาม ชีวิตมุสลิม หลักการอัลกุรอาน

Summary

เอกสารนี้เป็นคู่มือหะละเกาะฮฺอัลกุรอาน เรียบเรียงโดย อิสมาอีล ลุตฟ จะปะกียา เพื่อให้ความเข้าใจหลักการของคัมภีร์อัลกุรอาน และ วิธีการปฏิบัติตามหลักการดังกล่าว โดยเน้นการใช้ชีวิตตามหลักคำสอนของอัลกุรอาน

Full Transcript

สู่ เพื่อเปาหมาย เขียน ศ ดร อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา แปล อนัส แสงอารี บรร าธิการ ซุฟอัม อุษมาน อุษมาน อิดรีส สิงหาคม 2 2 33 ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ ผู้ทรงเมตตาปรานีเสมอ กิจกรรมงาน “วันพบปะมุสลิมมะฮ์” นับได้ว่าเป็นกิจกรร...

สู่ เพื่อเปาหมาย เขียน ศ ดร อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา แปล อนัส แสงอารี บรร าธิการ ซุฟอัม อุษมาน อุษมาน อิดรีส สิงหาคม 2 2 33 ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ ผู้ทรงเมตตาปรานีเสมอ กิจกรรมงาน “วันพบปะมุสลิมมะฮ์” นับได้ว่าเป็นกิจกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุด แห่งปีขององค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ซึง่ เป็นกิจกรรมทีไ่ ด้รวมพลมุสลิมะฮฺทมี่ า จากทั่วทั้งจังหวัด และจังหวัดใกล้เคียง ทั้งยะลา นราธิวาส สงขลา สตูล และ นครศรีธรรมราช ในปี พ.ศ. 2557 กิจกรรมวันพบปะมุสลิมะฮ์ จัดขึ้นนับเป็นครั้งที่ 9 ภายใต้ แนวคิด “อัล-กุรอาน....ทางน าชีวิตแห่งมนุษยชาติ” (Alquran : Pedoman Hidup Manusia) โดยจัดขึ้น ณ บริเวณสนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ตั้งแต่ 08.00 น. เป็นต้นไป การจัดกิจกรรมแต่ละครั้งได้รับ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน รวมทั้ง มหาวิทยาลัยในพื้นที่ สถาบันปอเนาะ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม การด าเนินกิจกรรมนี้วางอยู่บนรากฐานอันส าคัญ ภายใต้ยุทธศาสตร์การ บริหารงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ในวิถแี ห่งคุณธรรมทีม่ คี วามยัง่ ยืน นับตั้งแต่แนวคิดการพัฒนามุสลิมมะฮ์ในพื้นที่ จนได้มีการขยายโครงการพัฒนา ศักยภาพมุสลิมะฮ์สู่พื้นที่อ าเภอต่างๆ ทั้ง 12 อ าเภอ โดยโครงการเหล่านี้ได้รับความ ร่วมมือจากนักวิชาการทางศาสนา ในการลงพืน้ ทีไ่ ปให้ความรู้ในด้านศาสนายังสถาน ที่ต ่ า งๆ ซึ่ง จากประเมินแล้วปรากฏว่าโครงการนี้ได้รั บ ความสนใจเป็ น อย่ า งยิ่ง และสิง่ เหล่านีเ้ องน าความส าเร็จอย่างยิง่ ใหญ่ให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี และสังคมมุสลิมโดยรวม เป็นทีย่ อมรับกันอย่างถ้วนหน้าแล้วว่า ศตวรรษนีเ้ ป็นยุคทีส่ งั คมมุสลิมเริม่ ตืน่ จากภวังค์และประชาชาติเริ่มหันมามองตนเองว่าห่างไกลจากหลักค าสอนอัลกุรอาน เริ่ ม มองเห็ น ความส า คั ญ ว่ า อั ล กุ ร อานคื อ หนทางเดี ย วเท่ า นั้ น ที่ เ ป็ น ทางรอด ของมนุษยชาติ ที่เป็นค าสอนที่ส่องแสงสว่างน าผู้คนสู่ความส าเร็จได้ จากความส าคัญนี้เอง องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี โดยได้รับความ อนุ เ คราะห์ จ ากผู ้ เ ขีย น ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.อิส มาแอล ลุ ฏ ฟี ย ์ จะปะกีย า เพื่อตีพิมพ์หนังสือ “หะละเกาะฮฺอัลกุรอาน” เพื่อแจงจ่ายให้แก่ผู้มาร่วมงานในงาน “พบปะมุสลิมะฮฺ” ครัง้ ที่ 9 โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จักได้เป็นแนวทาง ในการท า ความเข้ า ใจในหลั ก ค า สอนอั ล กุ ร อานให้ ลึ ก ซึ้ ง อั น จะน า สู ่ ก ารปฏิ บั ติ อย่างถ้วนหน้าต่อไป องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี 4 , อัลหัมดุลิลลาฮฺ ขอสรรเสริญอัลลอฮฺ ข้าพเจ้ามีความรู้สึกยินดีเป็น อย่างยิ่ง ที่ความพยายามในการร รงค์ หะละเกาะฮฺอัลกุรอาน ได้รับการ ตอบรับอย่างดีจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดปตตานี ายใต้การนําของ ท่านเศรษ ์ อัลยุฟรี ซึ่งท่านและทีมงาน อบจ ปตตานี รวมทั้งค ะกรรมการ จัดงานพบปะมุสลิมะฮฺครั้งที่ ที่จะจัดขึ้นในวันที่ เชาวาล ตรงกับ สิ งหาคม สนามกี ากลาง อบจ ปตตานี ายใต้ หั วข้ อ อัลกุรอาน ทางนําชีวิตแห่งมนุษยชาติ ได้ตกลงที่จะจัดพิมพ์หนังสือ คู่มือ หะละเกาะฮฺอัลกุรอาน เล่มนี้ ทั้งใน าษามลายูและ าษาไทย เพื่อเ ยแพร่ แก่ชาวมุสลิมที่มาร่วมงานดังกล่าว ซึ่งคาดว่าน่าจะมีจํานวนมากกว่าสอง หมื่นคน ขออัลลอฮฺตอบแทนความดีงามแก่พวกเขาด้วยเ ิด ด้วยความหวัง ว่า ความเมตตาของอัลลอฮฺจะแ ่กระจายใน ลกนี้อย่างกว้างขวางและดีเลิศ ยิ่งขึ้นไปอีก ขอดุอาอ์จากเอกองค์อัลลอฮฺ ให้ทรงตอบรับการงานนี้ของพวกเรา ให้เป็นการงานที่ดีและเป็นความรู้ที่ยังประ ยชน์ อันจะนํามาซึ่งความเจริญใน ลกนี้ และเป็นมรรค ลแห่งความดีในตาชั่งแห่ง ลกหน้าด้วยเทอญ อามีน พี่น้องของท่าน.. 5 “ ” ฉบั บ ที่ ท่ า นอ่ า นอยู่ นี้ เดิ มนั้ น อาจารย์อนัส แสงอารี ได้แปลจากต้นฉบับ าษามลายูที่พิมพ์ครั้งแรก และ เมื่ อมี การจั ดพิ มพ์ ครั้ งที่ สอง ศ ดร อิ สมาอี ลลุ ตฟ จะปะกี ยา ได้ มี การ เพิ่มเติ มเนื้ อหาต่ าง ค่ อนข้ างมาก เพื่ อให้ เกิ ดประ ยชน์ สูงสุดแก่ ู้อ่าน ตามที่ท่านแสดงเจต ารม ์ไว้ ทางกองบรร าธิการจึงได้แปลเพิ่มเติมและ เรียบเรียงให้ตรงกับต้นฉบับที่จะพิมพ์ใหม่ ฉบับ าษาไทยเล่มนี้ ้เู รียบเรียงได้ สอดแทรกข้อมูลบางจุดที่ยังไม่ได้เพิ่มเติมในต้นฉบับ าษามลายูเนื่องจาก ความกระชั้นชิดของเวลาในการเตรียมต้นฉบับเพื่อจัดพิมพ์ให้ทันงานพบปะ มุสลิมะฮฺครั้งที่ ในส่วนของ าษาไทยเองกดําเนินการอย่างเตมไปด้วย ข้ อ จํ า กั ด ในเรื่ อ งของเวลา จึ ง อาจจะมี ข้ อ ิ ด พลาดให้ เ หนบ้ า ง กอง บรร าธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ท่าน ้อู ่านจะช่วยกรุ าชี้แนะและแจ้งให้เรา ทราบ ้ าหากพบเหนสิ่ งใดที่ ต้ องแก้ ไขสํ าหรั บการจั ดพิ มพ์ ครั้ งต่ อ ไป ขอขอบคุ ญะซากุมุลลอฮุคอยรอ 6 บรรดาการสรรเสริ ญทั้ ง หลายเป็ น สิ ท ธิ ของอั ลลอฮฺ ขอบคุ พระองค์ ู้ทรงเปยมล้นด้วยความเมตตา ที่พระองค์ทรงให้บ่าวของพระองค์มี ส่ วนร่ วมในความดี ในงานรั บใช้ อั ลกุ รอานที่ เป็ นคั ม ี ร์ อั นไพ รจน์ ของ พระองค์ เพื่อปวงบ่าวของพระองค์ ู้แสวงหาทางนํา ความ ปรดปราน การ อ ัย ทษ และสวนสวรรค์ของพระองค์ ขออั ลลอฮฺ ‫ ﺎ ﺎ‬ทรงตอบแทนความดี แด่ ท่ านอธิ การบดี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.. ที่ได้ให้ เกียรติ มแปลหนังสือเล่มนี้ของท่าน ‫ﻠ‬ เป็น าษาไทย “ ” ในการเขียนคําที่มาจาก าษาอาหรับเป็น าษาไทยของ มอาจไม่ได้ ยึดหลักของการออกเสียงให้พ้องกัน อันเป็นแนวที่ใช้กันแพร่หลาย แต่ยึด แนวการเปรียบเทียบพยัญชนะระหว่าง าษาอาหรับกับ าษาไทยเป็นเก ์ เพื่อให้สามาร แยกแยะระหว่างพยัญชนะต่าง และไม่ซ้ําซ้อนกัน ซึ่งต้องขอ อ ัยที่ไม่ได้แสดงไว้ในหนังสือเล่มนี้ ด้วยข้อจํากัดหลาย ประการ ดยเฉพาะเรื่ องเวลา ทํ าให้ มไม่ สามาร ทบทวน ตรวจทาน ปรับแก้ าษา สํานวน าษา และข้อ ิดพลาดใน การพิมพ์ การเว้นวรรค ย่อหน้า และอื่น ได้เท่าที่ควร ใคร่ขออ ัยมา อกาสนี้ อินชาอัลลอฮฺ หวังว่าจะได้แก้ไขปรับปรุงให้สมบูร ์ยิ่ง ขึ้นในการ พิมพ์ครั้งต่อ ไป. อนัส แสงอารี ศุกร์ที่ เชาวาล สิงหาคม 7 DCB A , , , , , ศตวรรษที่สิบห้ าแห่ งฮิ จฺ ญเราะฮฺ ศักราช ื อเป็นช่ วงเวลาของการ เปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ ดยที่ประชาชาติอิสลามทั่ว ลกได้ตระหนัก ึงสาเหตุ แห่งความตกต่ําของพวกเขา ดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศต่าง ในทวีปเอเชีย นั่นคือ แต่กเป็นที่น่าเสียดายที่ใน หมู่ประชาชาติอิสลาม ู้ศรัทธาในอัลกุรอาน ยังมีจํานวนไม่น้อยที่ยังไม่รู้ ึง ความจริงที่ว่าอัลกุรอานอันทรงเกียรติคือทางออกและทางนําแห่งการดําเนิน ชี วิ ตที่ ได้ เคยจารึ กประวั ติ ศาสตร์ อั นรุ่ ง รจน์ ของ “ ” ซึ่งเคยแพร่กระจายความเมตตาของอัลลอฮฺไว้บน ลกนี้แล้วอย่างกว้างขวาง ทําให้พวกเขายังไม่คิดหวนกลับไปแสวงหาการนํา ของทางจากอัลกุรอานในชีวิตของพวกเขาด้วยวิธีการที่ ูกต้องเที่ยงตรง ทั้งนี้ ส าพเช่นนี้ได้เกิดขึ้นทั้งในระดับปจเจกบุคคล ครอบครัว สังคม และประเทศ ยิ่ งไปกว่ านั้น ยั งมี ส่วนหนึ่ งจากหมู่ พวกเขาที่ แสวงหาทางนําจากสิ่งอื่นที่ ไม่ใช่อัลกุรอาน และมีบางส่วนที่ยึดเอาอัลกุรอานเป็นทางนําแบบไม่ค่อย 8 ูกต้อง หรือไม่กด้อยด้วยวิทยปญญาบน านแห่งส าพความเป็นจริงของ ประชาชาติอิสลามในปจจุบันนี้ เหตุดังกล่าวทําให้ ู้เขียนตระหนัก ึงความ รับ ิดชอบในการทําหน้าที่ปกปองประชาชาติอิสลามให้พ้นจากส าพและ กระแสเลวร้ายอันเป็นมหันต ัยดังกล่าวนี้ ทั้งนี้กเพื่อนํามวลมนุษย์ ดยเฉพาะ อย่างยิ่งประชาชาติอิสลามไปสู่การรู้จัก ึงแก่นสารของอัลกุรอานและวิธีการ ที่จะทําให้ได้มาซึ่งทางนําของอัลกุรอาน พร้อม กับคําอธิบายจากสุนนะฮฺ ของท่านนบี ่านคําอธิบายของบรรดานักวิชาการตัฟสีรฺที่ได้รับความเชื่อ ือ อัลหัมดุลิลลาฮฺ นี่คือสารที่ใช้ชือว่า “ ” ที่ได้มี อกาสในการนําเสนอ ด้วยเตาฟกของอัลลอฮฺและความช่วยเหลือของ พระองค์ เพื่อเรียกร้องเชิญชวนประชาชาติอิสลามสู่การศรัทธา การปฏิบัติ การมีจรรยามารยาท การตัดสิน และการเรียกร้องเชิญชวนด้วยอัลกุรอาน กันอย่างแท้จริง ทั้งนี้เพื่อให้ได้รับการนําจากทางนําของอัลกุรอานสู่วิ ีชีวิตที่ “ ” ( ) อันแ งไว้ด้วยความเมตตาของอัลลอฮฺแก่มวล มนุษยชาติใน ลกนี้ บนความพยายามให้ได้รับความ ปรดปรานของอัลลอฮฺ และสวนสวรรค์ของพระองค์ ปร ลก สารเล่มนี้ ประกอบไปด้วยคําสั่งสอนของอัลลอฮฺและเราะสูลของ พระองค์ เพื่อเป็นคู่มือในการทําความเข้าใจแก่นสารของอัลกุรอาน ่าน การอ่ าน การฟง การท่ องจํ า การใคร่ ครวญความหมาย การศึ กษา และ ตั ฟสี รฺ การอรร าธิ บาย ดยใช้ ตํ าราตั ฟสี รฺ ที่ ได้ รั บความเชื่ อ ื อในหมู่ ชาวอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล ญะมาอะฮฺ ู้เขียนเชื่อมั่นว่า ทุกบทบาทและความพยายามในการต่อสู้เพื่อตีแ ่ เนื้อหาของอัลกุรอานที่บรรจุไว้ด้วยความเมตตาของอัลลอฮฺแก่มวลมนุษย์น้ัน 9 จริง แล้วคือสารัต ะของการต่อสู้ของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ซึ่งจะทําให้ เกิด “ ”lº ¹m ดยการ อนุมัติของอัลลอฮฺ ขึ้นในหมู่ประชาชาติอิสลามใน านะของ “ ” l] \ m และ “ ” lR Q P O m ทําให้ความเมตตาแห่งอัลกุรอานได้แ ่ขยาย ึงสากล ลก ู้ เขี ยนใคร่ ขอขอบคุ พี่ น้ องอั บดุ ลกะรี ม อะหฺ มั ด และ พี่ น้ อง อุษมาน อิ ดรีส ที่ได้ ทํางานอย่างขยั นขันแขงให้สารเล่ มนี้ แล้วเสรจออกสู่ สายตาของพี่น้องมุสลิมชายและหญิงทั้งหลาย พร้อมกันนี้ใคร่ขอขอบคุ พี่ น้องอนัส แสงอารี และพี่น้องซอฟ อุษมาน ที่ได้ทําหน้าที่แปลสารเล่มนี้เป็น าษาไทย และขอบคุ พี่น้ องท่านอื่ น ที่ ได้ มี ส่วนช่ วยเ ยแพร่ ไม่ ว่าใน าษาหรือฉบับพิมพ์ใด เพื่อให้ได้รับประ ยชน์กันอย่างกว้างขวางทั่ว ึง ที่สุด ด้วยอนุมัติของพระองค์อัลลอฮฺ ้ทู รงกรุ า ้ทู รงเมตตาเสมอ ้เู ขียนขอเรียกร้องเชิญชวนพี่น้องชายหญิงที่ได้รับสารนี้แล้ว ให้ท่าน พยายามยามอ่ าน ทํ าความเข้ าใจ และนํ าไปปฏิ บั ติ ด้ วยความบริ สุ ทธิ ใจ ต่ อ อั ล ลอฮฺ แล้ ว พยายายามตี แ ่ ค วามเข้ า ใจที่ ไ ด้ รั บ และจุ ล สารนี้ ใ ห้ กว้างขวางออกไปให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เ ื่อว่าจะทําให้ ลกนี้เตมไปด้วย รัศมีแห่งแสงสว่างแห่งอัลกุรอานที่บรรจุไว้ด้วยความเมตตาและความสงบ ร่มเยนจากอัลลอฮฺ ูทรงกรุ า ู้ทรงเมตตายิ่ง อันทําให้พระองค์อัลลอฮฺทรง รับเราทั้งหลายเป็น ชาวอัลกุรอาน เพราะอะฮฺลุล กุรฺอาน 10 คือ คนของอัลลอฮฺ และคนพิเศษที่มากล้นด้วยเกียรติยศ พระองค์อัลลอฮฺ , , มหาวิทยาลัยฟาฏอนี อะคูกุมฟลลาฮฺ เราะมะ อน ฮ ศ อิสมาอีล ลุตฟ จะปะกียา 11 คํานิยม คําขอบคุ สําหรับการพิมพ์ครั้งที่สอง หมายเหตุบรร าธิการ บันทึกจาก ู้แปล คํานํา สารบัญ หนึ่ง อัลกุรอานุล กะรีม นิยาม อัลกุรอานุล กะรีม แก่นสารและความประเสริ ของอัลกุรอาน อัลกุรอานเป็นรูหฺ วิญญา และแสงสว่างสําหรับชีวิตมนุษย์ อัล กุรอานเป็นความรู้ของวิ ีการดําเนินชีวิตของมนุษย์ อัลกุรอานเป็นการสะกิดเตือนและสําทับ อัลกุรอานเป็นทางนํา ความเมตตา และคําตักเตือน อัลกุรอานเป็นสายเชือกของอัลลอฮฺท่ที อดไปสู่สวนสวรรค์ อัลกุรอานเป็น อส เยียวยา อัลกุรอานเป็น ู้ช่วยเหลือให้ได้เข้าสวรรค์ อัลกุรอานยกระดับชีวิตของมนุษย์ อัลกุรอานเป็นสิ่งที่ง่ายต่อการทําความเข้าใจ อัลกุรอานปลอดจากอิทธิพลของชัยฏอน อัลกุรอานนั้นประเสริ ที่สุดในทุกมิติ สอง จุดประสงค์ของการประทานอัลกุรอาน การศึกษาใคร่ครวญ ตะดับบุรฺ อย่างลึกซึ้ง ให้ชีวิตแก่วิญญา ที่หลับใหลตายด้านของมนุษย์ 2 12 การแจกแจงการดําเนินชีวิตแก่ปวงบ่าว สู่ทางที่เที่ยงตรงยิ่ง และไปสู่สวน สวรรค์ การศรัทธาและยึดมั่นในอัลกุรอาน การปฏิบัติตามคําสอนและคําตักเตือน ใช้เป็นหลักในการตัดสินชี้ขาด ใช้เป็นหลักการและแนวทางในการดะอฺวะฮฺและการญิฮาด สาม วิธีบรรลุ ึงเปาหมายของการประทานอัลกุรอาน การอ่านอัลกุรอานด้วยหัวใจที่ศรัทธาและรักมัน การสดับฟงอัลกุรอาน ความประเสริ ของการอ่านและฟงอัลกุรอาน การศึกษาอัลกุรอาน การศึกษาอัลกุรอานร่วมกัน การกําชับสั่งเสียกันให้ดํารงมั่นอยู่บนสัจธรรมและขันติธรรม สี่ อัลกุรอานสร้างชีวิตท่านเราะสูลและเศาะหาบะฮฺ การสร้างบุคลิก าพของท่านเราะสูล ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม การสร้างบุคลิก าพของเหล่าเศาะหาบะฮฺ ห้า อัลกุรอานคือวิ ีชีวิตมนุษย์ หก การละทิ้งอัลกุรอานคือวิบัติและนรก เจด หะละเกาะฮฺอัลกุรอาน สารัต ะของหะละเกาะฮฺอัลกุรอาน หะละเกาะฮฺอัลกุรอานคืออะไร ประเ ทที่หนึ่ง กลุ่มศึกษาอัลกุรอานร่วมกัน ประเ ทที่สอง กลุ่มเรียน สอน ท่องจําอัลกุรอาน ประเ ทที่สาม มัจญ์ลิสุลอิลมี วัซ ซิกรฺ แปด ตัฟสีรฺอัลกุรอาน วิธีเลือกอายะฮฺเพื่อการตัฟสีรฺ 3 13 วิธีการตัฟสีรฺอัลกุรอาน เก้า มารยาทในการอ่านอัลกุรอาน สิบ การท่องจําอัลกุรอาน ท่านเราะสูลท่องจําอัลกุรอาน บรรดาเศาะหาบะฮฺท่องจําอัลกุรอาน หุก่มการท่องจําอัลกุรอาน การกระตุ้นและส่งเสริมให้มีการท่องจําอัลกุรอาน การท่องจําอัลกุรอานในวัยเดก สิบเอด ปจฉิมบท 4 14 , , , , , , ใคร่ขอเรียนว่า ข้าพเจ้ารักพวกท่านทั้งหลายในหนทางของอัลลอฮฺ ขอเชิญชวนพวกท่านว่า มาพร้อมใจกันฟนฟูความศรัทธาของเราใน องการ ของอัลลอฮฺที่ว่า Y X W V U T S R Q P Om l^ ] \ [ Z ความว่า “ ”1 สูเราะฮฺอัล อิสรออ์ อายะฮฺที่ 15 เรามาพร้ อ มใจกั น ศึ ก ษาแก่ น สารของอั ล กุ ร อานและวิ ธิ ก ารทํ า หะละเกาะฮฺอัลกุรอานที่มีชีวิตชีวา ตามคําสอนของอัลกุรอาน สุนนะฮฺ าคปฏิบัติของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ‫ﻠ‬ และเหล่าเศาะหาบะฮฺ ดังที่จะนําเสนอต่อไปนี้กันเ ิด 16 1.1 อัลกุรอานเป็นพระดํารัสของอัลลอฮฺที่ได้ ูกประทานลงมา ดยวิธี วิวร ์ วะหฺย์ ให้แก่ท่านนบีมุหัมมัด ‫ﻠ‬ เป็น าษาอาหรับ ซึ่ง ูกบันทึกไว้ในมุศหัฟ คัม ีร์ เริ่มต้นด้วยสูเราะฮฺ อัล ฟาติหะฮฺ ไปจบด้วย สูเราะฮฺ อัน นาส อัลกุรอาน ือเป็นสิ่งมหัศจรรย์อันเป็นอมตะ ที่ท้าทายทุก คน การอ่านอัลกุรอาน ือเป็นอิบาดะฮฺ แสดงการเคารพ ักดีต่ออัลลอฮฺ คํานิยามข้างต้น นํามาจากคุ ลักษ ะเฉพาะบางประการที่อัลลอฮฺ ตรัสไว้เกี่ยวกับการประทานอัลกุรอานลงมา ดังนี้ l JIHGFEDCm ความว่า “ ”2 on mlkjihgfedcJ a`_m lp สูเราะฮฺอัส สัจ ฺดะฮฺ อายะฮฺที่ 17 ความว่า “ ”3 NJL KJIJGFEJCB Am lQPO ความว่า “ ”4 l cba`_m ความว่า “..”5 1.2 1.2.1 ( ) อัลลอฮฺตรัสว่า สูเราะฮฺฟุศศิลัต อายะฮฺ สูเราะฮฺอัล วากิอะฮฺ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺอัช ชูรอ อายะฮฺที่ 18 lGFEDCBAm ความว่า “ ( ) ”6 s rq ponm lkji hgm l ~}|{ zyxwvut ความว่า “ ( ) ( ) ( ) ”7 อัลลอฮฺตรัสว่า l¼»º¹m ความว่า “ ”8 อัลลอฮฺตรัสว่า l¼»º¹¸¶µm สูเราะฮฺอัช ชูรอ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺ อัล อันอาม อายะฮฺที่ สูเราะฮฺอัล นิสาอ์ อายะฮฺที่ 19 ความว่า “ ( ) ”9 เป็นที่ชัดเจนว่า ปราศจากอัลกุรอาน มนุษย์ ูก ือว่าตกอยู่ในส าพเหมือนคน ตาย ไม่มีแสงสว่าง ต้องคลําหาทางในความมืด เช่นนั้นแหละคือ ู้ปฏิเสธ ศรัทธา มุนาฟก ู้กลับกลอก ที่กําลังเดินอยู่ท่ามกลางความมืด นั่นแหละคือ บรรยากาศหรือส าพแวดล้อมของญาฮิลียะฮฺ เราวิงวอนขอความคุ้มครอง ต่ออัลลอฮฺให้พ้นจากส าพเช่นนั้นด้วยเทอญ อัลกุรอานจะให้วิญญา ที่ทําให้หัวใจตายด้านของมนุษย์กลับมา มีชีวิตอีกครั้ง ให้พลังที่ขับเคลื่อนเขาสู่เส้นทางแห่งความดีและเจริญรุ่งเรือง ให้แสงสว่างที่ส่องทางให้ชีวิตเขามุ่งสู่ความก้าวหน้าที่เจิดจรัสในดุนยาและ อาคิเราะฮฺ 1.2.2 อัลลอฮฺตรัสว่า ¼ » º ¹ ¸¶ µ ´ ³ ²± ° ¯ ® ¬ « Ç Æ Å Äà  Á À¿ ¾ ½ ÉÈ สูเราะฮฺอัต ตะ อบุน อายะฮฺที่ 2 20 ความว่ า “ ( ) ”1 อัลลอฮฺตรัสว่า m lk j i h g f e d c b a ` _ m lp on ความว่า “ ”11 อายะฮฺนี้ให้การอธิบายว่า อัลกุรอานคือความสัจจริง และความสัจ จริงของมันจะ ูกพิทักษ์ ดยเอกองค์อัลลอฮฺ ู้ทรงปรีชาและ ู้ทรงได้รับการ สรรเสริญ ไม่มีทางที่ความพยายามชั่วร้ายใด จะกล้ํากรายเข้ามาปะปนด้วย ความเทจใด ทั้งสิ้ น ไม่ ว่าจะในรูปแบบใดกตาม ตั้งแต่อดี ตมาจน ึงวั น กิยามะฮฺ อัลลอฮฺตรัสว่า สูเราะฮฺอัล กะฮ์ฟฺ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺฟุศศิลัต อายะฮฺที่ 2 21 MLKJIHGFEDCBAm lU TSRQPON ความว่ า “ ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ”12 ท่านอิบนุ กะษีรฺ กล่าวว่า คําว่า (‫ )ﻟﻠﻨﺎس ابﳊﻖ‬เพื่อมนุษยชาติด้วยสัจ ธรรม นั้ นคื อ 13 ( ) อัลลอฮฺตรัสว่า g f e d c b a ` _m lh สูเราะฮฺอัซ ซุมัรฺ อายะฮฺที่ อิบนุ กะษีรฺ ตัฟสีรฺ อัล กุรฺอานุลอะซีม อายะฮฺ จากสูเราะฮฺ อัซ ซุมัร 22 22 ความว่ า “ ”14 เกี่ยวกับอายะฮฺนี้ ท่านอิบนุ มัสอูด กล่าวว่า “ ”15 ท่านอิ บนุ กะษี รฺได้ อธิบายเพิ่มเติมว่ า “ ”16 ท่ า นอิ บ นุ มั ส อู ด กล่ าวว่ า “ ”17 1.2.3 สูเราะฮฺอัล นะหฺลุ อายะฮฺที่ อัฏ เฏาะบะรีย์ ญามิอุล บะยาน ٢٧٩ ١٧ อิบนุ กะษีรฺ ตัฟสีรฺ อัล กุรฺอานุล อะซีม ٥٩٤ ٤ อัฏ ฏอบรอนีย์ ใน อัล กะบีรฺ ٨٦٦٦ ١٤٦ ٩ ด้วยสายรายงานที่เศาะฮีหฺ ตามเงื่อนไขของ อัช ชัยคัยน์ 23 23 ด้วยมนุษย์มีธรรมชาติของการเพิกเฉยและหลงลืม มีความจําเป็น อย่างยิ่งต่ออัลกุรอานที่เป็นการรําลึก ซิกิรฺ ข้อเตือนสติ ซิกรอ และคํา ตักเตือน ตัซกิเราะฮฺ อัลลอฮฺตรัสว่า lYXWVUm ความว่า “ ( ) ( ) ”18 อัลลอฮฺตรัสว่า lÊÉÈÇm ความว่า “ ( )”19 อัลลอฮฺตรัสว่า l kjihgfedcba`_m }|{zyxw Jutsrqponm l«ª©¨§¦¥¤£¢¡ ~ ความว่า “ ( ) ( ) สูเราะฮฺอัล นะหฺลุ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺ อายะฮฺ 24 24 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ”2 เป็นที่จัดเจนว่า หากมนุษย์ปราศจากการสะกิดและเตือนสําทับจากอัลกุรอาน ก จะยังคงหลงลืม ก้าวเดินต่อไปยังไฟนรก ขอความคุ้มครองต่ออัลลอฮฺให้พ้น จากส าพเช่นนั้น การสะกิดและเตือนสําทับจากอัลกุรอานจะมีประ ยชน์เสมอกับ ู้ ศรั ทธาและยํ าเกรงอั ลลอฮฺ ในข ะที่ คนชั่ วนั้ นจะไม่ ได้ รั บประ ยชน์ จาก อัลกุรอาน เช่นที่อัลลอฮฺได้ตรัสว่า À ¿ ¾ ½ ¼ » º ¹ ¸ ¶ µm l Á สูเราะฮฺอัช ชูรอ อายะฮฺที่ 2 25 ความว่า “ ( ) ( )”21 1.2.4 อัลลอฮฺตรัสว่า lKJIHGFEDCm ความว่า “ ( ) ”22 อัลลอฮฺตรัสว่า lDCBAm ความว่า “ ”23 อัลลอฮฺตรัสว่า } | { z y x w v u t s rm l _~ สูเราะฮฺอัช ชุอะรออ์ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺอัล บะเกาะเราะฮฺ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺอัล นัมลุ อายะฮฺที่ 2 26 ความว่ า “ ”24 ทุก คนมีความจําเป็นที่จะต้องพยายามแสวงหาให้ได้มาซึ่งทางนํา ความเมตตา และบทเรียนจากอัลกุ รอานด้ วยการสร้ างความศรัทธาและ ความยําเกรง ดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการอ่านหรือศึกษาอัลกุรอาน 1.2.5 ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ สัลลัม กล่าวว่า ความหมาย “ ( ) ( )”25 ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ สัลลัม กล่าวว่า สูเราะฮฺยูนุส อายะฮฺที่ มุศอนนัฟ ของ อิบนุ อะบี ชัยบะฮฺ เลขที่ เศาะฮีหฺ อิบนุ หิบบาน เลขที่ และใน สิลสิ ละฮตุล อะหาดีษุศ เศาะฮีหะฮฺ ของ อัล อัลบานีย์ เลขที่ 2 27 ความหมาย “ ”26 นี่แหละคืออัลกุรอาน สายเชือกของอัลลอฮฺที่ ูกจับไว้และ ูกมัด มุสลิมหรือมุอ์มินเอาไว้ รวมทั้งสร้างความแขงแกร่งให้กับส านะของ อุม มะฮฺวาหิดะฮฺ ประชาชาติเดียวกัน ท่ามกลางกระแสฟตนะฮฺบททดสอบใน ดุนยาและการล่อลวงของชัยฏอนที่ ูกสาปแช่ง 1.2.6 อัลลอฮฺตรัสว่า ¡ ~ } |{ z y x w v u tm l¢ ความว่ า “ ”27 ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ สัลลัม กล่าวว่า ความหมาย “ ”28 ญามิอฺ อัล บะยาน ดย อัฏ เฏาะบะรีย์ เลขที่ สิลสิละตุล อะหาดีษิศ เศาะฮีหะฮฺ ดย อัล อัลบานีย์ เลขที่ สูเราะฮฺอัล อิสรออ์ อายะฮฺที่ 2 28 แน่ แท้ อัลกุ รอานนั้ นเป็ น อส เยี ยวยาบําบัดแก่ ทุก รค ทั้ง รคที่ เกี่ยวข้องกับร่างกาย เยียวยา รคทางจิต บําบัด ู้ติดยาเสพติด และ รคอื่น อีกด้วย 1.2.7 ท่านนบี ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ สัลลัม กล่าวว่า , , ความหมาย “ ( ) ( ) ”29 นั่นแสดงให้เหน ึง คือ พา ้ปู ฏิบัติตามไปสู่สวรรค์ ต้อน ้ปู ฏิเสธไปสู่ไฟนรก สุนัน อิบนิ มาญะฮฺ เลขที่ มุศอนนัฟ ดย อิบนุ อะบี ชัยบะฮฺ เลขที่ สิลสิละตุล อะหาดีษิศ เศาะฮีหะฮฺ ดย อัล อัลบานีย์ เลขที่ 2 29 1.2.8 ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ สัลลัม กล่าวว่า ความหมาย “ ”3 นี่คือหะดีษที่ได้กลายเป็นมาตร านที่ท่านอุมัร เราะ ิยัลลอฮุอันฮุ ใช้ในการเลือกคนเข้ารับการแต่งตั้งให้ทําหน้าที่สําคัญ หรือเป็นเจ้าหน้าที่ ระดับสูงของรั ด้วยการเลือกคนที่เป็น อะฮฺลุล กุรฺอาน ดัง จะได้อธิบายความหมายต่อไป แ 31 1.2.9 อัลลอฮฺตรัสว่า ltsrqponm ความว่า “ ( 32 ) มาชาอ์อัลลอฮฺ อัลลอฮฺ ู้ทรงเปยมล้นด้วยพระเมตตาทรงประสงค์ พระองค์ทรงทําให้เนื้อหาสาระของอัลกุรอานง่ายที่บ่าวของพระองค์จะศึกษา เศาะหี้หุ มุสลิม เลขที่ แหล่งอ้างอิงเดียวกัน สูเราะฮฺอัล เกาะมัรฺ อายะฮฺที่ ١٧ 3 30 ทําความเข้ าใจ เพื่อว่ าเขาจะได้ สํานึ กตนในชี วิตของการเดิ นทางไปสู่อาคิ เราะฮฺ แต่กระนั้นบ่าวของพระองค์กยังปฏิเสธที่จะศึกษาเรียนรูอัลกุรอานอยู่ ดี มนุษย์ทั่วไปกพลาดจากการได้รับบทเรียนจากอัลกุรอาน แม้กระทั่งคน มุสลิมเองกมีเพียงจํานวนน้อยจากจํานวนพัน ล้านคนในปจจุบันที่ต้ังใจ ศึกษาเรียนรู้อัลกุรอาน สุบหานัลลอฮฺ มหาบริสุทธิยิ่งแด่อัลลอฮฺ 1.2.1 อัลลอฮฺตรัสว่า a ` _ ^] \ [ Z Y X W V U m l cb ความว่ า “ ”33 นับเป็นหนึ่งในความเมตตาของอัลลอฮฺในมิติแห่งการปกปองความ สัจจริงของอัลกุรอาน กคือ การที่พระองค์ปกปองไม่ให้อัลกุรอาน ูกรบกวน ดยชัยฏอน ในข ะที่มีการประทานลงมาเป็นวะห์ยูแก่ท่านนบี ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ด้วยการพิทักษ ์ในรูปแบบต่าง จากกองทัพของอัลลอฮฺ สูเราะฮฺอัช ชุอะรออ์ อายะฮฺที่ 3 31 และด้วยความแขงแกร่งของมลาอิกะฮฺญิบรีล ู้เป็นทูตนําอัลกุรอานลงมา ซึ่ง เป็น ้มู ีอะมานะฮฺน่าเชื่อ ือเป็นที่สุด34 และนี่ ก คื อเหตุ ที่ ชั ยฏอนพยายามอยู่ เสมอในการรบกวนมนุ ษย์ และญิน เพื่อขัดขวางไม่ให้พวกเขาเข้าใกล้และศรัทธาต่ออัลกุรอาน ดังเช่น ที่อัลลอฮฺได้ตรัสไว้ว่า × ÖÕÔÓÒÑÐÏ ÎÍ ÌËÊm lÚÙØ ความว่า “ ”36 ด้วยเหตุดังกล่าวอัลลอฮฺจึงสั่งให้บ่าวของพระองค์ขอความคุ้มครอง ต่ อพระองค์ ให้ พ้ นจากการรบกวนของชั ยฏอนทุ กครั้ งที่ พวกเขาจะอ่ าน อัลกุรอาน อัลลอฮฺตรัสว่า ดู ตัฟสีรฺอิบนิ กะษีรฺ ในอายะฮฺที่ จากสูเราะฮฺ อัช ชุอะรออ์ สูเราะฮฺอัล มุญาดะละฮฺ อายะฮฺที่ 32 32 ltsrqponmm ความว่ า “ ”37 คือให้อ่านว่า ‫ﺎ‬ ‫اب‬ จงระลึกว่า ชัยฏอนไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือญิน คือศัตรู ู้ร้ายกาจ ของอัลกุรอานและทางนําแห่งอัลกุรอาน เพราะทางนําแห่งอัลกุรอานนําไปสู่ สวนสวรรค์ ในข ะที่ชัยฏอนเป็นชาวนรก ด้วยเหตุนี้ ใครกตามที่ไม่ศรัทธา ในอัลกุรอานหรือไม่ปฏิบัติตามอัลกุรอาน หรือเกียจคร้านที่จะอ่าน ศึกษา และท่องจําอัลกุรอาน ย่อมแสดงว่านั่นเป็น ลมาจากกลลวงของชัยฏอนที่ พยายามจะนําเขาไปสู่นรกอยู่ตลอดเวลา 1.2.11 อัลกุรอานนั้นเป็ นคั ม ี ร์ที่ ประเสริ ที่ สุดของอัลลอฮฺ ซึ่ งมี เนื้ อหา เกี่ยวกับบทบัญญัติที่ดีที่สุด ูกนําลงมา ดยมลาอิกะฮฺที่ดีที่สุดของอัลลอฮฺ นั่นคือ ญิบรีล อะลัยฮิสสลาม และลงมายังบ่าวที่ดีที่สุดของอัลลอฮฺ นั่นคือ ท่านนบีมุหัมมัด ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ลงมาบนหัวใจที่ประเสริ ที่สุดของท่านนบีมุหัมมัด ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม เพื่อเป็นของขวัญ แก่ประชาชาติที่เลิศที่สุด คอยเราะอุมมะฮฺ ด้วย าษาที่ดีที่สุดนั่นคือ าษา อาหรับ ในเดือนที่ประเสริ ที่สุดคือเดือนเราะมะ อน และในค่ําคืนที่ดีที่สุด สูเราะฮฺอัล นะหฺล์ อายะฮฺที่ 33 33 คือคืนลัยละตุลกอดรฺ ดินแดนที่ดีที่สุดคือดินแดนมักกะฮฺและมะดีนะฮฺ ซึ่ง จะนํามนุษย์ไปสู่เส้นทางที่เที่ยงธรรมที่สุด เพื่อกลับไปสู่ส านพํานักอัน ดีเลิศที่สุดในวันอาคิเราะฮฺ นั่นคือ สวนสวรรค์ อัล ญันนะฮฺ 34 34 วิธีที่จะรู้ ึงจุดประสงค์ที่แท้จริงของการประทานอัลกุรอานลงมานั้น คือ เราจะต้องสดับฟงคําชี้แจงจากพระองค์อัลลอฮฺ ู้ทรงประทานอัลกุรอาน และรับฟงจากท่านเราะสูลุลลอฮฺ ใน านะของ ู้ ที่เข้าใจดีที่สุด ึงจุดประสงค์ของการประทานอัลกุรอานลงมา ซึ่งเปาหมาย ของการประทานอัลกุรอานนั้น ประกอบด้วย 2.1 ( ) อัลลอฮฺ ตะอาลา ตรัสว่า ljihgfedcbm ความว่ า “ ( ) ( ) ( ) ( ) อัฏ เฏาะบะรีย์ กล่าวว่า คําว่า หมาย ึง การศึกษาเรียนรู้อย่าง จริงจังเกี่ยวกับเนื้อสาระของอายะฮฺ ที่ประกอบไปด้วย หลัก านต่าง ที่ สูเราะฮฺอัล อิสรออ์ อายะฮฺที่ 3 35 แสดง ึงสัจธรรม เพื่อว่าบรรดา ู้ที่มีปญญาจะสามาร ยอมรับคําสอนและ ปฏิบัติตามคําสอนได้ อัลลอฮฺตรัสว่า w v u t s r q p o nm l k m lx ความว่า “ ”4 อัลลอฮฺตรัสว่า lgfedcbam ความว่า “ ” นั่นแหละ คือสันดานของ ู้ปฏิเสธหรือ ู้สับปลับที่หัวใจของพวกเขา ูกปด พวกเขาไม่พยายามอย่างจริง จัง ที่จะศึกษาอัลกุรอาน หวังว่าเรา ใน านะของ ้ศู รัทธาจะไม่เป็นเยี่ยงนั้น ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า อัฏ เฏาะบะรีย์ ญามิอุล บะยาน สูเราะอัน นิสาอ์ อายะฮฺที่ สูเราะมุหัมมัด อายะฮฺที่ ٢٤ 3 36 ความหมาย “ ”43 นี่คือคําสั่งของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ให้ ประชาชาติของท่านศึกษาอัลกุรอาน ไม่ว่าจะเป็นการเรียนอ่านอัลกุรอาน เรียนเขียนอัลกุรอาน หรือเรียนเนื้อหาอัลกุรอาน ่านการอ่านและการเขียน ตามที่ได้กล่าวมา เป็นที่ชัดเจนว่า เปาหมายประการหนึ่งของการ # ประทานอัลกุรอานลงมาคือ เพื่อให้มุสลิมทุก คนอ่านอย่างพินิจพิจาร า ึงเนื้อหาสาระ ด้วยการใช้สติปญญา ความคิดที่สะอาด ในบรรยากาศที่ จิตใจ ร่างกาย อา ร ์ และส านที่สะอาดด้วย ทั้งนี้ กเพื่อให้สามาร ขจัด วั นธรรมแบบญาฮิลียะฮฺที่รับศาสนาตามบรรพบุรุษอย่างหลับหูหลับตา ดยปราศจากการอ่านทําความเข้าใจ จุดประสงค์ที่ว่านี้ได้ปรากฏขึ้นจริงแล้วหรือไม่ ระหว่างประชาชาติ อิสลามของเราใน ูมิ าคอาเซียนนี้ 2.2 อัลลอฮฺตรัสว่า q ponm lk ji hgfe dcm ltsr มุสนัด อัล อิมาม อะหฺมัด 337 ความว่า “ ( ) ( ) ( ) ”44 จึงเป็นที่เข้าใจชัดเจนว่า จุดประสงค์หนึ่งที่อัลกุรอาน ูกประทานลง มากเพื่ อมาเป็ นเหมื อนวิ ญญา ที่ ให้ ชี วิ ตแก่ มนุ ษย์ ที่ มี องค์ ประกอบทั้ ง ร่างกายและวิญญา ด้วยการนําวิญญา แห่งเตาฮีด ไม่มีพระเจ้าอื่นใด นอกจากข้ า อั ลลอฮฺ มาให้ กั บเขา นั่ นแหละคื อส านะที่ แท้ จริ งของ อัลกุรอาน ที่ทําหน้าที่ในการนําเตาฮีดอันมีส านะเป็น วิญญา สําหรับ วิ ญญา ของมนุษย์ อีกคํ ารบหนึ่ ง ้ าหากวิ ญญา ของมนุษย์ ปราศจาก ความเชื่อแห่งเตาฮีดต่ออัลลอฮฺ แน่แท้ว่า ึงแม้จะมีร่างกายและวิญญา อยู่ กยังเหมือนว่าเขา ้นู ้นั เป็นศพดี นี่เอง วัลลอฮุอะอฺลัม 2.3 อัลลอฮฺตรัสว่า ^]\[ ZYXWVUTSRm lba`_ สูเราะฮฺอัน นะห์ลฺ อายะฮฺที่ 3 38 ความว่า “ ( ) ( ) ”45 เปาหมายสําคัญประการหนึ่งของการประทานอัลกุรอานลงมา คือ การนํามนุษย์ออกจากวิ ีชีวิตแบบญาฮิลียะฮฺอันเป็นสิ่งที่มนุษย์ที่มากด้วย ความไม่รู้เกี่ยวกับชีวิตของตนเองสร้ างขึ้นและเตมไปด้ วยอันตราย สู่แสง สว่างของอิสลามที่เป็นวิ ีชีวิตที่ดีที่สุด จากอัลลอฮฺ ‫ﻠ‬ ที่นํามาซึ่ง ลประ ยชน์ของมนุษย์ท้ังใน ลกนี้และใน ปร ลก อัลลอฮฺ ตะอาลา ตรัสว่า ZYXWVUTSRQPOm l^]\[ ความว่า “ ( ) ( ) ( )”46 สูเราะฮฺอิบรอฮีม อายะฮฺที่ สูเราะฮฺอัล อิสรออ์ อายะฮฺที่ 3 39 ดั งกล่ าวนั้ นคื อ ความสํ าเรจที่ ยิ่ งใหญ่ สองประการของบรรดา ู้ ศรัทธา จากการนําของอัลกุรอานได้แก่ วิ ี ชี วิ ต ที่ ดี ที่ สุ ด ใน ลกนี้ นั่ น คื อ การศรั ท ธาและการ ประกอบการงานที่ ดีในทุ ก ด้ านของการดําเนิ นชี วิต ทั้ งใน ระดับปจเจกบุคคล ครอบครัว สังคม และประเทศ ทั้งที่เป็น หน้าที่ต่ออัลลอฮฺ หน้าที่ต่อปวงบ่าวของพระองค์ และหน้าที่ต่อ สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง และแจ้งข่าวดีแก่บรรดา ู้ศรัทธา และประกอบการงานที่ดีงามทั้งหลาย ซึ่งวิ ีชีวิตที่เที่ยงตรงนี้ จะนํ าไปสู่ ชี วิ ตที่ เจิ ดจรั สทั้ งในดุ นยา และในอาคิ เราะฮฺ ด้ วย ลตอบแทนคือ คือ สวนสวรรค์ อันเป็น ลบุญที่ใหญ่ที่สุดในอาคิเราะฮฺ สําหรับพวกเขาคือรางวัลตอบแทนอันยิ่งใหญ่ สิ่งที่น่า ามกคือ จุดประสงค์ในการประทานอัลกุรอานข้อนี้ ได้รับ การให้ ความสํ าคั ญและใส่ ใจจากชาวมุ สลิ ม ดยเฉพาะอย่ างยิ่ งบรรดา อุละมาอ์ของพวกเขา แล้วหรือไม่ 2.4 อัลลอฮฺตรัสว่า lXWVUTSm 4 40 ความว่า “ ( ) ” เปาหมายที่อัลลอฮฺประทานอัลกุรอานลงมากเพื่อ ให้ปวงบ่าวของ พระองค์ศรัทธาในอัลกุรอาน และ ้า ามว่า จะศรัทธาในอัลกุรอานอย่างไร คําตอบกคือ การศรัทธาในอัลกุรอานคือ การศรัทธาว่าอัลกุรอานคือพระดํารัส ของอัลลอฮฺ ไม่ใช่สิ่งที่พระองค์ทรงสร้าง มัคลูก ูกประทานลงมายังท่านนบี มุหัมมัด ศอลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในรูปที่เป็นวะหฺย์ วิวร ์ เพื่อให้เป็น วิ ีชีวิตสําหรับมวลมนุษยชาติ มนุษย์ ูกกําชับให้ทําหน้าที่ศึกษาทําความ เข้ าใจ อ่ าน และนํ าคํ าสอนซึ่ ง ื อเป็ นคํ าสอนที่ ดี ที่ สุ ดสํ าหรั บมนุ ษยชาติ และญินมาใช้เป็นข้อตัดสินชี้ขาด เป็นก หมาย ทั้งในระดับปจเจกบุคคล ครอบครัว สังคม และประเทศ เพื่อเป็นเกียรติยศ ความเจริญก้าวหน้า และ ความสุขทั้งใน ลกนี้ และในปร ลก แก่นสารประการหนึ่งของการศรัทธาในอัลกุรอานคือ การยึดมั่น ในอัลกุรอาน ดังที่อัลลอฮฺตรัสว่า l gf e d c b am ความว่า “ ( ) ( ) ( )”48 สูเราะฮฺอัล บะเกาะเราะฮฺ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺอาลิ อิมรอน อายะฮฺที่ 4 41 พึงทราบเ ิดว่า การศรัทธาในอัลกุรอานและการยึดมั่นในคําสอน ทั้ งหมดของอัลกุรอานคื อราก านแห่ งความสามัคคี ของอุมมะฮฺวาหิ ดะฮฺ ประชาชาติ เดี ยวกัน และในทางตรงกันข้ าม การละทิ้ งจากการยึดมั่นใน อัลกุรอาน คือสาเหตุแห่งความแตกแยกของประชาชาติอิสลาม 2.5 อัลลอฮฺตรัสว่า ONM L KJIHGF EDCm l_^]\[ZYXWVU TSRQJ ความว่า “ ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ”49 นั่นคื อเปาหมายที่อัลกุ รอาน ู กประทานลงมา คื อ เพื่อให้ ท่ านบี มุหัมมั ด ศอลลั ลลอฮุ อะลั ยฮิ วะสัลลัม และเหล่ าอุ ละมาอ์ ู้เป็นเสมื อน ทายาทของบรรดานบี นํามาใช้เตือนสําทับแก่บรรดา ูปฏิเสธ และใช้เตือนสติ บรรดา ู้ศรัทธา เ ื่อว่าพวกเขาจะได้ปฏิบัติตามแต่คําสอนของอัลกุรอาน สูเราะฮอัล อะอฺรอฟ อายะฮฺที่ 42 42 เท่านั้น หาใช่ปฏิบัติตามคําสอนอื่นไม่ ทว่า ดูเหมือนว่า ไม่มี ู้สามาร บรรลุ เปาหมายอันบริ สุทธิ ยิ่ งของอัลกุ รอานนี้ ได้ นอกจาก ู้คนจํานวนน้ อยนิ ด เท่านั้น ทั้งนี้กเพราะด้วยเหตุอุปสรรคขวางกั้นที่เป็นความคิดมดเทจต่าง นานาที่ งรากลึกลงในชีวิตของประชาชาชาติและสังคมมุสลิมเองมานานนับ ศตวรรษ ดยเฉพาะเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศอาเซียน ไม่ว่าความคิด เหล่านั้นจะเป็นความ ิดของประชาชาติอิสลามเองหรือจากศัตรูอิสลามที่ได้ แทรกซึมเข้ามา ดยที่ประชาชาติอิสลามไม่รู้ตัว สุบหานัลลอฮฺ มหาบริสุทธิ ยิ่งแด่อัลลอฮฺ 2.6 อัลลอฮฺตรัสว่า x w v u t s r q p o nm la`_~}|{zy ความว่า “ ( ) ( ) ”5 และอัลลอฮฺตรัสว่า สูเราะฮฺอัล บะเกาะเราะฮฺ อายะฮฺที่ 43 43 yxwvutsrq pom lihgfedcba`_~}|{z ความว่า “ ( ) ( ) ( ) ”51 เปาหมายประการหนึ่งของประทานอัลกุรอานลงมา คือ การให้คํา ตัดสินชี้ขาดด้วยสัจธรรมของอัลกุรอานต่อทุก ปญหาและความขัดแย้งที่ เกิดขึ้นในระหว่างมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นมุสลิมหรือไม่ใช่มุสลิม เพราะจะไม่มีคํา ตั ดสิ นอื่ นที่ จริ งและมี ความยุ ติ ธรรมต่ อความขั ดแย้ งที่ เกิ ดขึ้ นในระหว่ าง มนุษย์ใน ลกนี้ นอกจากคําตัดสินที่มาจากอัลกุรอานที่ได้ ูกประทานลงมา จากอัลลอฮฺ ู้ทรงเป็นพระ ู้สร้างมนุษย์และเป็น ู้ทรงรู้ดียิ่ง ึงธรรมชาติ ปญหา และความต้องการของพวกเขา 2.7 อัลลอฮฺตรัสว่า lNNN|{zyx wvm สูเราะฮฺอัล มาอิดะฮฺ อายะฮฺที่ 44 44 ความว่า “ ( 52 ) ” อั ฏ เฏาะบะรี ย์ กล่ าวว่ า ความหมายของคํ าว่ า หิ กมะฮฺ วิ ทย ปญญา กคือ วะหฺย์หรือวิวร ์แห่งอัลกุรอานและสุนนะฮฺ53 อัลลอฮฺตรัสว่า l©¨§¦¥¤£m ความว่ า “ ( ) ( )”54 ารกิจดังกล่าว ือว่าเป็นการญิฮาดที่ยิ่งใหญ่ ญิฮาดันกะบีรอ ใน มุมมองของอัลลอฮฺ นี่คือ ารกิจญิฮาดอันยิ่งใหญ่ที่ ูกระบุในอัลกุรอาน อายะฮฺดังกล่าวนี้เพียงที่เดียวเท่านั้น นั่นคือการมุ่งมั่นจริงจังเ ยแพร่คําสอน ของอัลกุรอานที่เปยมล้นด้วยความเมตตาของอัลลอฮฺไปสู่มนุษยชาติท้งั มวล สูเราะฮฺอัน นะห์ลฺ อายะฮฺที่ ตัฟสีรฺ ญามิอุลบะยาน ของ อัฏ เฏาะบะรีย์ สูเราะฮฺอัล ฟุรฺกอน อายะฮฺที่ 4 45 การที่จะบรรลุ ึงเปาหมายของการประทานอัลกุรอานลงมานั้น มี วิธีการหลายประการดังนี้ 3.1 ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรับสนองคําสั่งแรกของอัลลอฮฺ ที่ว่า lonmlkm ความว่า “ ”55 นี่ คื อคํ าบั ญชาแรกที่ อั ลลอฮฺ ได้ ทรงสั่ งปวงบ่ าวของพระองค์ ซึ่ ง แนวทาง หรือวิธีการที่ดีที่สุดในการรับเนื้อหาของอัลกุรอานที่จริง แล้วก คือ “ ” อันเป็นวิ ีชีวิตของบ่าวของพระองค์ ซึ่ง มุสลิมคนหนึ่งจะรับศาสนาของอัลลอฮฺได้อย่างไร ดยไม่อ่านอัลกุรอานอย่าง พิจาร าใคร่ครวญด้วยพระนามของอัลลอฮฺ สุบหานัลลอฮฺ อัลลอฮฺตรัสว่า lba`_^m ความว่า“ ( ) ”56 อัลลอฮฺตรัสว่า สูเราะฮฺอัล อะลักฺ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺอัล มุซซัมมิล อายะฮฺที่ 4 46 lponm ความว่า “ ( ) ” 57 อับดุลลอฮฺ บิน อัมร์ บิน อัล อาศ เราะ ิยัลลอฮุอันฮุมา กล่าวว่า ความหมาย “ ” ท่านเราะสูลุลลอฮฺ จึงกล่าวว่า , ความหมาย “ ( ) ” ฉันกล่าวว่า อ้ท่านนบีของอัลลอฮฺ จริง แล้วฉันมีความสามาร มากกว่านั้น ท่านตอบว่า ดังนั้นจงอ่านให้จบทุก ยี่สิบวัน ฉันกล่าวว่า อ้ ท่านนบีของอัลลอฮฺ จริง แล้วฉันมีความสามาร มากกว่านั้น ท่านตอบว่า ้าเช่นนั้น ดังนั้นจงอ่านให้จบในทุก สิบวัน ฉันกล่าวว่า อ้ท่านนบี ของอัลลอฮฺ จริง แล้วฉันมีความสามาร มากกว่านั้น ท่านตอบว่า ดังนั้น จงอ่านอัลกุรอานให้จบทุก เจดวัน และอย่าอ่านมากกว่านั้นหรืออย่าอ่าน ให้จบน้อยกว่าเจดวัน สูเราะฮฺอัล นัมลุ อายะฮฺที่ 4 47 อับดุลลอฮฺรําพึงว่า ฟงจากที่ท่านนบีเตือนฉันแล้ว ดูเหมือนว่ า ตอนแรกนั้ นฉั นได้ กํ าหนด าระหนั กกั บตั วฉั นมากเหลื อเกิ น กล่ าวคื อ กําหนด าระให้กับตนเองหนักเกินไป ท่านนบี ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ สัลลัมกล่าวว่า แท้จริงเจ้าไม่รู้ เ ื่อว่าบางทีเจ้าอาจจะมีอายุยืน เจ้ายังต้องอาศัยแรงของเจ้าอยู่ ดังนั้น จง อย่าหัก หม แต่ให้ออมแรงไว้ยามแก่ด้วย ซึ่งปรากฏว่าอัลลอฮฺให้ฉันมีอายุยืนเหมือนกับที่ท่านนบีบอกจริง และเมื่อ ึงอายุปูนนี้แล้ว ฉันปราร นาเหลือเกินว่า ้าหากสามาร ย้อนกลับ ไปปฏิ บั ติ ตั วแบบ ่ อนปรนในตอนหนุ่ ม เกี่ ยวกั บเรื่ องจํ านวนวั นของการ อ่านอัลกุรอานจบเหมือนเช่นที่ท่านนบี ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้เคย แนะนําไว้ นั่น เป็นหนึ่งในเปาหมายของการประทานอัลกุรอานลงมา คือเพื่อ การอ่ าน ซึ่ ง่ ที่ ดี น้ั นคื ออ่ านวั นละหนึ่ ง ุ ซอ์ ทุ ก วั น ทํ าให้ สามาร อ่ าน อั ลกุรอานได้ จบเล่ มหนึ่ งครั้ งในหนึ่ งเดื อน อย่ างเช่ นที่ท่ านเราะสูลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ สัลลัมได้ชี้แนะว่า จงอ่านอัลกุรอานให้จบเล่มหนึ่ง ครั้งในทุก เดือน หรืออย่างน้อยกอย่าให้มากกว่าสี่สิบวันต่อการอ่านจบ เล่มหนึ่งครั้ง แต่หากมีความสามาร มากกว่านั้น เช่นให้จบ ายในยี่สิบวัน จนไป ึงการอ่านจบในทุก เจดวัน หรือทุก สามวัน กย่อมทําได้ตาม ความสามาร ขออัลลอฮฺประทานเตาฟก มุตตะฟะกุน อะลัยฮิ อัล บุคอรีย์ มุสลิม ดูหะดีษของอัต ติรมิซีย์ เป็นหะดีษหะสัน เศาะฮีหฺ อัล ญามิอฺ อัศ เศาะ ีรฺ หมายเลข ดูหะดีษของอิมาม อะห์มัด หมายเลข เศาะฮีหฺ อัล ญามิอฺ อัศ เศาะ ีรฺ หมายเลข 4 48 3.2 อัลลอฮฺตรัสว่า l±°¯®¬«ª©m ความว่ า “ ( ) ( )”61 และเพื่อให้เข้าใจอายะฮฺข้างต้นอย่าง ่องแท้มากขึ้น จงพิจาร าพระ ดํารัสของอัลลอฮฺที่ว่า l]\ [ Z Y X W V U TS R Qm ความว่ า “ ( ) ”62 จากอายะฮฺดังกล่าวข้างต้นนี้ ทําให้เราเข้าใจชัดเจนว่า การจะได้รับ ประ ยชน์จากอัลกุรอานนั้น ต้องฟงด้วยความเงียบและนิ่งอย่างตั้งใจ ด้วย หัวใจที่อยู่กับเนื้อกับตัว และมุ่งมั่นแน่วแน่ในการสดับรับฟง ซึ่ง ลของการ สูเราะฮฺอัล อะอฺรอฟ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺกอฟ อายะฮฺที่ 4 49 ตั้งใจฟงและนิ่งเงียบดังกล่าวกคือการได้รับความเมตตาจากอัลลอฮฺ เ ื่อว่า สูเจ้าจะได้รับความเมตตา 3.3 ู้ที่อ่านอัลกุรอาน ไม่ว่าจะเป็นการอ่านจากความจํา หรือการอ่าน จากอัลกุรอานที่เป็นเล่ม ือว่าเป็น ู้ที่พยายามจะเป็น ( ) และคนพิเศษที่ใกล้ชิดสําหรับอัลลอฮฺ เป็น ู้ที่จะรับคําบัญชา ของอัลลอฮฺและนําเอาสุนนะฮฺของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสั ลลั ม มาปฏิ บัติ และเป็ นเสมื อน ู้ ที่ กํ าลั งหั นหน้ าเข้ าหาสํารับอาหาร ของอัลลอฮฺ ลองมาพิ จาร าดู อายะฮฺ ที่ กล่ าว ึ งความประเสริ ของ ู้ อ่ าน อัลกุรอานว่า Æ Å Ä Ã Â Á À ¿ ¾ ½ ¼m ÐÏÎÍÌËÊÉÈÇ lÕÔÓÒÑ ความว่า “ 50 ”64 และอัลลอฮฺตรัสว่า ldcba`_m ความว่ า “ ”65 มีหะดีษเกี่ยวกับความประเสริ ของการอ่านและฟงอัลกุรอานอยู่ หลายหะดีษ เช่น ความหมาย“ ”67 ความหมาย “ ”68 สูเราะฮฺฟาฏิรฺ อายะฮฺที่ สูเราะฮฺอัล อัมฟาล อายะฮฺที่ อัซ ซุฮฺดุ ของท่านอิบนุล มุบารอก เลขที่ อัล มุสตัดรอก เลขที่ เศาะหี้หุล ญา มิอิศ เศาะ ีรฺ เลขที่ เศาะฮีหฺ มุสลิม เลขที่ 51 ความหมาย “ ( ) ( ) ( )”69 , ความหมาย “ ”7 , หะดีษ ดยอบู ดาวูด เลขที่ อัต ติรมิซีย์ เลขที่ ท่านบอกว่า หะสัน เศาะฮีหฺ อะห์มัด หะดีษ ดย มุสลิม เลขที่ 2 52 ความหมาย “ ( ) ”72 , ความหมาย “ ”73 และมีคําพูดจากอิบนุ มัสอูด เราะ ิยัลลอฮุอันฮุ ว่า ความหมาย ใครกตามที่ ปราร นาอยากจะให้ อั ลลอฮฺ และเราะสู ลของ พระองค์รักเขา กจงดู พิจาร าดู ้าหากเขารักอัลกุรอาน ด้ วยการอ่าน การศึกษา การฟงด้วยความใคร่ครวญ และการสอน กแสดงว่าเขารักอัลลอ ฮฺและเราะสูลของพระองค์ ซึ่งหมาย ึงว่าอัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ก รักเขาด้วย มุสนัด อัล อิมาม อะหฺมัด เลขที่ ความหมายของหะดีษอิบนุ หิบบาน ในเศาะฮีหฺของท่าน เลขที่ สิลสิละตุล อะหาดีษิศ เศาะหี้หะฮฺ เลขที่ ความหมายของหะดีษอิบนุ หิบบาน ในเศาะฮีหฺของท่าน เลขที่ สิลสิละตุล อะหาดีษิศ เศาะหี้หะฮฺ เลขที่ 3 53 3.4 หมาย ึง การเรียนเกี่ยวกับการอ่านพร้อมทั้งทําความเข้าใจเนื้อหา สาระของอัลกุรอาน ซึ่งมีความประเสริ หลายประการเช่น จากอุ ษมาน บิ น อั ฟฟาน เราะ ิ ยั ลลอฮุ อั นฮุ จากท่ านเราะสู ลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ว่า ท่านกล่าวว่า ความหมาย “ ”75 เป็นที่ชัดเจนว่า การเรียนและสอนอัลกุรอานนั้น ประเสริ กว่าการ เรียนและการสอนอย่างอื่นนอกจากอัลกุรอาน ซึ่งแน่นอนความประเสริ ดังกล่าวนี้ครอบคลุม ึงทุกรูปแบบของการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นการเรียนอ่าน การเรียนท่องจํา และ ดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาสาระและคํา สอนของอัลกุรอาน จากหะดีษนี้ ท่านอิมาม สุฟยาน อัษ เษารีย์ เหนว่า คุ ค่าความ ประเสริ ของบรรดา ้ทู ี่สอนอัลกุรอานนั้นมีมากกว่า ้ทู ี่ทําการญิฮาด จากอบู ซั รฺ เราะ ิ ยั ลลอฮุ อั นฮุ กล่ าวว่ า ท่ านเราะสู ลุ ลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะ สัลลัม กล่าวว่า เศาะฮีหฺ อัล บุคอรีย์ เลขที่ เศาะฮีหฺ อัล บุคอรีย์ เลขที่ ٥ ٢٨ 4 54 , ความหมาย “ ( ) ( ) ”77 ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศอลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า , , ความหมาย“ อัล

Use Quizgecko on...
Browser
Browser