ข้อสอบหลักสูตร ระดับ ปวช 2567 PDF
Document Details
Uploaded by ElegantIdiom
Tags
Related
- Education System In India (Class Notes) PDF
- Vocational High School Managers' Views on Students' Global Citizenship Attributes (PDF)
- Technical Vocational Education - Quarter 3 PDF
- Effects of Demographic Characteristics, Educational Background, and Supporting Factors on ICT Readiness of Technical and Vocational Teachers in Malaysia PDF
- Technical-Vocational Education (TVE) Carpentry PDF
- Need And Importance Of Skill Development In Formal Education PDF
Summary
This document contains multiple-choice questions for vocational education. These questions cover various aspects such as educational systems, curriculum, and assessment.
Full Transcript
ข้อสอบหลักสูตร ระดับ ปวช. และ ปวส. 1.การจัดการศึกษาโดยรูปแบบการศึกษาในระบบ และรูปแบบการศึกษาระบบ ทวิภาคี ระดับ ปวช. ใช้ระบบใด ก.ระบบทวิภาค (Semester System) ข.ระบบตรีภาค (Trimester System) ค.ระบบชุดวิชา (Module System) ง. ถูกทุกข้อ 2. ระดับ ปวช. 1 ภาคเรียน ต้องม...
ข้อสอบหลักสูตร ระดับ ปวช. และ ปวส. 1.การจัดการศึกษาโดยรูปแบบการศึกษาในระบบ และรูปแบบการศึกษาระบบ ทวิภาคี ระดับ ปวช. ใช้ระบบใด ก.ระบบทวิภาค (Semester System) ข.ระบบตรีภาค (Trimester System) ค.ระบบชุดวิชา (Module System) ง. ถูกทุกข้อ 2. ระดับ ปวช. 1 ภาคเรียน ต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่ากี่สัปดาห์ ก.ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ข.ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ ค.ไม่นอ้ ยกว่า 18 สัปดาห์ ง. ไม่น้อยกว่า 20 สัปดาห์ 3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการคิดหน่วยกิต ก.ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมระหว่าง 80 - 90 หน่วยกิต ข.ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมระหว่าง 90 - 100 หน่วยกิต ค.ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมระหว่าง 100 - 110 หน่วยกิต ง.ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมระหว่าง 110 - 120 หน่วยกิต 4.โครงสร้างของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2567 แบ่ง ออกเป็น ก. 2 วิชา ข. 3 วิชา ค. 4 วิชา ง. 5 วิชา 5.โครงสร้างของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2567 แบ่ง ออกเป็น 3 วิชา ข้อใด ไม่ใช่ ก. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ข. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ง. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 6.โครงสร้างหลักสูตรระดับ ปวช. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต ข. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 50 หน่วยกิต ค. หมวดวิชาเลือกเสรี มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต ง. กิจกรรมเสริมหลักสูตร อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมงทุกภาคเรียน หรือไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 20* กลาง 70*ชีพ 10*เลือก 2/36เสริม* 7.การคิดหน่วยกิต ระดับ ปวช ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย 18 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผลมีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ข. รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 36 ชั่วโมงต่อภาคเรียนรวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ค. การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ที่ใช้เวลา ไม่น้อยกว่า 80 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าเท่ากับ 2 หน่วยกิต ง. การทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงต่อภาคเรียนรวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 8.การจัดการอาชีวศึกษากาหนดให้มีการฝึกประสบการณ์ จากสถาน ประกอบการ ข้อใดถูกต้อง ก. ไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน ข. ไม่น้อยกว่า 2 ภาคเรียน ค.ไม่น้อยกว่า 3 ภาคเรียน ง.ไม่น้อยกว่า 4 ภาคเรียน 9.การจัดทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ข้อใดถูกต้อง ก. ไม่น้อยกว่า 210 ชั่วโมง จานวน 4 หน่วยกิต ข. ไม่น้อยกว่า 212 ชั่วโมง จานวน 4 หน่วยกิต ค. ไม่น้อยกว่า 214 ชั่วโมง จานวน 4 หน่วยกิต ง. ไม่น้อยกว่า 216 ชั่วโมง จานวน 4 หน่วยกิต 10. การจัดรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ โดยในการกาหนดให้ เป็นสาขาวิชาใด ต้องมีจานวน หน่วยกิตของกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐานและ กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ก.รวมไม่น้อยกว่า 25 หน่วยกิต ข.รวมไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ค.รวมไม่น้อยกว่า 35 หน่วยกิต ง.รวมไม่น้อยกว่า 40 หน่วยกิต 11.กาหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตรและการ จัดการเรียน การสอนในสาขาวิชาที่เปิดสอน มีกี่ด้าน ก.2 ด้าน ข.3 ด้าน ค.4 ด้าน ง. 5 ด้าน 12.กาหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตรและการ จัดการเรียน การสอนในสาขาวิชาที่เปิดสอน ข้อใดไม่ใช่ ก. หลักสูตรที่ยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพ ข. ครู ทรัพยากรและการสนับสนุน ค. วิธีการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ง. การประยุกต์ใช้ 13.ให้สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาจัดให้มีการประเมินและ รายงานผลการใช้หลักสูตร ให้สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทราบ อย่างน้อย ก. อย่างน้อยทุก 3 ปี ข. อย่างน้อยทุก 4 ปี ค. อย่างน้อยทุก 5 ปี ง. อย่างน้อยทุก 7 ปี 14. อัตราส่วนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อ ภาคปฏิบัติในหมวดวิชา สมรรถนะวิชาชีพ ก. 20 : 80 ข. 30 : 70 ค. 40 : 60 ง. 80 : 20 การวัดและประเมินผล ระดับ ปวช. 15.การนับเวลาเรียนเพื่อสิทธิในการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ก.นักเรียนต้องมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ข.นักเรียนต้องมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ค.นักเรียนต้องมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ง.นักเรียนต้องมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 85 16. นายช่างยนต์ ได้คะแนนวัดผล 73 คะแนน ถือว่าอยู่ในระดับใด ก.ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์พอใช้ ข.ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี ค.ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี ง.ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีมาก 17.ให้ใช้ตัวอักษรแทนการ “ไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน” ก.ม.ผ. ข.ข.ป. ค. ข.ร. ง. ม.ส. 18. ให้ใช้ตัวอักษรแทนการ “ขาดการวัดผลปลายภาคเรียน โดย สถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผลสมควร” ก.ม.ผ. ข.ข.ป. ค. ข.ร. ง. ม.ส. 19.ระเบียนแสดงผลการเรียนผู้สาเร็จการศึกษา ปวช คือ ก.ปพ.1 ปวช. ข.“รบ. ๑ ปวช.” ค. “รบ.๒ ปวช.” ง. “รบ. 3 ปวช.” 20.แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา ปวช คือ ก.ปพ.1 ปวช. ข.“รบ. ๑ ปวช.” ค. “รบ.๒ ปวช.” ง. “รบ. 3 ปวช.” 21ใบรับรองสภาพการเป็นนักเรียน หรือใบรับรองผลการเรียนมีอายุ ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 120 วัน 22. ผู้ที่จะสาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช. ต้องมีเกรดเฉลี่ย ก. 1.00 ข. 1.50 ค. 2.00 ง. 2.50