Ethnic Conflicts and Violence PDF
Document Details
Uploaded by LawfulSanDiego6005
Thammasat University
Tags
Summary
This document provides an overview of ethnic conflicts and violence. It discusses the causes and impacts of such conflicts, drawing examples from different regions. The document is a series of notes or lecture materials.
Full Transcript
ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุแ์ ละความรุนแรง Ethnic Conflicts and Violence (1.1) ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ:์ ความหมาย สภาวะความไม่ลงรอยกัน (disagreement) การโต้แย้ง (argument) ระหว่างกลุม่ คนทีม่ คี วามแตกต่างทางชาติพนั ธุแ์ ละอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และใช้ชวี ติ อยู่ ร่วมกันในสังคมหนึ่ง ความขั...
ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุแ์ ละความรุนแรง Ethnic Conflicts and Violence (1.1) ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ:์ ความหมาย สภาวะความไม่ลงรอยกัน (disagreement) การโต้แย้ง (argument) ระหว่างกลุม่ คนทีม่ คี วามแตกต่างทางชาติพนั ธุแ์ ละอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และใช้ชวี ติ อยู่ ร่วมกันในสังคมหนึ่ง ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ์ ไม่ใช่แค่เหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างบุคคล... แต่เป็ น ความขัดแย้งเชิงโครงสร้าง (structural conflict) ทีเ่ กิดขึน้ จาก –ปั ญหาเชิงโครงสร้างทีก่ าหนดความสัมพันธ์ของพวกเขา –แบบแผนความสัมพันธ์ทม่ี กี ารกดขี่ (oppression) –มีสาเหตุซบั ซ้อน (ไม่ได้มสี าเหตุเดียว) ความขัดแย้งมักยืดเยือ้ สถานการณ์ความขัดแย้งเปลีย่ นแปลงและมีพลวัตไปตาม บริบททีเ่ ปลีย่ นแปลงไป (1.2) ปัญหาความขัดแย้งทางชาติพนั ธุข์ นาดใหญ่ ความขัดแย้งชาติพนั ธุท์ ม่ี รี ฐั เป็ นคูข่ ดั แย้งมีแนวโน้มเป็ นปั ญหาขนาดใหญ่ รัฐชาติสมัยใหม่เน้นสร้างชาติทม่ี เี อกภาพทางวัฒนธรรม ระแวงว่าชาติพนั ธุ์ ชาตินิยมอาจนามาสูก่ ารขอแบ่งแยกดินแดน จึงใช้นโยบาย “หลอมรวม” (incorporation) หรือ “ขับไล่” (expulsion) รัฐฯเป็ นฝ่ ายได้เปรียบ เพราะมีศกั ยภาพและทรัพยากรมากกว่า เช่น ระบบราชการ กองทหาร อาวุธ ท่าทีของรัฐสาคัญ หากเน้นกดขีม่ ากกว่าเจรจา ความขัดแย้งจะยืดเยือ้ และ กลายเป็ นความรุนแรงได้ ตัวอย่าง ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ์ กองกาลังชาติพนั ธุก์ ลุ่มต่างๆสูก้ บั กองทัพของรัฐพม่ามาตัง้ แต่ 1949 หลัง 1990 เจรจาให้บางส่วนมาเป็ นฝ่ ายเดียวกับกองทัพพม่า กลุ่มเจรจาไม่ได้รบต่อไป หลัง การเปิ ดประเทศ 2012 หันมายอมรับการเจรจาหยุดยิงระดับทัง้ ประเทศ แต่การ ทารัฐประหาร 1 กุมภาพันธ์ 2021 ยิง่ ทาให้สถานการณ์กลับเลวร้ายอีก ชนกลุม่ น้อยทีถ่ กู รัฐหวาดระแวงสงสัยในพฤติกรรม เช่น เขมรน้าทางภาคใต้ กลุ่ม Montagnard ในภาคกลางเวียดนาม หนีเข้ามาในกัมพูชาและไทย เพราะ ถูกตารวจจับกุมและคุมขัง พวกเขาไม่สามารถรวมตัวเคลือ่ นไหวได้ และไม่ สามารถทาพิธศี าสนาหรือฉลองคริสต์มาสได้ ตัวอย่าง ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ์ ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลจีน (ฮัน) ่ และคนอุยกูร์ ในมณฑลซินเจียง การสร้างค่ายกักกัน (internment camp) จานวน 1,200 แห่ง กักขังคนอย่างน้อย 800,000 คน https://www.youtube.com/watch?v=WmId2ZP3h0c (1.3) สาเหตุมีส่วนร่วมในความขัดแย้ง ชนชัน้ นามีบทบาททางความคิดและการระดมทรัพยากรเพือ่ ลงมือปฏิบตั กิ าร การแสดงตนว่าเป็ นผูน้ าปกป้ องกลุ่มชน ชนชัน้ นาของกลุ่มได้รบั ผลประโยชน์อย่างไร สาเหตุมีส่วนร่วมในความขัดแย้งชนกลุ่มน้ อย มุมมองด้านผลประโยชน์ทเ่ี ป็ นวัตถุ ความไม่พอใจต่อสภาพถูกทิง้ ให้ดอ้ ยพัฒนา ความรูส้ กึ ถูกเอาเปรียบ ถูกแย่งชิงทรัพยากร ความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจ (ว่างงาน รายได้ต่า ถูกเลือกปฏิบตั ิ ไม่ได้รบั สวัสดิการ) การต้องการแบ่งแยกดินแดน (secessionism) หรือเอกราชเหนือดินแดน (territorial autonomy) มุมมองด้านผลประโยชน์ทไ่ี ม่ใช่วตั ถุ ความรูส้ กึ คับข้องใจ (grievance) อันเนื่องมาจากการถูกคุกคาม และใช้กาลังกดขี่ บังคับ เช่น เขมรและชาวเขาในเวียดนาม ชาติพนั ธุช์ นกลุม่ น้อยในเมียนมา ความรูส้ กึ สูญเสียวัฒนธรรม (cultural deprivation) การเรียกร้องความเป็ นธรรม (ไม่ใช่ความอยากทัวๆไป)่ ชาติพนั ธุช์ าตินิยม และการเมืองอัตลักษณ์ ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุท์ ย่ี ดื เยือ้ มีโอกาสพัฒนาไปสูค่ วามรุนแรง (violence) (2.1) ความรุนแรงทางชาติพนั ธุ:์ ความหมาย การใช้กาลังทาร้ายร่างกายกลุ่มชาติพนั ธุท์ เ่ี ป็ นคูค่ วามขัดแย้ง โรฮิงยา: การฆ่า การข่มขืน การเผาหมูบ่ า้ น รัฐเผด็จการมีแนวโน้มใช้กาลังความรุนแรงสูง ความรุนแรงส่วนใหญ่เป็ นผลผลิตของความขัดแย้งเชิงโครงสร้าง + เหตุการณ์เฉพาะ หน้า เช่น โฆษณาชวนเชือ่ ข่าวลือ จนเกิดเป็ นอคติทางชาติพนั ธุ์ ความหลงในเชือ้ ชาติและชาติพนั ธุ์ การฆ่าล้างชาติพนั ธุ์ การฆ่าล้างชาติพนั ธุ์ (ethnocide / ethnic cleansing) คือ ระบบการทาลายล้างวิถคี วาม เป็ นอยู่และวิถคี วามคิดของคนที่แตกต่างไป จากตน ไม่ ใ ช่ แ ค่ “การฆ่ า ล้ า งเผ่ า พัน ธุ์ ” (genocide) ที่เน้ นกาจัดตัวคนเท่านั น้ แต่ยงั ฆ่าความมีต ัว ตนในใจพวกเขาด้ว ย (Pierre Clastres) (2.2) การใช้ความรุนแรงทางกายภาพ การทาร้ายร่างกายในความรุนแรงทางชาติพนั ธุ์ ร่างกายของคนอื่น คือ ตัวอันตราย คนเจ้าเล่ห์ มะเร็งร้าย การข่มขืน การฆ่า การปล้นสะดม การเผาทาลาย อัตลักษณ์ของกลุม่ เจอความเปลีย่ นแปลง - รูส้ กึ ไม่มนคง ั ่ - - ต้องใช้ความรุนแรง เพือ่ รักษาความบริสทุ ธิ ์ (purity) การฆ่าเพือ่ Self-Identification สร้างเขตแน่นอนของกลุ่ม ร่างกายคือพืน้ ทีข่ องการใช้ความรุนแรงทางชาติพนั ธุ์ การลดทอนร่างกายให้เป็ น “วัตถุเป้ าหมาย” การจาแนกความแตกต่างทางชาติพนั ธุเ์ ป็ นแผนทีน่ าทางของการใช้ความ รุนแรง ให้หลักเกณฑ์จาแนกว่าใครเป็ นใคร เมือ่ รู้ ก็เลือกว่าจะทาร้ายใครได้ ความรุนแรงเชิงโครงสร้างก่อให้เกิดการแตกกระจาย การเพิกถอนความเป็ น น้าหนึ่งใจเดียวกันระหว่างฝ่ ายการเมืองต่างๆ(solidarity among polity) (2.3) ความรุนแรงขนานใหญ่ (Mass Violence) Valences of Mass Violence (Elliot Prasse-Freeman) https://www.youtube.com/watch?v=pebrk29ZJW8 การใช้ความรุนแรงทีเ่ กิดขึน้ กับกลุ่มโรฮิงยามุง่ รือ้ ถอนการแสดงตัว (dis-identification) = การขับไล่ (expulsive) เพือ่ กาจัดการดารงอยูแ่ ละไม่ให้เป็ นส่วนหนึ่งของชาติ การใช้ความรุนแรงเชิงขับไล่ต่อโรฮิงยาสร้างความรูส้ กึ มันคงแก่ ่ กลุม่ ชาติพนั ธุอ์ ่นื ๆ ความรุนแรงมีความชอบธรรม (ในบริบทการเมือง เพราะเป็ นเกราะปกป้ องชาติทงั ้ มวล ความเข้าใจผิดเนื่องจากคาว่า “ขนานใหญ่” (mass) ประการแรก ไปให้ความสาคัญกับการนับ “จานวน” ของร่างกายทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ มากกว่าจะพิจารณาผลเชิงสัญลักษณ์โดยรวม ประการทีส่ อง ความเป็ น “ขนานใหญ่” ขึน้ อยูก่ บั การสังเกตและถูกพูดถึงโดย บุคคลภายนอก (ชาวตะวันตก) ความรุนแรงขนานใหญ่เกิดขึน้ โดยไม่เลือกหน้า เป้ าหมายไม่ใช่แค่นกั สูร้ บ ต้องสนใจ มิตสิ ญ ั ญะของความรุนแรงขนานใหญ่: ชีวติ ทีก่ ระจัดกระจายถูกตีความและเหมารวม เป็ นกลุ่มเดียวกันได้อย่างไร ความรุนแรงขนานใหญ่ใช้การโจมตีบุคคลเป็ นการโจมตีเชิงสัญลักษณ์ บุคคล(ทีไ่ ม่รจู้ กั ) ถูกทาร้าย เพราะเป็ นสัญลักษณ์ของชุมชนเป้ าหมาย ความรุนแรงนี้จงึ เกิดเป็ นขัน้ เป็ นตอน ตัง้ แต่ 1. การสร้างและทาให้บาง“หมวดหมู”่ โดดเด่นออกมา 2.การประเมินว่าใครจะเป็ นสมาชิกสังกัดหมวดหมูน่ นั ้ 3.คนในหมวดหมูถ่ กู เชือ่ มต่อเป็ นเป้ าหมายของการใช้ความรุนแรง 4.บริบทสังคมการเมืองในวงกว้างเปลีย่ นแปลง เมือ่ ตัวแสดงทางการเมืองประเมิน ตาแหน่งและอัตลักษณ์ของตนเองใหม่ บนฐานอ้างอิงการตีความการใช้ความรุนแรงกับ คนอื่น ความรุนแรงขนานใหญ่มกั มีวาทกรรม ทีพ่ ยายามควบคุมและกากับความหมาย ของสัญญะ ให้เป็ นเป้ าของการทาร้ายร่างกาย วาทศิลป์ ของทหารและผูน้ าได้สร้างภาพเหมารวมว่าเป็ น Bengali = คนนอกทีม่ าจากบัง คลาเทศ แม้พวกเขาจะปฏิเสธว่าไม่ใช่ คนนอก = invasion, pollution and threat, ไม่ใช่ชนพืน้ เมืองเดิม Expulsive violence = การปกป้ องประเทศด้วยสานึกรักแผ่นดิน ทาให้การฆ่าล้าง เผ่าพันธุเ์ ป็ นการป้ องกันชาติทจ่ี าเป็ น ข้อความของพระสงฆ์ ทหารและผูร้ กั ชาติ (ใน social media) กลายเป็ นเสียงก้องทาง การเมือง ทีถ่ กู ใช้และดัดแปลงใหม่เป็ นวาทกรรมทีเ่ ข้าใจกันในระดับท้องถิน่ คนทีเ่ ผชิญกับความรุนแรงไม่ได้มองว่าเขาเป็ น Rohingya มาก่อน ความรุนแรงขนานใหญ่นาพาพวกเขาให้เป็ นเนื้อเดียวกัน = massifying them into Rohingya in a literal life-and-death way โรฮิงยาทีล่ ภ้ี ยั อยูใ่ นบังคลาเทศปฏิเสธการส่งตัวกลับ เพราะเกรงว่าไม่ปลอดภัย ความรุนแรงขนานใหญ่เป็ นข้อยกเว้น (exclusionary) และเป็ นการขับไล่ (expulsive) ที่ กลุ่มชาติพนั ธุอ์ ่นื ๆในพม่าไม่เคยพบเจอ ตัวอย่าง การข่มขืนกลุ่มชาติพนั ธุเ์ พือ่ เจือจางเลือดชาติพนั ธุล์ ง แต่การข่มขืนโรฮิงยาคือ การลงโทษ การทาลายถอนรากถอนโคน ความสามารถในการผลิตลูกของหญิงโรฮิงยา