Full Transcript

วิชา การนาเสนอ Project presentation 1.0 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ การนาเสนอโครงงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์เป็นการแสดงผลิตผลของความคิดและ การปฏิบัติการทั้งหมดที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเวลาไป และเป็นวิธีการที่จะทาให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจถึง ผลงานนั้นๆ ...

วิชา การนาเสนอ Project presentation 1.0 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ การนาเสนอโครงงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์เป็นการแสดงผลิตผลของความคิดและ การปฏิบัติการทั้งหมดที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเวลาไป และเป็นวิธีการที่จะทาให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจถึง ผลงานนั้นๆ การเก็บคะแนน 01 โปสเตอร์ 02 เล่มรายงาน 03 นาเสนอ 04 สอบย่อย โครงงาน โครงงาน โครงงาน คะแนน วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 10 คะแนน 10 คะแนน 40 คะแนน 40 คะแนน 2. ร่างเค้า 1. ตัง ้ หัวข้อ โครงงาน โครงงาน (บทที่ 1-3) 6. นาเสนอ โครงงาน โครงงาน วิทยาศาสตร์ 3. ดาเนินการ 5. จัดทารายงาน 4. สรุปและ โครงงาน อภิปรายผล 01 รายงานโครงงาน วิทยาศาสตร์ ส่วนประกอบของรายงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อหา ส่วนประกอบตอนท้าย ส่วนประกอบตอนต้น ปกนอก หน้าชื่อเรื่อง กิตติกรรมประกาศ (ถ้ามี) สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพประกอบ ส่วนเนือ ้ หา บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดาเนินการ บทที่ 4 ผลการทดลอง บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ส่วนประกอบตอนท้าย บรรณานุกรม ภาคผนวก การจัดทารูปเล่ม 1. จัดพิมพ์ด้วยโปรแกรม Microsoft Word for Windows 2. ใช้แบบอักษร Angsana New หรือ TH SarabunPSK ขนาด 16 พอยต์ ชื่อบทพิมพ์ตัวเข้มขนาด 20 พอยต์ 3. บทที่ 1-5 ไม่ควรเกิน 20 หน้า 4. บทคัดย่อ ไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ A4 การจัดทารูปเล่ม 5. การจัดทารูปเล่ม ส่วนหน้า ปกของรายงาน โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. หน้าปก(ปกนอก) ใช้กระดาษแข็งสีขาวประกอบด้วยข้อความ 4 ส่วน ได้แก่ 1.1 ตราสัญลักษณ์โรงเรียน 1.2 ชื่อเรื่องรายงาน (ตัวอักษร 26 ตัวหนา) 1.3 ชื่อผู้จัดทารายงาน (จัดทาโดย) (ตัวอักษร 22 ตัวหนา) 1.4 เสนอ (ตัวอักษร 22 ตัวหนา) 1.5 วิชา (รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ) (ตัวอักษร 20 ตัวหนา) 1.6 ภาคเรียน/ปีการศึกษา (ตัวอักษร 20 ตัวหนา) 1.7 โรงเรียนหรือสถานศึกษา (ตัวอักษร 20 ตัวหนา) การจัดทารูปเล่ม ปกของรายงาน โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 2. หน้าปกรอง (ใช้กระดาษเปล่าสีขาว) 3. หน้าปกใน (เหมือนหน้าปกแต่ใช้กระดาษอ่อนสีขาว ไม่ต้องทาตัวหนา) การจัดทารูปเล่ม ปกของรายงาน โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 2. หน้าปกรอง (ใช้กระดาษเปล่าสีขาว) 3. หน้าปกใน (เหมือนหน้าปกแต่ใช้กระดาษอ่อนสีขาว ไม่ต้องทาตัวหนา) การจัดทารูปเล่ม 4. กิตติกรรมประกาศ คือ คาประกาศเกียรติคุณความดีเพื่อเป็นเกียรติ หมายเอาเฉพาะ คุณความดีของผู้ที่ให้ความช่วยเหลือจนโครงงาน งานวิจัย หรือรายงานวิชานั้นสาเร็จด้วยดี ในการทาโครงงาน งานวิจัย หรืองานวิชาการ บางครั้งผู้ทางานจะได้รับความช่วยเหลือ คาแนะนาทักท้วง หรือได้รับสิ่งที่ช่วยให้การทางานประสบความสาเร็จด้วยดีจากผู้อื่น ผู้ทางานจึงแสดงความขอบคุณให้เป็นที่ประจักษ์ ด้วยการเขียน กิตติกรรมประกาศ ไว้ใน ส่วนหน้าของรายงานโครงงาน งานวิจัย หรืองานวิชาการนั้น เพื่อแสดงความพอใจ ซาบซึ้ง ใจในความดีของผู้ที่ช่วยเหลือ การจัดทารูปเล่ม 5. บทคัดย่อ คือ ส่วนที่แสดงเนื้อหาสาคัญของเอกสาร หรือรายงานโครงงานแบบย่อ โดยทั่วไปมักจะเขียนอยู่ต่อจากชื่อเรื่องโครงงาน บทคัดย่อไม่ควรยาวจนเกินไป เพราะอาจ ทาให้เวลาในการอ่านส่วนอื่น ๆ ลดลง ในบทคัดย่อจะไม่มีตาราง รูปภาพ หรือการอ้างอิง ใด ๆ ไม่มีส่วนของข้อมูลหรือแนวคิดอื่น ที่อยู่นอกเหนือจากในเนื้อหาบทความ การจัดทารูปเล่ม บทคัดย่อที่ดี 1. ควรคัดแต่เรื่องสาคัญ ๆ ที่เป็นประเด็นน่าสนใจทั้งหมด จะต้องเน้นการถ่ายทอด เฉพาะ จุดเด่นของโครงงาน มีความชัดเจน สั้น กะทัดรัด 2. จานวนคาต้องอยู่ระหว่าง 200-250 คา หรือประมาณไม่เกิน 1 หรือ 1หน้าครึ่งของ หน้ากระดาษ A4 3. ก่อนการเขียนบทคัดย่อ ควรอ่านและทาความเข้าใจกับงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ของ ตนเอง เพื่อหา ประเด็นต่างๆ ที่น่าสนใจ ดึงดูดให้ผู้อ่านทั่วไปอยากอ่าน 4. ไม่มีการตีความหรือวิพากษ์วิจารณ์โดยใช้ความคิดของตนเอง 5. ไม่ควรเขียนประโยคที่เข้าใจยาก ไม่ใช้ตัวย่อ หรือสัญลักษณ์โดยไม่จาเป็น เพราะ อาจสร้างความไม่เข้าใจให้ผู้อ่านได้ การจัดทารูปเล่ม สารบัญ คือ บัญชีเรื่อง รายชื่อเรื่อง เช่น ในหนังสือเรื่องหนึ่งมีเนื้อเรื่องหรือหัวข้อเรื่องใดอยู่บ้าง รายชื่อของเนื้อเรื่องหรือหัวข้อเรื่องนั้น ๆ จัดเป็นสารบัญของหนังสือนั้น เมื่ออ่านหนังสือเรื่องใด เราจึงมักเปิดดูสารบัญ เพื่อดูรายชื่อของเรื่องที่บรรจุอยู่ในหนังสือเล่มนั้น ๆ ก่อน. ในหน้าสารบัญ นอกจากจะบอกรายชื่อหัวข้อเรื่องแล้ว ยังบอกด้วยว่าหัวข้อต่าง ๆ นั้นอยู่ในหน้าใดของหนังสือ ทาให้ค้นหาเรื่องที่จะอ่านได้สะดวก การจัดทารูปเล่ม ส่วนเนื้อหา 1. ขนาดตัวอักษร - ขนาดตัวอักษรแสดงบท ใช้ขนาดตัวอักษร 20 Point หนา - ขนาดตัวอักษรแสดงหัวข้อ ใช้ขนาดตัวอักษร 18 Point หนา - ขนาดตัวอักษรแสดงเนื้อหา ใช้ขนาดตัวอักษร 16 Point (หนา/บาง) 2. การจัดย่อหน้า/วรรคตอน - ย่อหน้าแรก ให้ตั้งแท็บที่ 0.6นิ้ว หรือ 1.5ซม. - ย่อหน้าต่อ ๆ ไป ให้เว้นเข้าไปอีก 3ตัวอักษร (พิมพ์ตัวที่ 4) หรือ ให้อยู่ตรงกับ ตัวอักษรแรก หลังจากหัวข้อที่มีเลขกากับ ให้ตั้งแท็บที่ 0.85นิ้ว , 1.10นิ้ว การจัดทารูปเล่ม ส่วนท้าย 1. บรรณานุกรม 2. ขนาดตัวอักษรแสดงหัวข้อ ใช้ขนาดตัวอักษร 18 Point หนา 3. ขนาดตัวอักษรแสดงเนื้อหา ใช้ขนาดตัวอักษร 16 Point (หนา/บาง) ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. โครงงานประเภทการทดลอง 2. โครงงานประเภทการสารวจรวบรวมข้อมูล 3. โครงงานประเภทการสร้างสิง ่ ประดิษฐ์ 4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีและหลักการ โครงงานประเภทการทดลอง เป็ นโครงงานที มี ก ารสํ า รวจรวบรวมข้อ มู ล แล้ว นํา มา จํา แนกเป็ นหมวดหมู่ นํา เสนอใน แบบต่ า ง ๆ เพื อให้ เ ห็ น ลักษณะ หรื อเป็ นโครงงานที มี การออกแบบการทดลองเพือ ศึกษาผลของตัวแปรอิสระทีมีต่อตัวแปรตาม โดยควบคุมตัว แปรอืน ๆ ที จะมี ผลต่อการทดลอง ความสัมพันธ์ของเรื องที ศึกษาได้ชดั เจนขึน โครงงานประเภทการทดลอง ลดต้นทุนในการเพาะเห็ดขอนขาวโดยใช้วสั ดุทอ้ งถิน โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื องการศึ กษากรรมวิธีในการทํา และหาอัตราส่ วนทีเหมาะสมของขนมทองหยิบ โครงงานวิ ท ยาศาสตร์ เ รื องศึ ก ษาความเหมาะสมของ ตําแหน่งบานพับประตู สมุนไพรและสารพืนบ้านยืดอายุการใช้งานของกล้วยไม้ ตัดดอกสกุลแวนด้า โครงงานประเภทการสารวจ รวบรวมข้อมูล เป็ นโครงงานประเภทเก็บรวบรวมข้อมูลเพือหาสาเหตุ ของปั ญ หาหรื อสํ า รวจความคิ ด เห็ น ข้อ มู ล ที รวบรวมได้ บางอย่ า งอาจเป็ นปั ญ หาที นํา ไปสู่ ก ารทดลองหรื อค้น พบ สาเหตุของปัญหาทีต้องหาวิธีแก้ไขปรับปรุ งร่ วมกัน โครงงานประเภทการสารวจ รวบรวมข้อมูล การศึกษาพฤติกรรมระหว่างมดกับหนอนชอนเปลือกต้นลองกอง ศึกษาความสว่างของแสงภายในห้องเรี ยนของโรงเรี ยนปัญญาวรคุณ การสํารวจความหลากหลายของแมลงกลางคืนในท้องที อําเภอสี คิว จังหวัดนครราชสี มา การสํารวจหอยโข่งที มี พยาธิ แ องจิ โอสตรองไจรั ส บริ เ วณแหล่ งนํา ชุมชน อ.เมือง จ.มหาสารคาม โครงงานประเภทการสร้างสิง ่ ประดิษฐ์ เป็ นโครงงานทีเกียวกับการประยุกต์ทฤษฎี หรื อหลักการ ทางวิทยาศาสตร์ มาประดิษฐ์เครื องมือเครื องใช้ หรื ออุปกรณ์ เพือประโยชน์ ใช้สอยต่ าง ๆ อาจคิ ดประดิ ษฐ์ของใหม่ หรื อ ปรับปรุ ง ดัดแปลงของเดิมทีมีอยูแ่ ล้วให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึน โครงงานประเภทการสร้างสิง ่ ประดิษฐ์ เครืองขจัดคราบนํามัน เครืองตรวจ(pH)ดินเพือปลูกผัก เครืองกําจัดฝุ่ นละอองในโรงงานโม่หิน กล่องดักจับแมลงวันไฮเทค (จากพฤติกรรมการบินของ แมลงวัน) โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี เป็ นโครงงานที ได้เสนอทฤษฎี หลักการ หรื อแนวความคิ ด ใหม่ ๆ ซึ งอาจอยูใ่ นรู ปของสู ตร สมการ หรื อคําอธิ บายก็ได้ โดยผู ้ เสนอได้ตงกติ ั กา หรื อข้อตกลงนัน หรื ออาจใช้กติกาและข้อตกลง เดิมมาอธิ บายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในแนวใหม่ อาจเสนอหลักการ แนวความคิด หรื อจินตนาการทียังไม่มีใครคิดมาก่อน อาจเป็ นการ ขัดแย้งหรื อขยายทฤษฎี เดิ ม แต่จะต้องมี ขอ้ มูลหรื อทฤษฎี อืนมา สนับสนุน อ้างอิง ตัวอย่างโครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี การอธิบายอวกาศแนวใหม่ กําเนิดของทวีปและมหาสมุทร การกําเนิดของแผ่นดินไหวในประเทศไทย การอธิบายเรื องราวการดํารงชีวิตในอวกาศของมนุษย์ 01 บทนา บทที่ 1 บทนา 1. ทีม ่ าและความสาคัญของโครงงาน เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสาคัญและความจาเป็น สมควรต้องมี การศึกษาปัญหาเรื่องนี้ กาหนดปัญหาให้ชัดเจนทั้งในด้านการเกิดปัญหา การ กระจายตัวของปัญหา หรือด้านอื่น ๆ ให้เข้าถึงข้อเท็จจริงของปัญหาอย่าง แท้จริง ด้วยการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบสถิติ สอบถามความเห็น จากบุคคลที่เกี่ยวข้อง และแสวงหาเหตุผลที่น่าเป็นไปได้ จากทฤษฎีและสาขาที่ เกี่ยวข้อง 1. ทีม ่ าและความสาคัญของโครงงาน ย่อหน้าแรก จะต้องอภิปรายถึงความเป็นมา ปัญหา ข้อดี ข้อเสีย หรือข้อ โต้แย้งของการทดลองที่ได้ทาการก่อนหน้า ย่อหน้าที่สอง จะต้องอภิปรายถึงความสาคัญ ข้อดีของปัญหา รวมถึง แนวทางแก้ไขปัญหาในเรื่องที่เราสนใจจะดาเนินการทา ควรมีเอกสารหรือ ที่มาของปัญหาที่ที่อ้างอิงเพื่อสนับสนุนหรือโต้แย้งสิ่งที่เราจะทาการทดลอง ย่อหน้าสุดท้าย ต้องอภิปรายสรุปเป้าหมายของการทดลองที่เราจะทาการ ทดลองโดยใช้ข้อมูลข้างต้นเพื่อแก้ปัญหาที่งานทดลองที่เราจะทาทิ้งท้าย บทที่ 1 บทนา 2. วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน วัตถุประสงค์ของการวิจัย หมายถึง แนวทาง หรือทิศทางในการค้นหาคาตอบ เป็นเรื่องที่ต้องการทา 2. วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน เขียนในรูปเป้าหมายการวิจัยไม่ใช่วิธีการ สอดคล้องกับชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ชัดเจน ไม่กากวม ให้ใช้คาว่า “เพื่อ” เช่น เพื่อศึกษา เพื่อสารวจ เพื่อค้นหา เพื่อบรรยาย เพื่อ อธิบาย เพื่อพัฒนา เพื่อเปรียบเทียบ..กับ.. เพื่อพิสูจน์ เพื่อแสดงให้เห็น เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ เพื่อประเมิน เพื่อสังเคราะห์ เพื่อเปรียบเทียบ..กับ.. เพื่อศึกษาอิทธิพลของ..ที่มีต่อ.. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ม/ี ส่งผล/อิทธิพล/ผล กระทบ... บทที่ 1 บทนา 3. ขอบเขตการทาโครงงาน 1. การกาหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง คือ การกาหนดประชากรที่ศึกษา อาจเป็นคนหรือสัตว์หรือพืช ชื่อใด กลุ่มใด ประเภทใด อยู่ที่ไหน เมื่อเวลาใด รวมทั้งกาหนด 2. ตัวแปรที่ศึกษา การศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ ส่วนมากมักเป็นการศึกษา ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล หรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัว แปรขึ้นไป การบอกชนิดของ ตัวแปรอย่างถูกต้องและชัดเจน รวมทั้งการ ควบคุมตัวแปรที่ไม่สนใจศึกษา 3. ขอบเขตการทาโครงงาน 1. การศึกษาครั้งนี้ มุ่งศึกษาเฉพาะคุณภาพของ................ คือ คุณภาพ ด้าน.............. และ................... , ความพึงพอใจของ................ในการใช้, 2. ผู้จัดทาทาการศึกษา.............................................. เฉพาะ.............................................. 3. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ.......................................... 4. ขอบเขตระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา......................................... บทที่ 1 บทนา 4. นิยามศัพย์เฉพาะ นิยามศัพท์เฉพาะ เป็นการให้คานิยามศัพท์เฉพาะคาที่ไม่คุ้นเคย และเป็นคาสาคัญที่ต้องการจากัดความหมายให้เฉพาะเจาะจงใน ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ เช่น ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของ........ว่าดีหรือไม่ดีต่อ............... คุณภาพของ.......... หมายถึง คุณภาพด้าน....................... บทที่ 1 บทนา 5. ประโยชน์ทค ี่ าดว่าจะได้รบ ั ของโครงงาน ในการทาโครงงานเรื่องนั้น ทาให้ทราบผลการเรื่องอะไร และมี ประโยชน์ต่อใคร อย่างไร 1. ระบุประโยชน์ที่อาจเกิดจากผลที่ได้จากการทาโครงงาน 2. สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และอยู่ในขอบเขตที่ได้ศึกษา 3. เขียนด้วยข้อความสั้น กะทัดรัด ชัดเจนและมีความเป็นไปได้ 5. ประโยชน์ทค ี่ าดว่าจะได้รบ ั ของโครงงาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็ง 2. เพื่อศึกษาผลของการให้การพยาบาล อย่างมีแบบแผนต่อความวิตก กังวลของผู้ป่วยมะเร็ง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็ง 2. ได้แนวทางในการลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็ง ซึ่งอาจพิจารณา นาไปใช้ในการพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง 02 เอกสารที่ เกีย ่ วข้อง บทที่ 2 ในการทาโครงงาน..................................... คณะผู้จัดทาได้ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1............................ 2............................ 03 วิธด ี าเนินการ Academic Areas Mars Venus Mercury Mars is actually a Venus is the second It’s the closest cold place planet from the Sun planet to the Sun Jupiter Saturn Neptune It’s the biggest Saturn is a gas giant It’s the farthest planet of them all and has rings planet from the Sun Our Mission and Vision Mission Vision Mercury is the Venus has a closest planet to the beautiful name and Sun and the is the second planet smallest one in the from the Sun. It’s Solar System terribly hot Our Values Loyalty Efficiency Mercury is a bit larger Despite being red, Mars than the Moon is actually a cold place Reliability Commitment Venus is the second Neptune the farthest planet from the Sun planet from the Sun Our Success 800K 900K Despite being Saturn is red, Mars is composed of actually a cold hydrogen and planet helium 2. ร่างเค้า 1. ตัง ้ หัวข้อ โครงงาน โครงงาน (บทที่ 1-3) 6. นาเสนอ โครงงาน โครงงาน วิทยาศาสตร์ 3. ดาเนินการ 5. จัดทารายงาน 4. สรุปและ โครงงาน อภิปรายผล การนาเสนอ ผลงานด้วย โปสเตอร์ การนาเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ โปสเตอร์เป็ นสือประเภทไม่มีการเคลือนไหว ใช้ สําหรับการนํา เสนอ ‘สาร’ ทํา ด้ว ยกระดาษแข็ ง หรือ ไม้ส าํ หรับ ติ ด ตังข้อ เขี ย น สรุ ป /บทคัด ย่ อ /ภาพ/ แผนภูมิ ประกอบสารทีนําเสนอ ผลงานด้วยโปสเตอร์แตกต่า ง จากการนํา เสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา ตรงที การนํา เสนอผลงานด้ว ยโปสเตอร์นัน ผู้ จั ด ทํา จะให้ โ ปสเตอร์ทํา หน้ า ที บอกเรื องราวของผลงาน โดยผู้จัด ทํา มี ห น้า ที ต้อ งรออยู่ใ กล้ๆ โปสเตอร์และคอยตอบ คําถามหรือให้คาํ อธิบายเพิมเติมแก่ผชู้ ม การนาเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ การนาเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ การนาเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ การนาเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ การนาเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ การนาเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ การนาเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ รูปแบบโปสเตอร์ผลงาน ประกอบไปด้วย ชือโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็ นข้อความระบุวตั ถุประสงค์หลักของการวิจยั ตัวแปรในการวิจยั และบริบทของงานวิจยั ในกรณีงานวิจยั เชิงปริม าณและ เป็ นวลีสนั บทคั ด ย่ อ เป็ น เนื อหาสาระสรุ ป ของโครงงาน โดยมากนิ ย มเขี ย นเป็ น วัตถุประสงค์ข องโครงงาน วิธี ก ารดําเนิ นการ และผลการทอลองเพื อให้ ผูอ้ า่ นเห็นภาพรวมของงานทังเรือง ทีมาและความสําคัญ วัตถุประสงค์ รูปแบบโปสเตอร์ผลงาน ทีมาและความสําคัญ เป็ นข้อความทีอธิ บายถึงความเป็ นมาของปั ญหา ความสําคัญของโครงงาน ทฤษฎี และผลงานวิจัยที เกี ยวข้อง ซึงผูจ้ ัดทํา สังเคราะห์สรุ ปสร้างเป็ นกรอบแนวคิด และสมมุติฐาน ทังนีต้องพิจารณาคัด สรรเฉพาะส่วนสําคัญทีสุดไปจัดทําโปสเตอร์และออกแบบให้น่าสนใจด้วย วัตถุประสงค์ วิธีการดําเนิ นการ สาระสรุ ปเกี ยวกับวิธีดาํ เนินการ ประกอบด้วยสาระ เรืองประชากรและกลุ่มตัวอย่างตัวแปรและเครืองมือ วิธีการรวบรวมและ วิเคราะห์ขอ้ มูล รูปแบบโปสเตอร์ผลงาน ผลสรุ ป เป็ นการเสนอสาระส่วนทีเป็ น สรุปผลการทดลอง และการอภิป ราย ผลการทดลอง รวมทังข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและข้อเสนอแนะในการทํา โครงงานต่อไป สรุปและอภิปรายผลการทดลอง องค์ประกอบย่อยอืนๆ (ถ้ามี) แนวทางการเตรียมโปสเตอร์โครงงานวิทยาศาสตร์ การวางแผน หาข้อ มูล เกี ยวกั บ สถานที ที นํา เสนอโปสเตอร์ข นาดขอ ง โปสเตอร์ขอ้ กําหนดในการนําเสนอโปสเตอร์ลกั ษณะและจํานวนผูเ้ ข้ าชม โปสเตอร์เพือใช้ในการวางแผนการนําเสนอโปสเตอร์ผลงาน การออกแบบโปสเตอร์ ต้องตัดสินใจว่าจะเลือกเนื อหาสาระส่วนใดจาก รายงานทังฉบับจัดทําเป็ นโปสเตอร์ โดยต้องกําหนดวัตถุประสงค์ ของการ เสนอโปสเตอร์ผลงานก่อนว่าต้องการให้เกิดผลเกิดประโยชน์อะไรต่ อผู้ เข้าชม แนวทางการเตรียมโปสเตอร์โครงงานวิทยาศาสตร์ โปสเตอร์นาํ เสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ทดีี 1. เสนอเนือหาสาระแบบเรียบง่าย กระชับ และชัดเจน 2. ใช้ภาพและแผนภูมิประกอบเพราะภาพและแผนภูมิสือความหมายได้ดี กว่า ข้อความ 3. ใช้สีพอเหมาะไม่มากไม่นอ้ ยเกินไปและใช้โทนสีไม่ขดั กันกับสีพื นหลังและสี ของภาพ ควรเสริมให้ภาพเด่นชัด 4. เลือกชนิด และขนาดของตัวอักษรเหมาะสมกับตําแหน่งทีผูเ้ ข้าชมโปสเตอร์ เห็นชัดเจน และทีสําคัญทีสุดคือการพิสจู น์อกั ษรอย่าให้มคี าํ ผิด 5. ควรจัดเรียงเนือหาอย่างเป็ นระเบียบ ตามลําดับขันตอน การนาเสนอ ผลงานโดยการ รายงานด้วย คาพู ดต่อทีป ่ ระชุม การแสดงผลงาน การแสดงผลงาน จัดได้ว่าเป็ นขันตอนสําคัญอีกประการหนึงของการทํา โครงงาน เรี ย กได้ ว่ า เป็ นงานขั นตอนสุ ด ท้ า ยของการทํา โครงงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็ นการแสดงผลิตผลของความคิดและการ ปฏิบัติการทังหมดทีผูท้ าํ โครงงานได้ท่มุ เวลาไป และเป็ นวิธี การทีจะทําให้ ผูอ้ ืนรับรูแ้ ละเข้าใจถึงผลงานนันๆ มีผกู้ ล่าวกันว่าการวางแผนออกแบบ เพือ จัดแสดงผลงานนันมีความสําคัญเท่าๆ กับการทําโครงงานนันเอง ผลงานที ทําจะดียอดเยียมเพียงใด แต่ถา้ การจัดแสดงผลงานทําได้ไม่ดีก็ เท่ากับไม่ได้ แสดงถึงความยอดเยียมของผลงานนันเลย การจัดแสดงและการนาเสนอผลงาน การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคําพูดในทีประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคําพูด การจัดแสดงและการนาเสนอผลงาน ผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 4. วัตถุประสงค์ของโครงงาน 5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน การจัดแสดงและการนาเสนอผลงาน การรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้ 1. จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบและนาเสนออย่างตรงไปตรงมา ด้วยภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย 2. ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดี รวมถึงเตรียมข้อมูลที่อาจต้องใช้ในการตอบ คาถาม 3. หลีกเลี่ยงการนาเสนอด้วยวิธีอ่านรายงาน 4. ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน 5. ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา การจัดแสดงและการนาเสนอผลงาน การพูดต่อหน้ากลุ่มคน 1. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่จะพูด 2. วางแผนสิ่งที่จะพูด 3. เตรียมสื่อที่ใช้ประกอบการพูด 4. เขียนโน้ตช่วยจา 5. ฝึกพูดหลายๆ ครั้ง 6. เลือกประเด็นสาคัญเพียง 4 - 5 อย่างเท่านั้น เพราะคนเราจาอะไรไม่ได้มากนักจากการฟังคนอื่นพูด 7. เตรียมประเด็นข้อมูลที่จะพูดให้ตรงกับผู้ฟัง เช่น ผู้ฟังอาจเป็นกรรมการตัดสินโครงงาน ครูอาจารย์ โรงเรียนอื่นๆ เพื่อนผู้เรียน หรือบุคคลทั่วไป เป็นต้น การจัดแสดงและการนาเสนอผลงาน การวางแผนสิ่งที่จะพูด ผู้ทาโครงงานต้องวางแผนการพูด โดยวางโครงร่างของสิ่งที่จะพูด เพื่อให้รู้ล่วงหน้าถึงลาดับ ของสิ่งที่จะพูด โดยแบ่งส่วนที่จะพูดออกเป็น 3 ส่วน การจัดแสดงและการนาเสนอผลงาน การวางแผนสิ่งที่จะพูด การจัดแสดงและการนาเสนอผลงาน การเตรียมสื่อประกอบ ในการนาเสนอด้วยการพูด ผู้ทาโครงงานต้องเตรียมสื่อที่จะช่วยให้ผู้ฟังสนใจฟัง และเข้าใจในสิ่งที่พูดได้โดยง่าย แต่ สื่อที่ใช้ไม่ควรสลับซับซ้อน ควรเป็นสื่อง่ายๆ ใช้ ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหวสั้นๆ แสดงกราฟ โมเดล หรือสาธิตประกอบได้ถ้าโครงงาน จาเป็นต้องทาเช่นนั้น ทั้งนี้ต้องคานึงถึงสถานที่ที่จะนาเสนอด้วย เช่น อุปกรณ์ที่มีให้ แสงในห้อง ขนาดห้อง ฯลฯ การจัดแสดงและการนาเสนอผลงาน การประเมินผลโครงงานวิทยาศาสตร์ เกณฑ์ในการให้คะแนนก็แล้วแต่อาจารย์ผู้สอนจะเห็นสมควร แต่ควรให้ความสาคัญกับ การจัดทาเค้าโครงงาน ผลงาน รายงาน และการนาเสนอผลงานในอัตราส่วนที่ใกล้เคียงกัน เพราะทุกส่วนล้วนมีความสาคัญต่อการพัฒนาโครงงานที่ดีและมีคุณภาพ การจัดแสดงและการนาเสนอผลงาน การประเมินผลโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. ประเมินอะไร 1.1 ผลผลิต / ผลงาน / ชิ้นงาน 1.2 กระบวนการเรียนรู้ 1.3 กระบวนการทางาน 1.4 การแสดงออกถึงความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม การประเมินผลโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. เป้าหมาย/ปัญหาในการทาโครงงาน และการออกแบบการทดลอง - ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีการสร้างวัตกรรมหรือองค์ความรู้ใหม่ - ปัญหา (แนวคิด) หรือวิธีการแก้ปัญหามีความน่าสนใจ มีความแปลกใหม่ - ไม่ซ้าซ้อนกับโครงงานที่มีมาแล้ว - คุณค่าของโครงงาน สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง - องค์ความรู้ที่ได้สามารถนาไปพัฒนาแนวคิด หรือใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาใน ชุมชน ท้องถิ่น สังคม - การเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสม มีการระบุหน่วยที่ถูกต้อง - ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ มีการทาการทดลองซ้า มีการแบ่งกลุ่มการทดลอง การประเมินผลโครงงานวิทยาศาสตร์ 2. ความสมบูรณ์ของรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ - ความถูกต้องตามแบบฟอร์ม - มีหัวข้อครบถ้วน ถูกต้อง และเรียงลาดับตามแบบฟอร์มที่กาหนด - วัตถุประสงค์ และสมมติฐานมีความถูกต้อง ครบถ้วน และสอดคล้องปัญหา - การกาหนดตัวแปร มีความถูกต้อง ครบถ้วน และสอดคล้องกับสิ่งที่ศึกษา - การอ้างถึงความรู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และรูปแบบการเขียนอ้างอิงถูกต้อง - มีการจัดกระทาข้อมูล และเลือกใช้รูปแบบการนาเสนอข้อมูลที่เหมาะสม - มีความถูกต้องชัดเจน ครอบคลุม สามารถสื่อสารข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจ และใช้ศัพท์ทาง วิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม การประเมินผลโครงงานวิทยาศาสตร์ 3. ภาพรวมการจัดแสดงโครงงาน - มีสื่อ อุปกรณ์ ชิ้นงาน ประกอบการนาเสนอที่เหมาะสม - การนาเสนอปากเปล่า ระยะเวลา บุคลิกภาพ ภาษาที่ใช้ - การตอบคาถาม ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ทา ความมั่นใจในการตอบคาถาม การมีส่วน ร่วมของสมาชิก - หลักฐานที่มาของข้อมูล

Use Quizgecko on...
Browser
Browser