ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก PDF

Document Details

InstrumentalTechnetium

Uploaded by InstrumentalTechnetium

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

Tags

ระบบประสาท อวัยวะรับความรู้สึก ชีววิทยา การเรียนรู้

Summary

เอกสารนี้เป็นบทเรียนเกี่ยวกับระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก สรุปโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทในสัตว์ต่างๆ และเซลล์ประสาท รวมถึงการทำงานของอวัยวะรับความรู้สึก เช่น ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง

Full Transcript

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก ผลการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทของไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ประสาท อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของศักย์ไฟฟ้าที่เยื...

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก ผลการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทของไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ประสาท อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาท และกลไกการถ่ายทอดกระแสประสาท อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างของระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ในสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง และไขสันหลัง สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอย่างการทางานของระบบประสาทโซมาติก และระบบประสาทอัตโนวัติ สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนังของมนุษย์ ยกตัวอย่างโรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และบอกแนวทางในการดูแลป้องกัน และรักษา สังเกต และอธิบายการหาตาแหน่งของจุดบอด โฟเวีย และความไวในการรับสัมผัสของผิวหนัง สัตว์ต่าง ๆ ตอบสนองต่อ สิ่งเร้าแตกต่างกันอย่างไร ? สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาทรับความรู้สึก หน่วยแปลความรู้สึก การตอบสนอง หน่วยปฏิบัติการ เซลล์ประสาทสั่งการ ปมประสาท สมอง พลานาเรีย มีปมประสาทสมอง 2 ปม เส้นประสาท มีเส้นประสาทด้านข้าง 2 เส้น ด้านข้าง มีเส้นประสาทตามขวาง พาดตามลาตัวเป็นระยะ เส้นประสาท ร่างแห่ประสาท ตามขวาง ไฮดรา มีร่างแหประสาทเชื่อมโยงทั่วร่างกาย ปมประสาทสมอง เส้นประสาท ปมประสาทสมอง รอบคอหอย หอยทาก มีปมประสาทสมอง ควบคุมส่วนหัว เส้นประสาท มีปมประสาทเท้าควบคุม ด้านท้อง การหดตัวของกล้ามเนื้อ ไส้เดือนดิน ปมประสาท ที่ใช้เคลื่อนที่ มีปมประสาทสมอง 2 ปม เท้า มีปมประสาทอวัยวะภายใน มีเส้นประสาทรอบคอหอย 2 เส้น โอบรอบคอหอย ควบคุมการทางาน แล้วเชื่อมเป็นปมประสาทใต้คอหอย 2 ปม ของอวัยวะภายใน และเชื่อมกับเส้นประสาทคู่ด้านท้อง ปมประสาท อวัยวะภายใน มีปมประสาทที่ปล้องทุกปล้อง ปมประสาทสมอง ปมประสาท ปมประสาทบริเวณปล้อง ทรวงอก ปมประสาท ปมประสาท สมอง ส่วนท้อง แมลง กุ้ง มีปมประสาทที่ส่วนหัว 6 คู่ (ปมประสาท 3 คู่ รวมเป็น มีปมประสาทสมอง ปมประสาทสมอง และปมประสาท 3 คู่ รวมเป็น มีปมประสาททรวงอกและปมประสาทส่วนท้อง ปมประสาทใต้สมอง) เชื่อมต่อกับปมประสาทตามปล้อง มีเส้นประสาทจากปมประสาทแยกไปยังกล้ามเนื้อ มีเส้นประสาทจากปมประสาทแยกไปยังอวัยวะต่าง ๆ และรยางค์ต่าง ๆ สมอง สัตว์มีกระดูกสันหลัง ไขสันหลัง มีสมองและไขสันหลังเป็นระบบประสาท ส่วนกลาง มีเส้นประสาทเป็นระบบประสาทรอบนอก เส้นประสาท เซลล์ประสาท มีลักษณะเหมือนหรือแตกต่าง จากเซลล์อื่น ๆ อย่างไร ? เซลล์ประสาท เซลล์กล้ามเนื้อ เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม เซลล์เม็ดเลือด ตัวเซลล์ (cell body) มีขนาดประมาณ 4-25 ไมโครเมตร นิวเคลียสมีขนาดใหญ่และมีออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ในไซโทพลาซึม ทาหน้าที่สังเคราะห์สารที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของเซลล์ประสาท และส่งสารไปยังเซลล์ประสาทอื่น ๆ นิวเคลียส เส้นใยประสาท (nerve fiber) ตัวเซลล์ แอกซอน แขนงประสาทที่แยกออกจากตัวเซลล์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ เดนไดรต์และ แอกซอน อาจมีเดนไดรต์หนึ่งเส้นใย หลายเส้นใย หรือไม่มี เยื่อไมอีลิน เดนไดรต์เลย แต่แอกซอนจะมีเพียงเส้นใยเดียว โนดออฟแรนเวียร์ แอกซอนอาจมีเยื่อไมอีลินหุ้ม เดนไดรต์ 1 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึก มีเดนไดรต์ต่อกับอวัยวะรับความรู้สึกและแอกซอนต่อกับ เซลล์ประสาทอื่น ๆ ทาหน้าที่นากระแสประสาทเข้าสู่สมองและไขสันหลัง เดนไดรต์ 1 ตัวเซลล์ 2 เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron) อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง แอกซอน ตัวเซลล์ ทาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างเซลล์ประสาทรับความรู้สึก 2 และเซลล์ประสาทสั่งการ เดนไดรต์ แอกซอน 3 เดนไดรต์ เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) ตัวเซลล์ มีเดนไดรต์ต่อกับเซลล์ประสาทอื่น ๆ และแอกซอนต่อกับ หน่วยปฏิบัตงาน 3 ทาหน้าที่ส่งกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงานต่าง ๆ แอกซอน มักมีแอกซอนยาวกว่าเดนไดรต์ และอาจยาวถึง 1 เมตร 3 เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron) 2 มีเส้นใยประสาท 2 เส้นใย เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม ได้แก่ แอกซอนและเดนไดรต์ (puesdounipolar) พบบริเวณเซลล์ประสาท 1 มีเส้นใยประสาทแยกออกจาก รับความรู้สึก ตัวเซลล์เส้นใยเดียว แล้วแตก เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เป็น 2 เส้นใย ปลายของเส้นใยหนึ่งเป็นเดนไดรต์ มีแอกซอนแยกออกจาก 4 รับสัญญาณ แล้วส่งไปยังเส้นใย ตัวเซลล์ 1 เส้นใย เซลล์ประสาทหลายขัว้ ประสาทอีกเส้นใยหนึ่งโดยไม่ผ่าน (multipolar neuron) พบในเซลล์ประสาทที่ ตัวเซลล์ หลั่งฮอร์โมนในสัตว์ พบในปมประสาทรากบน มีแอกซอน 1 เส้นใย ของไขสันหลัง และเดนไดรต์ 2 เส้นใย หรือมากกว่า พบในสมองและไขสันหลัง กระแสประสาทถูกส่งจาก เซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีก เซลล์ประสาทหนึ่งได้อย่างไร ? กระแสประสาทเกิดจากการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ประสาท เรียกว่า แอกชันโพเทนเชียล 𝐍𝐚+ ภายนอกเซลล์ ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (resting membrane potential) ภายนอกเซลล์มี Na+ มาก และ ภายในเซลล์มี K+ มาก ค่าศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์มีค่าเท่ากับ –70 mV 𝐊+ ภายในเซลล์ ดีโพลาไรเซชัน (depolarization) เซลล์ประสาทถูกกระตุน้ ช่องโซเดียมเปิด Na+ ไหลเข้าสู่เซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ด้านในมีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวกมากขึ้น ความต่างศักย์ ที่เยื่อหุ้มเซลล์เปลี่ยนจาก –70 mV เป็น +50 mV รีโพลาไรเซชัน (repolarization) ช่องโซเดียมปิด ช่องโพแทสเซียมเปิด K+ ไหลออกนอกเซลล์ ภายในเซลล์สูญเสียประจุบวก ความต่างศักย์ที่เยื่อหุ้มเซลล์ เปลี่ยนจาก +50 mV เป็น –70 mV ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (resting membrane potential) ความต่างศักย์เปลี่ยนจาก +50 mV เป็น –70 mV เช่นเดิม เซลล์จึงกลับเข้าสู่ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพักอีกครั้ง การรักษาค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของเยื่อหุ้มเซลล์ให้อยู่ในภาวะสมดุล มีดังนี้ เยื่อหุ้มเซลล์ยอมให้ไอออนแต่ละชนิดผ่านได้แตกต่างกัน อาศัยกระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปั๊ม โดยขับ Na+ ออก และดึง K+ เข้า ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ มีสารโมเลกุลใหญ่ที่มีประจุลบไม่สามารถออกนอกเซลล์ ภายในเซลล์จึงมีความต่างศักย์เป็นลบมากกว่าภายนอกเซลล์ เซลล์ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม VS เซลล์ประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ความสัมพันธ์ของเยื่อไมอีลิน กับความเร็วของกระแสประสาท เยื่อหุ้มเซลล์ การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทใน แอกชันโพเทนเชียล ภายนอกเซลล์ เส้นใยประสาทที่มเี ยื่อไมอีลนิ หุม้ จะเร็ว ภายในเซลล์ แอกชันโพเทนเชียล เยื่อไมอีลิน กว่าเส้นใยประสาทที่ไม่มเี ยื่อไมอีลินหุ้ม Na+ ความเร็วของกระแสประสาทที่ผา่ น Na+ เส้นใยประสาทที่มเี ยื่อไมอีลนิ หุม้ ขึ้นอยู่ K+ โนดออฟแรนเวียร์ กับระยะห่างของโนดออฟแรนเวียร์ ความเร็วของกระแสประสาทที่ผา่ น K+ Na+ K+ Na+ เส้นใยประสาทที่ไม่มเี ยื่อไมอีลินหุ้ม K+ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลาง + K ของเส้นใยประสาท Na+ K+ Na+ 1 กระแสประสาทที่เคลื่อนที่มาถึงปลายแอกซอนจะถูกถ่ายทอด กระแสประสาทถูกส่งมาที่ปลายแอกซอน ไปยังเดนไดรต์หรือตัวเซลล์ของเซลล์ประสาทอีกเซลล์หนึ่งผ่าน ของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ ไซแนปส์ 1 2 Ca2+ ถูกส่งเข้าสู่แอกซอนทางช่องแคลเซียม ปลายแอกซอน ช่วยผลักถุงบรรจุสารสื่อประสาทให้เคลื่อนที่ไป เซลล์ประสาท ชิดกับเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วปล่อยสารสื่อประสาท ก่อนไซแนปส์ ออกสู่ช่องไซแนปส์ 𝐂𝐚𝟐+ 2 ช่องแคลเซียม สารสื่อประสาท 𝐂𝐚𝟐+ 3 สารสื่อประสาทเข้าจับกับโปรตีนตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์ ถุงบรรจุสารสื่อประสาท ที่ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ โปรตีนตัวรับ 3 ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้า หรือเกิด ช่องไซแนปส์ กระแสประสาทขึ้นที่เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ เซลล์ประสาท หลังไซแนปส์ ศูนย์ควบคุมการทางานของ ระบบประสาทคืออวัยวะใด ? 3 ทาลามัส (thalamus) ศูนย์รวบรวมกระแสประสาทเข้าและออก สมองส่วนหน้า แยกกระแสประสาทส่งไปยังสมองส่วนที่ 1 สัมพันธ์กับกระแสประสาทนั้น 1 เซรีบรัม (cerebrum) ควบคุมความคิด ความจา สติปัญญา 4 3 ควบคุมการทางานต่าง ๆ เช่น การสัมผัส 2 การมองเห็น การได้ยิน การรับรส การดมกลิน่ การทางานของกล้ามเนือ้ 2 ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ควบคุมการเต้นของหัวใจและความดันเลือด 4 ควบคุมความต้องการพืน้ ฐาน เช่น น้า ออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulb) อาหาร ความต้องการทางเพศ ควบคุมการดมกลิน่ (ในมนุษย์ไม่เจริญมากนัก สร้างฮอร์โมนประสาทไปควบคุมการหลัง่ แต่ในปลาจะมีขนาดใหญ่) ฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า 7 พอนส์ (pons) ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้าลาย สมองส่วนกลาง การเคลื่อนไหวของใบหน้า การหายใจ สมองส่วนหลัง เป็นทางผ่านของกระแสประสาท ระหว่างเซรีบรัมกับเซรีเบลลัม และระหว่างเซรีเบลลัมกับไขสันหลัง 5 ออพติกโลบ (optic lobe) 5 ควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตา ควบคุมการเปิดและปิดของ 7 รูม่านตาเมื่อรับแสง 6 8 8 เมดัลลาออบลองกาตา 6 เซรีเบลลัม (cerebellum) (medulla oblongata) ควบคุมการเคลื่อนไหวและ ควบคุมการทางานระบบประสาทอัตโนวัติ เช่น การทรงตัวของร่างกาย การเต้นของหัวใจ การหายใจ ความดันเลือด การจาม การสะอึก การอาเจียน การกลืน คู่ที่ หน้าที่ อวัยวะที่ติดต่อ 1 รับความรู้สึก จากจมูก 2 รับความรู้สึก จากตา 3 สั่งการ ไปยังกล้ามเนื้อของลูกตา 4 สั่งการ ไปยังกล้ามเนื้อของลูกตา รับความรู้สึก จากใบหน้าและฟัน 5 สั่งการ ไปยังใบหน้าและฟัน 6 สั่งการ ไปยังกล้ามเนื้อของลูกตา รับความรู้สึก จากตุ่มรับรส 7 สั่งการ ไปยังต่อมน้าลาย 8 รับความรู้สึก จากหู รับความรู้สึก จากคอหอยและตุ่มรับรส 9 สั่งการ ไปยังคอหอยและต่อมน้าลาย รับความรู้สึก จากช่องอกและช่องท้อง 10 สั่งการ ไปยังช่องอกและช่องท้อง 11 สั่งการ ไปยังกล้ามเนื้อที่ใช้ยกไหล่ 12 สั่งการ ไปยังลิ้น โครงสร้างที่ต่อมาจากสมอง ทาหน้าที่นาความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก สั่งการหน่วยปฏิบัติงาน และเป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างหน่วยรับความรู้สึกกับสมอง และสมองกับหน่วยปฏิบัติงาน เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณคอ (cervical spinal nerves) จานวน 8 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหวและ การรับความรู้สึกบริเวณคอ แขน และอกท่อนบน เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณอก (thoracic spinal nerves) จานวน 12 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหวและ เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณเอว การรับความรู้สึกบริเวณอก ลาตัว และท้อง (lumbar spinal nerves) จานวน 5 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหว เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บ และการรับความรูส้ ึกบริเวณขา (sacral spinal nerves) กระเพาะปัสสาวะ และอวัยวะสืบพันธุ์ จานวน 5 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหว และการรับความรูส้ ึกบริเวณขา กระเพาะปัสสาวะ และอวัยวะสืบพันธุ์ เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณก้นกบ (coccygeal spinal nerves) จานวน 1 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหวและ การรับความรู้สึกบริเวณลาไส้ตรงและทวารหนัก การทางานของสมองและไขสันหลังจัดอยู่ใน ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system; CNS) การทางานของเส้นประสาทสมองและเส้นประสาทไขสันหลังจัดอยู่ใน ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system; PNS) ส่งไปสมอง จากสมอง เข็ม หน่วยรับความรู้สึก บริเวณที่แยกไป ปมประสาท สมองและไขสันหลัง รับความรู้สึก เซลล์ประสาท รับความรู้สึก เซลล์ประสาทสั่งการ กล้ามเนื้อ เซลล์ประสาทประสานงาน เพราะเหตุใด เราจึงไม่สามารถ ควบคุมการทางานของ อวัยวะบางอวัยวะได้ ? ระบบประสาท ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอก ส่วนรับความรู้สึก ส่วนสั่งการ สมอง ไขสันหลัง ระบบประสาทโซมาติก ระบบประสาทอัตโนวัติ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทภายใต้อานาจจิตใจ ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อโครงร่าง เซลล์ประสาทรับความรู้สึก แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ รีเฟล็กซ์แอกชัน และ รีเฟล็กซ์อาร์ก กล้ามเนื้อ เซลล์ประสาท ประสานงาน รีเฟล็กซ์แอกชัน (reflex action) สั่งการโดยผ่านเพียงไขสันหลัง กล้ามเนื้อ เซลล์ประสาทสั่งการ ไขสันหลัง สิ่งเร้า 1 หน่วยรับความรู้สึก หน่วยปฏิบัติงาน (อวัยวะรับความรู้สึก) รีเฟล็กซ์อาร์ก (reflex arc) 2 เซลล์ประสาท สั่งการโดยผ่านสมองและไขสันหลัง รับความรู้สึก เซลล์ประสาทรับความรู้สึก กระแสประสาทไปยังสมอง 3 เซลล์ประสาทประสานงาน ในสมองและไขสันหลัง 4 เซลล์ประสาท สั่งการ หน่วยปฏิบัติงาน เซลล์ประสาทประสานงาน 5 หน่วยปฏิบัติงาน (กล้ามเนื้อโครงร่าง) เซลล์ประสาทสั่งการ หน่วยรับความรู้สึก ปฏิกิริยาตอบสนอง ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อหัวใจ และกล้ามเนื้อเรียบของอวัยวะภายใน แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ระบบประสาทซิมพาเทติก เส้นประสาทไขสันหลัง และ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก บริเวณคอ เส้นประสาทไขสันหลัง บริเวณอก เส้นประสาทไขสันหลัง บริเวณเอว เส้นประสาทไขสันหลัง บริเวณกระเบนเหน็บ เส้นประสาทไขสันหลัง บริเวณก้นกบ ข้อเปรียบเทียบ ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ไขสันหลังบริเวณคอ อก เอว และ สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา ศูนย์กลางควบคุม บริเวณที่อยู่เหนือกระเบนเหน็บ และไขสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บ ความยาวของ เส้นประสาทนาคาสั่งก่อนไซแนปส์ เส้นประสาทนาคาสั่งก่อนไซแนปส์ เส้นประสาท สั้นกว่าเส้นประสาทนาคาสั่งหลัง ยาวกว่าเส้นประสาทนาคาสั่งหลัง ไซแนปส์ ไซแนปส์ ชนิดของสารสื่อประสาท นอร์อะดรีนาลีน แอซิติลโคลีน เนื้อเยื่อหรืออวัยวะ ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก เต้นแรงและเร็ว เต้นช้าและเบา หัวใจ อัตราสูบฉีดเลือดเพิ่มขึน้ อัตราสูบฉีดเลือดลดลง ม่านตา ขยายใหญ่ หรี่ลง ท่อลม ขยายตัว หดตัว หลอดเลือด หดเล็กน้อย ขยายเล็กน้อย ความดันโลหิต สูงขึ้น ตาลง ยับยั้งการเคลื่อนไหวและการสร้างเอนไซม์ กระตุ้นการเคลื่อนไหวและการสร้างเอนไซม์ ทางเดินอาหาร กระตุ้นการบีบตัวของกล้ามเนื้อหูรูด กระตุ้นการคลายตัวของกล้ามเนื้อหูรูด ตับอ่อน ยับยั้งการหลั่งเอนไซม์และฮอร์โมน กระตุ้นการหลั่งเอนไซม์และฮอร์โมน ถุงน้าดี ยับยั้งการหลังน้าดี กระตุ้นการหลังน้าดี ต่อมเหงื่อ หลั่งเหงื่อมากขึ้น หลั่งเหงื่อน้อยลง ต่อมน้าตา หลังน้าตามากกว่าปกติ หลังน้าตาปกติ อุณหภูมิร่างกาย เพิ่มขึ้น ตาลง กระตุ้นให้กระเพาะปัสสาวะคลายตัว กระตุ้นให้กระเพาะปัสสาวะบีบตัว กระเพาะปัสสาวะ และห้ามการขับปัสสาวะ และขับปัสสาวะ มดลูก บีบตัวลดลง บีบตัวเพิ่มขึ้น อวัยวะรับความรู้สึก มีโครงสร้างที่เหมาะสม ต่อการทาหน้าที่อย่างไร ? 1 สเคลอรา (sclera) มีความเหนียวแต่ไม่ยืดหยุ่น กระจกตา (cornea) มีลักษณะโปร่งใสและนูนออกมา หากพิการ 2 1 กล้ามเนื้อยึดเลนส์ หรือได้รับอันตรายจะส่งผลต่อการมองเห็น ม่านตา 2 โครอยด์ (choroid) กระจกตา มีหลอดเลือดมาหล่อเลี้ยงและมีสารสีกระจายอยู่ เลนส์ตา (lens) ป้องกันแสงทะลุผ่านเรตินาไปยังด้านหลังของตาโดยตรง กั้นตาออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ช่องหน้าเลนส์มีน้าเลี้ยงลูกตา ทาหน้าที่ให้สารอาหารและแก๊สออกซิเจน และช่องหลังเลนส์ มีน้าเลี้ยงลูกตาช่วยให้ลูกตาคงรูป รูม่านตา ม่านตา (iris) อยู่หน้าเลนส์ตา มีรูม่านตา (pupil) เป็นช่องให้แสงผ่าน เลนส์ตา กล้ามเนื้อยึดเลนส์ (ciliary muscle) เอ็นยึดเลนส์ และเอ็นยึดเลนส์ (suspensory ligament) ส่งผลต่อความโค้งของเลนส์ตา 3 เรตินา (retina) บริเวณที่มีเซลล์รบั แสง 2 ชนิด 3 เซลล์รูปแท่ง (rod cell) มีความไวต่อแสงมาก แต่ไม่สามารถแยกความแตกต่างของสีได้ โฟเวีย เซลล์รูปกรวย (cone cell) แยกความแตกต่างของสีได้ แต่ต้องการความสว่างที่เพียงพอ จุดบอด โฟเวีย (fovea) บริเวณที่พบเซลล์รูปกรวย จุดบอด (blind spot) มากกว่าเซลล์รูปแท่ง ไม่มีทั้งเซลล์รูปกรวยและเซลล์รูปแท่ง ทาให้เกิดภาพชัดเจน ทาให้ไม่เกิดภาพขึ้น แสงจากวัตถุผ่าน ม่านตาหดหรือขยายตัว แสงหักเหผ่าน เซลล์รูปแท่งและ เกิดกระแสประสาท กระจกตา เพื่อปรับปริมาณแสง เลนส์ตาไปตก เซลล์รูปกรวยรับแสง ส่งไปยังสมอง ที่เข้าตา บนจอตา และสีของวัตถุ ทาให้มองเห็นภาพ กล้ามเนื้อยึดเลนส์หดตัว กล้ามเนื้อยึดเลนส์คลายตัว เลนส์โค้งนูนมากขึ้น เลนส์โค้งนูนน้อยลง เอ็นยึดเลนส์หย่อน เอ็นยึดเลนส์ตึง การมองภาพระยะใกล้ การมองภาพระยะไกล สายตาสั้น กระจกตาโค้งมากกว่าปกติ แสงจากวัตถุจึงตก สวมแว่นตาที่ทาจากเลนส์เว้า เพื่อกระจายแสง สาเหตุ แก้ไข ไม่ถึงจอภาพ ทาให้มองใกล้ชัดแต่มองไกลไม่ชัด ให้ไปตกที่จอภาพพอดี สายตายาว กระจกตาโค้งน้อยกว่าปกติ แสงจากวัตถุจึงตก สวมแว่นตาที่ทาจากเลนส์นูน เพื่อรวมแสง สาเหตุ แก้ไข เลยจอภาพ ทาให้มองไกลชัด แต่มองใกล้ไม่ชัด ให้ไปตกที่จอภาพพอดี สายตาเอียง กระจกตามีความโค้งไม่เท่ากัน แสงจากวัตถุ สวมแว่นตาที่ทาจากเลนส์ทรงกระบอกหรือ สาเหตุ แก้ไข จึงตกไม่ถึงจอภาพ และมีความเบลอ เลนส์กาบกล้วย เพื่อรวมแสงให้ไปตกที่จอภาพพอดี เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสารโรดอพซินที่ เซลล์รูปกรวยในชั้นเรตินา แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ฝังตัวอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รูปแท่ง - เซลล์รูปกรวยไวต่อแสงสีน้าเงิน - เซลล์รูปกรวยไวต่อแสงสีแดง - เซลล์รูปกรวยไวต่อแสงสีเขียว โรดอพซิน 4 แสง 1 เรตินอล ออพซิน 3 2 ส่งกระแสประสาทไปยัง เอนไซม์ + ATP เส้นประสาทสมองสมองคู่ที่ 2 1 หูส่วนนอก มีใบหูทาหน้าที่รับและรวมคลื่นเสียงส่งผ่านเข้าสู่รูหู ภายในรูหูมีขนและต่อมสร้างขี้หูช่วยทาให้เกิดความชื้น ป้องกันฝุ่นละอองและเชื้อโรค กระดูกโกลน มีเยือแก้วหู (tympanic membrane) อยู่ในสุด กระดูกค้อน เป็นเยื่อบาง ๆ เชื่อมหูส่วนนอกกับหูส่วนกลาง ทาหน้าที่ แยกคลื่นเสียงและมีความไวต่อการเปลีย่ นแปลงความดัน 2 หูส่วนกลาง ทาหน้าที่ขยายและป้องกันเสียงดัง ประกอบด้วยกระดูกค้อน (malleus) กระดูกทัง (incus) และกระดูกโกลน (stapes) ยึดติดกัน ทาหน้าที่ขยาย ใบหู เยื่อแก้วหู กระดูกทั่ง ท่อยูสเตเชียน การสั่นสะเทือน ช่องหู มีท่อยูสเตเชียน (Eustachian tube) ทาหน้าที่ปรับ ความดันภายในหูส่วนกลางกับภายนอก 3 หูส่วนใน เซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล ชุดทีใช้ฟังเสียง มีคอเคลีย (cochlea) ที่บรรจุของเหลว เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 อยู่ภายใน เมื่อคลื่นเสียงผ่านมาจะทาให้ของเหลวสัน่ แล้วแปลสัญญาณเสียงเป็นกระแสประสาทส่งไปยัง เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เข้าสู่เซรีบรัม ชุดที่ใช้ในการทรงตัว มีเซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล คอเคลีย (semicircular canal) ที่บรรุของเหลวอยู่ภายใน และบริเวณโคนเป็นแอมพูลลา (ampulla) ซึ่งมีเซลล์ขน รับการเปลี่ยนแปลงของของเหลว แล้วส่งสัญญาณ เป็นกระแสประสาทส่งไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เข้าสู่เซรีบรัม ออลแฟกทอรีบัลบ์ ออลแฟกทอรีบัลบ์ เส้นใยประสาทรับกลิ่น เซลล์ประสาทรับกลิ่น ซิเลีย มีออลแฟกทอรีเมมเบรน (olfactory membrane) เป็นหน่วยรับความรู้สึกด้านสารเคมี มีออลแฟกทอรีเซลล์ (olfactory cell) เป็นเซลล์รับความรู้สึกที่ไวต่อการรับกลิ่น มีเซลล์ประสาทรับกลิน (olfactory neuron) เปลี่ยนกลิ่นเป็นกระแสประสาทส่งไปตาม เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 เข้าสู่ออลแฟกทอรีบัลบ์และเซรีบรัม ตามลาดับ พาพิลลา ตุ่มรับรส เส้นประสาท รูรับรส เซลล์รับรส ด้านบนของลิ้นมีพาพิลลา (papilla) ที่ประกอบด้วยตุ่มรับรส (taste bud) ซึ่งมีเซลล์รับรส (taste cell) อยู่ภายใน ด้านล่างมีเส้นประสาทนากระแสประสาทผ่านเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 และคู่ที่ 9 เข้าสู่สมองส่วนเซรีบรัม รับรสได้ 5 รส ได้แก่ รสหวาน รสขม รสเปรี้ยว รสเค็ม และรสอร่อย (อูมามิ) หน่วยรับความรู้สึก หน่วยรับความรู้สึก เกี่ยวกับความเจ็บปวด จากการสัมผัส อวัยวะรับความรู้สึกที่มีพื้นที่มากที่สุด ในร่างกาย หน่วยรับความรู้สึก จากการสัมผัสเบา ๆ หน่วยรับความรู้สึกเย็น มีหน่วยรับความรู้สึกหลายล้านเซลล์ แต่ละบริเวณมีเซลล์รับความรู้สึกแตกต่างกัน หน่วยรับความรู้สึกร้อน หน่วยรับความรู้สึก หน่วยรับความรู้สึก จากการสัมผัสที่ขน จากแรงกด เส้นประสาทไปสมอง เซลล์ประสาทรับกลิ่น กลิ่นอาหาร โมเลกุลอาหาร เซลล์รับรส เส้นประสาทไปสมอง การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์มีกระดูกสันหลัง ไฮดรา มีสมองและไขสันหลัง มีร่างแหประสาทเชื่อมเซลล์ประสาทเข้าด้วยกัน ควบคุมการทางานของระบบประสาท และมีเส้นประสาทแยกออกมาจานวนมาก พลานาเรีย มีปมประสาทบริเวณส่วนหัวและมีเส้นใยประสาท ตามลาตัว ไส้เดือนดิน หอย กุ้ง แมลง มีปมประสาทขนาดใหญ่เป็นสมอง บริเวณส่วนหัว ปมประสาทตามลาตัว และมีเส้นประสาทเชื่อมต่อกับ ปมประสาท เซลล์ประสาท ประเภทของเซลล์ประสาท จาแนกตามหน้าที่ 1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก พบที่อวัยวะความรู้สึก 2. เซลล์ประสาทประสานงาน พบที่สมองและไขสันหลัง 3. เซลล์ประสาทสั่งการ พบที่หน่วยปฏิบัติงาน ตัวเซลล์ สร้างสารที่จาเป็นต่อเซลล์ประสาท จาแนกตามรูปร่าง และส่งไปยังเซลล์ประสาทอื่น ๆ 1. เซลล์ประสาทขั้วเดียว ตัวเซลล์มีแอกซอน 1 เส้นใย 2. เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม เส้นใยประสาทแยกออกจาก ตัวเซลล์เส้นใยเดียว แล้วแตกเป็น 2 เส้นใย 3. เซลล์ประสาทสองขั้ว ตัวเซลล์มีแอกซอน 1 เส้นใย และเดนไดรต์ 1 เส้นใย 4. เซลล์ประสาทหลายขั้ว ตัวเซลล์มีแอกซอน 1 เส้นใย เส้นใยประสาท และเดนไดรต์หลายเส้นใย แบ่งออกเป็นเดนไดรต์นากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ และแอกซอนนากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ การทางานของเซลล์ประสาท การเกิดกระแสประสาท เกิดจากแอกชันโพเทนเชียล ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก ดีโพลาไรเซชัน รีโพลาไรเซชัน ภายนอกเซลล์มี Na+ และภายในเซลล์มี K+ ช่องโซเดียมเปิด Na+ ไหลเข้าในเซลล์ ช่องโพแทสเซียมเปิด K+ ไหลออกนอกเซลล์ ความต่างศักย์ที่เยื่อหุ้มเซลล์เท่ากับ -70 mV ความต่างศักย์ที่เยื่อหุ้มเซลล์เปลี่ยนเป็น +50 mV ความต่างศักย์ที่เยื่อหุ้มเซลล์เปลี่ยนเป็น -70 mV การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท เมื่อกระแสประสาทเคลื่อนที่มาถึงปลายแอกซอน ปลายแอกซอน จะถูกถ่ายทอดผ่านไซแนปส์ไปยังเดนไดรต์ เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ ของอีกเซลล์ประสาทหนึ่งโดยใช้สารสื่อประสาท สารสื่อประสาท แล้วกระตุ้นให้เกิดกระแสประสาทในเซลล์ประสาท ถัดไป ช่องไซแนปส์ เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ ศูนย์ควบคุมระบบประสาท สมอง ไขสันหลัง สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณคอ 8 คู่ ควบคุมบริเวณคอ แขน และอกท่อนบน เซรีบรัม ไฮโพทาลามัส ความคิด ความจา เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณอก 12 คู่ อุณหภูมิร่างกาย และการทางานต่าง ๆ ควบคุมบริเวณอก ลาตัว และท้อง การเต้นของหัวใจ ทาลามัส ความดันเลือด ศูนย์รวบรวมกระแสประสาท เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณเอว 5 คู่ เข้าและออก ควบคุมบริเวณขา กระเพาะปัสสาวะ และอวัยวะสืบพันธุ์ ออพติกโลบ การเคลื่อนไหว เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บ 5 คู่ เซรีเบลลัม ควบคุมบริเวณขา กระเพาะปัสสาวะ และอวัยวะสืบพันธุ์ ของลูกตา การเคลื่อนไหวและ การทรงตัวของร่างกาย พอนส์ การเคลื่อนไหวของใบหน้า เมดัลลาออบลองกาตา เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณก้นกบ 1 คู่ การหายใจ ควบคุมการทางานของ ควบคุมบริเวณลาไส้ตรงและทวารหนัก ระบบประสาทอัตโนวัติ การทางานของระบบประสาท ระบบประสาทโซมาติก ระบบประสาทภายใต้อานาจจิตใจ ทาหน้าที่สั่งการหน่วยปฏิบัติงานที่ควบคุมได้ เช่น กล้ามเนื้อโครงร่าง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท รีเฟล็กซ์แอกชัน สั่งการโดยผ่านไขสันหลังเพียงอย่างเดียว รีเฟล็กซ์อาร์ก สั่งการโดยผ่านสมองและไขสันหลัง ระบบประสาทอัตโนวัติ ระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ ทาหน้าที่สั่งการหน่วยปฏิบัติงานที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น อวัยวะภายใน ต่อมต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ระบบประสาทซิมพาเทติก ควบคุมหน่วยปฏิบัติงานที่นาคาสั่งจากเส้นประสาทไขสันหลังบริเวณคอ อก และบั้นเอว โดยใช้นอร์อะดรีนาลีนเป็นสารสื่อประสาท ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ควบคุมหน่วยปฏิบัติงานที่นาคาสั่งจากสมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตาและไขสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บ โดยใช้แอซิติลโคลีนเป็นสารสื่อประสาท 1 ตากับการมองเห็น อวัยวะรับความรู้สึก เมื่อแสงตกกระทบกับวัตถุแล้วสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา แสงจะผ่านรูม่านตาโดยมีเลนส์ตาทาหน้าที่รวมแสงไปตก บริ เ วณชั้ น เรติ น าที่ ป ระกอบด้ ว ยเซลล์ รู ป แท่ ง และเซลล์ รู ป กรวย แล้ ว แปลเป็ น สั ญ ญาณประสาทส่ ง ไปทาง เส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 เข้าสู่สมองส่วนออพติกโลบ 2 หูกับการได้ยิน เมื่ อ คลื่ น เสี ย งผ่ า นเข้ าหู จากหู ส่ ว นนอก หู ส่ ว นกลาง และหู ส่ ว นใน คลื่ น เสี ย งจะท าให้ข องเหลวในคอเคลี ย สั่นสะเทือน แล้วแปลเป็นกระแสประสาทส่งไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เข้าสู่สมองส่วนเซรีบรัม และยังทาหน้าที่ รับรู้เกี่ยวกับการทรงตัวของร่างกาย โดยการเปลี่ยนแปลงของของเหลวในเซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล แล้วแปลเป็น กระแสประสาทส่งไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เช่นกัน 3 จมูกกับการดมกลิ่น เมื่อมีโมเลกุลสารเคมีผ่านเข้าจมูก ออลแฟกทอรีเซลล์จะทาหน้าที่รับกลิ่นและแปลเป็นกระแสประสาทส่งไปยัง เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 นาเข้าสู่สมองส่วนเซรีบรัม 2 1 4 ลิ้นกับการรับรส 3 ลิ้นจะมีตุ่มรับรส ทาหน้าที่รับรสและแปลเป็นกระแสประสาทส่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 และ 9 นาเข้าสู่ สมองส่วนเซรีบรัม 4 5 ผิวหนังกับการรับความรู้สึก บริเวณผิวหนังจะพบเซลล์ประสาทรับความรู้สึกเป็นจานวนมาก ทั้งหน่วยรับความรู้สึกจากการสัมผัส แรงกด 5 ความร้อน ความเย็น ซึ่งจะส่งกระแสประสาทไปยังสมอง

Use Quizgecko on...
Browser
Browser