ระบบประสาท 2566 PDF

Summary

เอกสารนี้นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก รวมถึงความสำคัญของระบบประสาทในร่างกายมนุษย์

Full Transcript

ระบบประสาท และอวัยวะรับความรู้สึก (Nervous System and Sense organs) ทาไมต้องเรียนเรื่องนี้ ระบบนี้มีความสาคัญอย่างไร ให้นักเรียนเขียนตอบสั้นๆลงในสมุด ความสาคัญของระบบประสาท มีหน้าที่ควบคุมและประสานการทางานของระบบ ต่าง ๆ ในร่างกาย ให้ร่างกายทางานได้ปกติและอยู่ ในภาวะสมดุล ทาให้เ...

ระบบประสาท และอวัยวะรับความรู้สึก (Nervous System and Sense organs) ทาไมต้องเรียนเรื่องนี้ ระบบนี้มีความสาคัญอย่างไร ให้นักเรียนเขียนตอบสั้นๆลงในสมุด ความสาคัญของระบบประสาท มีหน้าที่ควบคุมและประสานการทางานของระบบ ต่าง ๆ ในร่างกาย ให้ร่างกายทางานได้ปกติและอยู่ ในภาวะสมดุล ทาให้เกิดการรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น รูปแบบการรับรู้และการตอบสนองของสิง่ มีชีวิต สิงเร้า (stimulus) หน่วยรับความรูส้ กึ (receptor) เซลล์ประสาทรับความรูส้ กึ (sensory neuron) หน่วยแปลความรูส้ กึ เซลล์ประสาทสังการ (motor neuron) หน่วยปฏิบตั งิ าน (effector) การตอบสนอง (response) ตย.การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต การจีเอวคือ สิงเร้า ↓ ผิวหนังทีถูกจี คือ หน่วยรับความรูส้ กึ ↓ เซลล์ประสาทรับความรูส้ กึ ↓ หน่วยแปลความรูส้ กึ คือ สมอง ↓ เซลล์ประสาทสังการ ↓ หน่วยปฏิบตั งิ าน กล้ามเนือ ↓ เกิดอาการจักจี การตอบสนอง การรับรูแ้ ละการตอบสนองมีความสําคัญกับสิงมีชวี ติ อย่างไร -การรับรูแ ้ ละการตอบสนองช่วยให้สงมี ิ ชวี ติ สามารถอยูร่ อดได้ เช่น สามารถหาอาหารได้ หลบหลีกศัตรูได้ เป็ นต้น นักเรียนคิดวาการรับรูและการตอบสนองของ สิ่งมีชีวิตเกี่ยวของกับระบบประสาทอยางเดียว หรือไม การรับรูและการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต อาศัยการทํางาน 2 ระบบทํางานรวมกัน ระบบประสาท(nervous system) + ระบบต่อมไร้ทอ่ (endocrine system) สรุป ระบบประสาทเปนระบบที่ควบคุมการทํางานสวน อื่นๆในรางกาย และชวยทําใหสิ่งมีชีวิตสามารถรับรู และตอบสนองเมื่อมีสิ่งเรามากระตุน ซึ่งการรับรูและ การตอบสนองชวยทําใหสิ่งมีชีวิตสามารถอยูรอดได นักเรียนคิดวาสิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีโครงสราง และ รูปแบบที่ใชในการตอบสนองตอสิ่งเรา เหมือนหรือ แตกตางกันหรือไม อยางไร อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างที่ใช้ในการรับรู้เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต Monera Plant Animalia Protista อาศัยการ สวนมากอาศัยการ Fungi ทํางานของ ทํางานของระบบ อาศัยโปรตีน ฮอรโมนพืช ประสาท (ยกเวน ตัวรับที่แทรก ฟองน้ํา) ตัวอยูที่เยื่อ หุมเซลล การตอบสนองของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ระบบประสาทของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (unicellular organism) Euglena amoeba Paramesium เป็นพวกไม่มีเซลล์ประสาทแต่สามารถตอบสนองต่อสิ่ง เร้าต่าง ๆ เช่น แสงสว่าง อุณหภูมิ สารเคมี และวัตถุ ที่มาสัมผัส โดยมีการเคลื่อนที่เข้าหาหรือเคลื่อนที่หนี โครงสร้างในการตอบสนอง อะมีบา (amoeba) ไม่มเี ซลล์ประสาท มีการ ตอบสนองต่อสิงเร้าประเภทอาหาร และแสง โครงสร้างในการตอบสนอง พารามีเซียม (Paramesium) มีเส้นใยประสานงาน (Co-ordinating Fiber) ควบคุมการเคลื่อนไหวของซิเลียให้ประสานกันขณะเคลื่อนที่ โครงสร้างในการตอบสนอง ยูกลีนา (Euglena) Eyespot Flagellum Eyespot (บริเวณรับแสง) ควบคุมการเคลื่อนที่ของยูกลีนาตามความเข้มของแสง การตอบสนองของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง ระบบประสาทฟองน้า (Porifera) ไม่มีระบบประสาท ไม่มีเซลล์ ประสาท การรับรู้และตอบสนอง ขึ้นอยู่กับการทางานของแต่ละเซลล์ แต่ไม่มกี ารประสานงานระหว่าง เซลล์ ฟองน้า (Sponge) ตอบสนองต่อแรงกด การสัมผัส ระบบประสาทของไฮดรา (Cnidaria) สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่เริ่มมีระบบประสาท ไฮดรา (Hydra) เซลล์ประสาทสานกันเป็นร่างแห (Nerve Net) รับรู้ได้แต่ตอบสนองช้า Q: ถาใชเข็มแตะที่ปลาย tentacle ของไฮดรา จะเกิดอะไรขึ้น A: tentacle และสวนอื่นๆ ของรางกายจะหดสั้นลง Q: นักเรียนจะอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นไดอยางไร A: เพราะเซลลประสาทของไฮดราเชื่อมโยงเปนรางแห ทําใหมีกระแสประสาทกระจายไปทั่วรางกาย ระบบประสาทของแมงกระพรุน แมงกระพรุนไม่มีสมอง แต่แมงกะพรุนก็รับรู้ได้ผ่านทางเส้นประสาทที่กระจายอยู่ทั่วตัว โดยมี จุดศูนย์รวมของอวัยวะรับสัมผัสที่เรียกว่า Rhopalium กระจายอยู่รอบๆ ขอบร่ม (พหูพจน์ = Rhopalia) ระบบประสาทของแมงกระพรุน Rhopalia ซึ่งจะมีตัวรับความรูสึก (receptor) ตาง ๆ ดังนี้ - เกี่ยวกับแสง เรียกวา Ocelli - ตัวที่รักษา/ รับรูสมดุลเรียกวา Statocysts - ตัวที่รับรูสารเคมีเรียกวา Olfaction - ตัวที่รับแรงสัมผัส เรียกวา Sensory lappets ระบบประสาทพลานาเรีย (Platyhelminthes) พลานาเรีย (Planaria) มีปมประสาท (Ganglion) ที่หัวทาหน้าที่คล้ายสมอง และ เส้นประสาทข้างลาตัว ( Lateral Nerve Cord) และจะมีเส้นประสาทตามขวาง (Transverse nerve) แบบขั้นบันได (ladder type) ระบบประสาทพลานาเรีย (Platyhelminthes) พลานาเรียมีตัวรับสารเคมีที่ เรียกวา Auricle ที่บริเวณหัว มี Ocelli รวมกลุมทําหนาที่เปน Eyespot ที่มีความไวตอ แสง Q: การรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าของไฮดรากับ พลานาเรียแตกต่างกันอย่างไร? A: ไฮดรามีรางแหประสาท เมื่อมีสิ่งเรามากระตุน จะมีกระแส ประสาทกระจายไปทั่ว ทําใหมีการตอบสนองโดยอาจหดทั้ง tentacle และทั้งตัว ขณะที่พลานาเรียมีปมประสาทอยูที่หัว เมื่อมีสิ่งเรามากระตุน จะ เกิดกระแสประสาทจากบริเวณที่ถูกกระตุนไปตามเสนประสาทสงไป ยังปมประสาท ซึ่งเปนศูนยกลางที่มีเซลลประสาทอยูหนาแนน แลว สงกระแสประสาทไปยังหนวยปฏิบัติงาน ดังนั้นการตอบสนองของ พลานาเรียจึงเกิดเฉพาะสวนของรางกาย ระบบประสาทของไส้เดือนดิน (Annelida) มีปมประสาทขนาดใหญ่ที่หัว และปมประสาทแต่ละ ปล้องของลาตัว มีเส้นประสาทด้านท้อง (ventral nerve cord)2 เส้น Supra-pharyngeal ganglion Circumpharyngeal nerve Sub-pharyngeal ganglion ระบบประสาทของแมลง (Arthropoda) แมลง - มีปมประสาทขนาดใหญ่ทาหน้าที่เป็นสมองที่หัว - มีปมประสาทอยู่ตามปล้องของลาตัว - มีเส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord) Q: พลานาเรีย กับไส้เดือนดินและแมลงมีการรับรู้และตอบสนองต่อ สิ่งเร้าแตกต่างกันอย่างไร A: ตางกัน คือ ปมประสาทของพลานาเรียอยูที่หัว ดังนั้นการรับรู และการสั่งงานใหเกิดการตอบสนองจะอยูที่ปมประสาทสวนหัว สวนไสเดือนดินกับแมลงมีปมประสาทอยูตามแนวกลางลําตัว แตละปมประสาทมีเสนประสาทเชื่อมโยงกัน ดังนั้นการรับรูและการ สั่งงานจึงออกจากปมประสาทไปยังหนวยปฏิบัติงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ ระบบประสาทของกุ้ง (Arthropoda) กุงลอบสเตอร (Lobster) มีสมองเชื่อมกับปมประสาทดานทอง ปมที่ 1 ซึ่งอยูใตกระเพาะอาหาร มี Nerve cord สองเสนแยก ออกมาและ ทอดตัวไปตามความยาวของกุง และมีคู Segmental ganglia ตลอด ความยาวตัวที่ดาน Ventral ระบบประสาทของปู ปู (Crab) มีระบบประสาท สวนกลางแบบรวม มีปมประสาท ใหญ 2 จุดคือ Cerebral ganglia ที่ใตฐานตา Thoracic ganglia ซึ่งเปนปม ขนาดใหญบริเวณกลางตัว ระบบประสาทของดาวทะเล (Echinodermata) มีระบบประสาทเป็นแบบ วงแหวน (Nerve Ring) อยู่รอบปาก แขนงที่แตกออกตามแนวรัศมี (Radial Nerve) ดาวทะเล (Star Fish) ระบบประสาทของหมึก (mollus) หมึกกลวย (Loligo duvauceli) stellate ganglion หรือปมประสาท รูปดาว นี้จะทําหนาที่เกี่ยวของกับ การควบคุมการเคลื่อนที่อยางรวดเร็ว ในหมึกเวลาที่เจอผูลาหรือตองการจะ ลาเหยื่อ และยังทําหนาที่ควบคุม เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนแกสไดอีก ดวย ระบบประสาทของหมึกยักษ์ หมึกยักษ (Octopus) เปนสัตวไมมีกระดูกสันหลังที่มีระบบประสาทพัฒนามาก ที่สุด มีเซลลประสาทจํานวนมากและมีการจัดกลุมที่ซับซอนเปนพู (Lobe) เปน สัน (Tracts) เปนสัตวที่ความจําดีเรียนรูเร็วมีดวงตาคลายสัตวมีกระดูกสันหลัง และมี Statocyst อวัยวะที่ชวยในการพยุงตัว ระบบประสาทของหอย หอยฝาเดียว หอยทาก (Snail) มีปมประสาท 6 ปม มี Chemosensor ที่ชื่อ Osphradia ใน Mantle cavity เพื่อหาสารเคมีในน้ํา และอากาศ ปมประสาท (ganglia) มีลักษณะเป็นวงแหวน (nerve ring) ล้อมรอบหลอดอาหาร ส่วนนี้ ทาหน้าที่ เป็นสมอง เส้นประสาทใหญ่ (nerve cord) 2 คู่ คือ visceral nerve cord ไปอวัยวะภายใน pedal nerve cord ไปยังเท้า ระบบประสาทของหอย หอยสองฝา มีปมประสาท 3 คูคือ Cerebral : ควบคุม Esophagus (ทางเดินอาหาร) Visceral : ควบคุมกลามเนื้อที่ใชในการ ปด-เปดฝาหอย Pedal : ควบคุมการทํางานของเทา สรุป สิ่งมีชีวิตกลุ่มใด เริ่มมีเซลล์ประสาท Cnidarian สิ่งมีชีวิตกลุ่มใด เริ่มมีการรวมกันของเซลล์ประสาท (ganglion) ที่บริเวณหัว หนอนตัวแบน สิ่งมีชีวิตกลุ่มใด เริ่มจะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทอยู่ทางด้าน ท้อง เรียก ventral nerve cord ไส้เดือนดิน สิ่งมีชีวิตกลุ่มใด มี ganglion ในแต่ละปล้องของลาตัว ไส้เดือนดินและแมลง ในสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมี dorsal hollow nerve cord มา แทนที่ ventral nerve cord Question ? เส้นใยประสานงานของพารามีเซียมมีหน้าที่ควบคุม การพัดโบกของซีเลีย พลานาเรียมีระบบประสาทแบบร่างแห ไฮดราจะหดตัวบริเวณที่ถูกกระตุ้นเท่านั้น พลานาเรียตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ดีกว่าไส้เดือนดิน ยูกลีนาไม่มีเซลล์ประสาท แต่รับรู้ได้โดยมีจุดรับแสง การตอบสนองของสัตว์ มีกระดูกสันหลัง - มีระบบประสาทพัฒนามาก - มีสมอง (brain) และไขสันหลัง (Spinal cord) ทาหน้าที่เป็น ศูนย์กลางของระบบประสาท - มีเส้นประสาทแยกออกมาจาก สมอง และไขสันหลัง องค์ประกอบของเนือเยือประสาทจะประกอบด้วย เซลล์ประสาท (nerve cell) เซลล์คาจุ ํ นประสาท (neuroglia) รับส่งสัญญาณประสาท ทําหน้าทีอืนๆ เซลล์คาจุ ํ นประสาท (neuroglia หรือ Glia cell) หน้าที่โดยทั่วไปของเซลล์เกลีย คือ ช่วยพยุงให้เซลล์ประสาทอยู่ใน ตาแหน่งคงที,่ ช่วยเป็นแหล่งอาหารและออกซิเจนของเซลล์ประสาท, ช่วยเป็นฉนวนกั้นเซลล์ประสาทไม่ให้มีกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการ ทางานของเซลล์ประสาทรบกวนกันเอง, ช่วยป้องกันเชื้อโรคที่จะเข้าสู่ เซลล์ประสาท, ช่วยกาจัดซากเซลล์ประสาทที่ตายแล้ว, และมีส่วนช่วย ในการรับส่งสัญญาณจากเซลล์ประสาท เซลลชนิดนี้ทําหนาที่กรองและกั้นน้ํา หลอเลี้ยงสมองและไขสันหลั ทํางหนาที่สรางเยื่อไมอีลิน ทําหนาที่ชวยปรับสภาพองคประกอบ ทางเคมีภายนอกเซลล. ชวยในกระบวนการกรองกั้นสารในปองกันสิ่งแปลกปลอมในระบบ สมอง มีหนาที่ชวยค้ําจุนเซลลประสาทส ประสาทวนกลาง เซลล์ประสาท (Neuron) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบประสาท มีเยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม และ นิวเคลียสเหมือนเซลล์อื่นๆ แต่ มีรูปร่างและลักษณะแตกต่างออกไป ถ่ายทอดกระแสประสาท ส่งต่อไปยังปลายทาง เพื่อให้เกิดการรับรู้และตอบสนอง เซลล์ประสาท (Neuron / neurone ) ประกอบด้วย เส้นใยประสาท (nerve fiber) ตัวเซลล์ cell body ตัวเซลล์ (Cell body) Mitochondria, ER, Golgi complex Nissl bodies Nissl bodies คือกลุมของแกรนูลที่เกิดจากการรวมกันระหวาง RER และไรโบโซมอิสระ ทําหนาที่หลักในการสังเคราะหโปรตีน และสารสื่อ ประสาท เชน acetylcholine เส้นใยประสาท เส้นใยประสาท มี 2 แบบ แอกซอน(Axon) เดนไดรต์(Dendrite) นากระแสประสาทออกจากตัว นากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ เซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอื่น ๆ แอกซอนส่วนใหญ่มีแผ่นไขมันที่เรียกว่า เยื่อไมอีลิน (Myelin sheath) หุ้มเป็นช่วง - เป็นฉนวนกั้นการถ่ายเทประจุไฟฟ้าระหว่างข้างนอกกับข้างในแอกซอน - ส่วนของ axon ตรงรอยต่อของ Schwann cell แต่ละเซลล์เป็นบริเวณ ที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม เรียกว่า โนดออฟแรนเวียร์ กระแสประสาทเคลื่อนที่ เฉพาะบริเวณนี้ การเกิดเยือไมอีลนิ หุม้ แอกซอน - ระยะเอ็มบริโอ เซลล์ประสาทยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ เส้นใยประสาทที่ยาวยังไม่มี เยื่อไมอีลินหุ้ม มีแต่ชวันน์เซลล์ จึงมีการนากระแสประสาทที่ไม่ดีและช้า - เมื่อเริ่มพัฒนามากขึ้น เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ชวันน์จะม้วนหุ้มรอบแอกซอน ทา ให้เกิดการนากระแสประสาทได้ดีขึ้น ดังนันเยือไมอีลนิ ก็คอื เยือหุม้ เซลล์ของเซลล์ชวันน์นนเอง ั !!!!! ชนิดของเซลล์ประสาท 1. แบ่งตามจานวนเส้นใยประสาทต่อหนึ่งเซลล์ประสาท ได้เป็น เซลล์ประสาทขั้วเดียว (Unipolar neuron) เซลล์ประสาทสองขั้ว (Bipolar neuron) เซลล์ประสาทหลายขั้ว (Multipolar neuron) เซลล์ประสาทขั้วเดียว (Unipolar neuron) เซลล์ประสาทขั้วเดียว (Unipolar neuron) มีใยประสาทเส้นเดียว คือ Axon พบในเซลล์ประสาทที่หลั่งฮอร์โมนของสัตว์ต่างๆ เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม (Pseudounipolar neuron) พบในเซลล์ประสาทรับความรู้สกึ ที่มีตัวเซลล์อยู่ในปมประสาท รากบนของไขสันหลัง เซลล์ประสาทสองขั้ว (Bipolar neuron) เซลล์ประสาทสองขั้ว (Bipolar neuron) - มีเส้นใยประสาทออกมาจากตัวเซลล์ 2 เส้น (dendrite กับ axon) - พบในเซลล์ประสาทรับความรู้สึก เช่น เซลล์ประสาทที่ บริเวณเรตินา เซลล์รับกลิ่น เซลล์รับเสียง เซลล์รับรส เซลล์ประสาทหลายขั้ว (Multipolar neuron) - มี dendrite จานวนมาก มี Axon 1 เส้น - เป็นเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ เช่น motor neuron และ association neuron/interneuron ชนิดของเซลล์ประสาท 2. จาแนกตามหน้าที่ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory neuron) เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron) ชนิดของเซลล์ประสาท 1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory Neuron) - อยู่ที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง - รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึก →ระบบประสาทส่วนกลาง อาจผ่านหรือไม่ ผ่านเซลล์ประสาทประสานงาน→ เซลล์ประสาทสั่งการ ชนิดของเซลล์ประสาท 2. เซลล์ประสาทประสานงาน (Interneuron) - อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง - เชื่อมต่อระหว่าง Sensory neuron กับ motor neuron ชนิดของเซลล์ประสาท 3. เซลล์ประสาทสั่งการ (Motor Neuron) - อยู่ในไขสันหลัง มี axon ยาวกว่า dendrite - ส่งกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงาน เพื่อควบคุมการทางานของอวัยวะต่างๆ ชนิดของเซลล์ประสาท (ต่อ) ชนิดของเซลล์ประสาท (ต่อ) เส้นประสาท (Nerve) หมายถึง กลุ่มของเส้นใยประสาท (Nerve fibers) ที่ รวมกันเป็นมัดหรือแท่ง ทาหน้าที่นาสัญญาณประสาท ติดต่อกันระหว่างระบบประสาทส่วนกลางกับระบบ ประสาทส่วนปลายของร่างกาย จาแนกเป็น 3 ประเภท คือ 3.1 เส้นประสาทรับความรู้สึก (Sensory Nerve) คือ เส้นประสาททีน่ ากระแสประสาทความรู้สึกไปยังระบบ ประสาทส่วนกลาง 3.2 เส้นประสาทสั่งการ (Motor Nerve) คือ เส้นประสาท ที่นากระแสประสาทสั่งการจากระบบประสาทส่วนกลางไป ยังกล้ามเนื้อหรือต่อมต่างๆ 3.3 เส้นประสาทรวม (Mixed Nerve) คือ เส้นประสาทที่ ประกอบด้วยทั้งเส้นใยประสาทรับความรู้สึก และสั่งการ ซึ่ง ทาหน้าที่นากระแสประสาทไปและกลับยังระบบประสาท ส่วนกลาง เส้นประสาท (Nerve) เส้นประสาท (Nerve) ไซแนปส์ (Synapse) ▷จุดประสานระหว่างเซลล์ประสาทกับเซลล์ ประสาท หรือกับหน่วยปฏิบัติงาน การทางานของเซลล์ประสาท ▷กระแสประสาทเกิดขึ้นได้อย่างไร? ▷กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปตามเซลล์ ประสาทได้อย่างไร? การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ประสาท - เซลล์ประสาท ทาหน้าที่ส่ง กระแสประสาท (nerve impulse) โดยกระแสประสาทจะอยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้า การเกิดกระแสประสาท มี ส ง ่ ิ เร้ า มากระตุ ▷กระแสประสาทเกิดจาก........................... น ้ หน่ ว ยรั บ ความรู ส ้ ก ึ ▷กระแสประสาทคืออะไร มีกลไกการเกิดและวัดได้อย่างไร? การทางานของเซลล์ประสาท Huxley Hodgkin ▷Hodgkin & Huxley (Nobel prize,1963) การทางานของเซลล์ประสาท (ต่อ) ~ -70 mV การทางานของเซลล์ประสาท (ต่อ) ▷ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างภายในและภายนอกเซลล์ เรียกว่า ศักย์เยื่อเซลล์ (membrane potential) ▷การเปลี่ยนแปลงค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นระหว่าง ภายในกับภายนอกเซลล์ประสาท เรียกว่า แอกชันโพเทลเชียล (action potential) หรือกระแสประสาท (nerve impulse) ▷การเกิดกระแสประสาท เป็นกระบวนการที่มีทั้งการ เปลี่ยนแปลงทางไฟฟ้าและทางเคมีจึงจัดเป็นปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี (electrochemical reaction) ลักษณะการทางานของเซลล์ประสาท แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1. การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ประสาท 2. การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ 1. การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ประสาท ▷เกิดขึ้น 3 ระยะ ดังนี้ 1.1 ระยะโพลาไรเซชัน (Polarization) หรือระยะพัก (resting stage) 1.2 ระยะดีโพลาไรเซชัน (depolarization) 1.3 ระยะรีโพลาไรเซชัน (repolarization) การเกิดกระแสประสาท 1. ระยะโพลาไรเซชัน (Polarization) หรือระยะพัก (resting stage) หรือสภาวะปกติ เป็นระยะที่อยู่ในสภาวะก่อนถูกกระตุ้น ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (resting membrane potential) ~ - 50 ถึง -100 mV. นอกเซลล์มี Na+ มาก มี K+ น้อย ในเซลล์มี Na+ น้อย มี K+ มาก และภายในเซลล์มีโปรตีนและกรดนิวคลีอิกซึ่งมีประจุ ลบ สาเหตุที่ทาให้เซลล์ประสาทรักษาสภาพให้ด้านนอกเป็น + และ ด้านในเป็น - ▷การมี Na+ - K+ pump ▷เกิดการแพร่ของไอออนผ่านโปรตีนที่ฝังตัวในเยื่อหุ้ม เซลล์ โดยโปรตีนที่ฝังตัวอยู่มี Non-gated chanel (leak chanel) ช่องที่เปิด ตลอดเวลา Voltage-gated chanel สามารถเปิดหรือปิดได้ขึ้นอยู่กับ การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ resting stage 1. ระยะโพลาไรเซชัน (Polarization) เซลล์จะรักษาความแตกต่างไอออนอย่างนี้ไว้ตลอดเวลา โดย ผ่านทาง Na+ - K+ pump (ในอัตรา 3Na+ ออก : 2K+ เข้า) มีการแพร่ของ K+ ออกมากกว่า Na+ ที่เข้ามา มีโปรตีนและกรดนิวคลีอิกซึ่งมีปะจุลบขนาดใหญ่อยู่ในเซลล์ + Na -K + Pump การเกิดกระแสประสาท (ต่อ) 2. Depolarization แรงกระตุ้นมากกว่าระดับความรุนแรงของสิ่งเร้าที่น้อยที่สุดที่ทา ให้เกิดการตอบสนอง (threshold) เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ชั่วคราว Na+ channel เปิด : Na+ ไหลเข้า Na+ - K+ pump หยุดทางานชั่วคราว ความต่างศักย์ข้างนอกเป็นลบ ข้างในเป็นบวก ~ +50 mV. การเกิดกระแสประสาท (ต่อ) 3. Repolarization Na+ channel ปิด K+ channel เปิด : K+ ไหลออก Cl- channel เปิด คลอไรด์อิออน (Cl-) ไหลเข้า Na+ - K+ pump ทางาน ความต่างศักย์ในเซลล์เป็นบวกลดลงจนเป็นลบอีกครั้ง ~ - 70 mV. การเกิดกระแสประสาท (ต่อ) Hyperpolarization ความต่างศักย์ลดลงกว่าภาวะปกติเกิดขึ้นก่อนที่ K+ channel จะปิด จากนั้นจะกลับเข้าสู่สภาวะปกติอีก ครั้ง (Resting state) การเกิดกระแสประสาท (ต่อ) ▷หลังการเกิด Action potential จะมี Na+ - K+ pump นา Na+ และ K+ กลับมาที่เดิม ▷พบว่าถ้าไม่มี Na+ - K+ pump เส้นใยประสาทจะไม่สามารถ นากระแสประสาทได้อีก ▷การคืนสู่ภาวะปกติต้องอาศัยช่วงเวลาหนึ่ง (สั้นๆ) ดังนั้นหาก กระตุ้นกระชั้นชิดภายในช่วงเวลาดังกล่าว จะ.......................... ไม่มีกระแสประสาทเกิดขึ้น เรียกระยะดื้อ (refractory period) กระแสประสาท ▷การเปลี่ยนแปลงค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้น ระหว่างภายในกับภายนอกเซลล์ประสาท เรียกว่า แอกชันโพเทลเชียล (action potential) หรือกระแส ประสาท (nerve impulse) คาถาม Q: ถ้าเซลล์ประสาทไม่มีการขับ Na+ ออกจากเซลล์ และดึง K+ เข้าสู่เซลล์ใหม่ นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น A: เซลล์ประสาทไม่เข้าสู่ระยะพัก การเกิดกระแสประสาท (ต่อ) การเกิด action potential จะเกิดเท่ากันทุกครั้งไม่ ว่าจะกระตุ้น เท่ากับหรือสูงกว่าระดับ threshold ก็ ตาม ซึ่งจะเป็นไปตามกฎ all or none law * resting stageAction Potential ระยะ hyperporalization ชเปอนง ระยะที ่ยังไมมgated K+ voltage ีการเคลืchannels ่อนที่ของกระแส มีการ ปประสาท ดอยางชชาอๆงทํNaาให+ สvoltage ูญเสีย K+gated ออกสูchannels ดาน และ K+ voltage นอกมากกว าปกติ gated channels และมี Cl- เขาภายในยังคงปด อยู (ดมาากกว เซลล นนอกเซลล าปกติ มี +, ดานในเซลลมี - ) ระยะ repolarization ระยะที่กระตุ้นถึงระดับ Threshold Na ระยะ depolarization เมื่อจะป + voltage gated channels เซลลดประสาทถูกกระตุนเยื่อหุมเซลล จะ K+ voltage มีแตการกระตุ นจนถึgated งระดับchannels ยอมใหจะเป threshold Na+ เยื่อดหุแพร เป ด เขาจมาในเซลล มเซลล ะยอมให Na+ แพรเขา ทํมาภายในเซลล าใหศักยเยื่อเซลล มามีคทําปเท ทํากใหลัภบายในมี าระจุ ใหาเดิ ในเซลล มีคาเปน้นบวกมากขึ้น เมปนบวกมากขึ เมื่อเกิดกระแสประสาทแลว กระแสประสาทมีการเคลื่อนที่อยางไร continuous conduction Saltatory conduction continuous conduction Salutatory conduction การสงกระแสประสาท การทํางานของยาชา ยาชาออกฤทธิ์สกัดกั้นการนํากระแสไฟฟาโดยมีกลไกหลัก คือ ยับยั้งการทํางานของ voltage-gated sodium channel ซึ่งเปนชองทางหลักในการไหลเขาของ Na+ ในชวง depolarization ความเร็วของการสงกระแสประสาท 1. การมีเยื่อไมอีลิน 2. ขนาดเสนผานศูนยกลางของเสนใยประสาท 3. ระยะหางของ node of Ranvier (ที่ระยะทางเทากัน จํานวน myelin sheath เทากัน) 4. จํานวน myelin sheath (ที่ระยะทางเทากัน ขนาด myelin sheath เดียวกัน) 2. การถายทอดกระแสประสาทระหวางเซลล ▷ปลาย axon ของเซลลประสาทตัวที่ 1 จะสงสารสื่อ ประสาท (Neurotransmitter) มายังปลาย dendrite ของเซลลประสาทตัวที่ 2 ▷สงสารสื่อประสาทผานชองไซแนปส (Synaptic cleft) การถายทอดกระแสประสาทระหวางเซลลประสาท (Presynaptic neuron) (Postsynaptic neuron) การถายทอดกระแสประสาทระหวางเซลลประสาท (ตอ) การถายทอดกระแสประสาทระหวางเซลลประสาท (ตอ) สารสื่อประสาทจะถูกปลอยโดย axon เทานั้น ▷สารสื่อประสาทที่เหลือใน Synaptic cleft จะถูกทําลาย โดยเอนไซม สารที่ไดจากการสลายจะนํากลับไปสรางสาร สื่อประสาทใหม กําจัดออกทางระบบหมุนเวียนเลือด การถายทอดกระแสประสาทระหวางเซลลประสาท (ตอ) ▷การสงกระแสประสาทออกจากตัวเซลลประสาทมีมาใน รูปสัญญาณไฟฟา แตเมื่อสงผานกระแสประสาทไปอีกเซลล จะเปลี่ยนรูปจากไฟฟามาเปนการหลั่งสารเคมี ดังนั้น ปฏิกิริยาการสงกระแสประสาทจึงจัดเปน ปฏิกิริยาไฟฟาเคมี (eletrochemical reaction) การถายทอดกระแสประสาทระหวางเซลลประสาท (ตอ) ▷สารสื่อประสาท (Neurotransmitter) มีหลายชนิด เชน acetylcholine epinephrine norepinephrine endorphine คําถาม Q: ถาไมมีการสงสารสื่อประสาทจากแอกซอนของเซลล ประสาทกอนไซแนปส จะเกิดกระแสประสาทขึ้นที่เดนไดรต ของเซลลประสาทหลังไซแนปสหรือไม? A: ไมเกิดกระแสประสาท คําถาม Q: การที่สารสื่อประสาทพบที่ปลายแอกซอนเทานั้น แตไม พบที่ปลายเดนไดรต ลักษณะดังกลาวสงผลตอทิศทางการ เคลื่อนที่ของกระแสประสาทอยางไร A: กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปทิศทางเดียวคือ จาก axon ของเซลลประสาทหนึ่ง ไปยังเดนไดรตของอีกเซลลหนึ่ง ทํา ใหสามารถถายทอดกระแสประสาทไปยังเปาหมายได คําถาม Q: นักเรียนคิดวาการสลายตัวอยางรวดเร็วของสารสื่อ ประสาทมีความสําคัญตอรางกายอยางไร A: ทําใหเซลลประสาทกลับคืนสูสภาวะปกติอยางรวดเร็ว และพรอมที่จะถายทอดกระแสประสาทครั้งตอไปอยาง รวดเร็ว 11 13 12 15 9 3 10 8 7 6 14 2 5 1 4 โครงสรางของระบบ ประสาทมนุษย ระบบประสาทของมนุษย ระบบประสาทสวนกลาง ระบบประสาทรอบนอก Central Nervous System:CNS Peripheral Nervous System:PNS สมอง ไขสันหลัง เสนประสาทสมอง (Brain) (Spinal Cord) เสนประสาทไขสันหลัง สมอง (Brain) ไขสันหลัง (Spinal Cord) ระบบประสาทสวนกลาง Central Nervous System : CNS การพัฒนาของระบบประสาทสวนกลาง (CNS) ▷สมองและไขสันหลังเจริญมาจากทอประสาท ดานหลังของลําตัว (dorsal hollow nerve tube) การพัฒนาของระบบประสาทสวนกลาง (CNS) สมอง (Brain) อยูภายในกะโหลกศีรษะ ที่ชวยปองกันไมใหสมองไดรับการกระทบกระเทือน มีเซลลประสาทอยูมากกวา 90% ของรางกาย สวนใหญเปน association neuron มีขนาดเฉลี่ยประมาณ 1.4 กรัม เยื่อหุมสมอง (meninges) เยื่อหุมสมองเปนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เรียกวาเนื้อเยื่อเสนใย (Fibrous tissue) ที่หอหุมสมองลัน หลัง โดยมีหนาที่รวมกับน้ําหลอเลี้ยงสมองแลไขสันหลังในการปกปองสมองและไขสันหลัง dura mater หนาเหนียว แข็งแรง ชวยปองกันอันตรายใหแกสมองและไขสันหลัง arachnoid mater pia mater อยูติดกับสมอง โคงเวาตามรอยหยักของสมอง มีเสนเลือดมาหลอ เลี้ยงมาก ทําหนาที่นําอาหารและออกซิเจนมาใหแกสมองและไข สันหลัง Cerebrospinal fluid; CSF CSF มีหนาที่นําแกส ออกซิเจนและสารอาหาร มาหลอเลี้ยงเซลลประสาท และนําของเสียออกจาก เซลล อยูระหวางระหวางเยื่อหุมสมองชั้นกลางกับชั้นใน ชองนี้ติดตอกับโพรงใน สมอง (ventricle) และชองภายในไขสันหลัง (central canal) การบล็อคหลัง Spinal anesthesia หรือ Spinal block ก็คือ การระงับ ความรูสึกทางชองไขสันหลังเปนการใชเข็มสําหรับบล็อกหลัง แทงเขา ไปบริเวณหลังสวนลาง จนถึงชองไขสันหลัง แลวฉีดยาชาเขาไป ทําใหเกิดการชา บริเวณชวงลาง ของรางกาย คําถาม Q: ถาทางเดินของน้ําเลี้ยงสมองและไขสันหลังอุดตัน จะเกิดผลตอรางกายอยางไร? (P.115) A: ทําใหน้ําเลี้ยงสมองและไขสันหลังไหลเวียนออกมา ไมได เกิดภาวะน้ําคั่งในสมอง ทําใหความดันของสมอง สูงขึ้น โรคน้ําคั่งในสมอง (Hydrocephalus) ถาเกิดในวัยเด็ก CSF จะกดสมองทําใหสมอง เจริญเติบโตไมเต็มที่ และดันกะโหลกใหขยาย ขนาดใหญขึ้น ทําใหหัวโตมาก ถาไมรีบเจาะ เอาน้ําคั่งออก จะมีชีวิตอยูไดไมนาน ถาเกิดในผูใหญ ศีรษะจะไมโตกวาปกติ แตจะเพิ่มความดันในสมองทําใหมีอาการ ปวดหัวมาก คําถาม Q: ถาสมองขาดเลือดเปนเวลา 5 นาที จะเกิดผล อยางไร? (P.115) A: เซลลสมองจะตาย เนื่องจากขาดออกซิเจนที่จะมา กับเลือด ซึ่งสมองเปนสวนที่มี metabolism สูงจึง ตองการออกซิเจนมาก ดังนั้นถาเซลลสมองตาย จะ สงผลตอการรับรูและสั่งการของสมอง คําถาม Q: ถาเกิดตะกอนหรือลิ่มเลือดของหลอดเลือดใน สมองจะเกิดผลอยางไร? A: เลือดไปเลี้ยงสมองไมได เซลลสมองสวนนั้นขาด อาหารและออกซิเจน สมองของมนุษย สวนนอกเปนเนื้อสีเทา (gray matter) มีตัวเซลลประสาทและ axon ที่ไมมีไมอีลินชีทหุม สวนในเปนเนื้อสีขาว (white matter) มีเสนใยประสาทที่มีไมอีลินชีทหุม สมอง (Brain) แบงออกเปน 3 สวน 1. สมองสวนหนา (Forebrain) ออลเฟกทอรีบัลบ (olfactory bulb) เกี่ยวกับการดมกลิ่น อยูใตซีรีบรัม คนสมองสวนนี้ไมคอย เจริญ แตจะเจริญไดดีใน สัตวมีกระดูกสันหลังชัน้ ต่ํา เชน กบ ปลา 2.ซีรบี รัม (Cerebrum) มีขนาดใหญสุด มีรอยหยักเปนจํานวนมาก แบงเปน 2 ซีก แตละซีกเรียกวา Cerebral hemisphere สลับขางการควบคุม ทําหนาที่เกี่ยวกับการเรียนรู ความสามารถตางๆ เปนศูนยการทํางานของ กลามเนื้อและประสาทสัมผัส เชน การรับสัมผัส การมองเห็น การไดยิน การ ไดกลิ่น การรับรส คุณเปนคนสมองซีกไหน? แบบทดสอบสมองซีกขวาและซาย แบบทดสอบสมองซีกขวาและซาย คนเห็นตามเข็ม คนที่เห็นทวนเข็ม แสดงวา ใชสมอง แสดงวาเราใชสมอง ซีกขวามากกวาซีก ซีกซายมากกวาซีก ซาย ขวา 2.ซีรบี รัม (Cerebrum) Cerebral hemisphere ทั้ง 2 ซีก จะถูกยึดดวยสวนที่เรียกวา corpus callosum เซรีบรัมคอรเทกซ (cerebrum cortex) เปนสวนของเนื้อสมองชั้น grey matter หนาประมาณ 3 มิลลิเมตร โครงสรางและหนาที่ในสมองซีรีบรัมสวนตางๆ Frontal lobe (อยูหนาสุด) ควบคุมการทํางานของกลามเนือ้ ลาย เคลื่อนไหวของรางกาย การออกเสียง การ เรียนรูและเชาวปญญา อารมณ บุคลิกภาพ Temporal lobe (ขาง) ควบคุมการเคลือ่ นไหวของนัยนตา ศูนยกลางการไดยิน ดมกลิ่น Occipital lobe (ทาย) ศูนยกลางการมองเห็น Parietal lobe (หลังตอนบน) ศูนยกลางการรับรูของประสาทสัมผัส (หู ตา ลิ้น ความเจ็บปวด) 3. ทาลามัส (Thalamus) อยูหนาสมองสวนกลาง อยูใต corpus callosum ทําหนาที่เปนศูนยรวบรวมกระแสประสาทที่ผานเขาออกและแยกกระแสประสาทไป ยังสมองที่เกี่ยวกับกระแสประสาทนั้น 4. ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) 4. ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) เปนศูนยกลางของระบบประสาทอัตโนวัติ ควบคุมการเตนของหัวใจ สรางฮอรโมนประสาทมาควบคุมการหลั่งฮอรโมน ของตอมใตสมองสวนหนา ควบคุมสมดุลของปริมาณน้ําและสารละลายในเลือด ควบคุมอุณหภูมิ วงจรการตื่นและการหลับ การหิว การอิ่ม การสู หรือหนี และความรูสึกทางเพศ สมองสวนกลาง (Midbrain) เปนสมองที่ตอจากสมองสวนหนา เปนศูนยกลางการมองเห็นและควบคุม การเคลื่อนไหวของนัยนตา เจริญดีในสัตวมกี ระดูกสันหลัง optic lobe สมองสวนทาย (Hindbrain) ประกอบดวย “ พอนส (Pons) เมดัลลา ออบลองกาตา (Medulla Oblongata) ซีรีเบลลัม (Cerebellum) พอนส (Pons) เปนสวนที่เชื่อมโยงระหวางสมองสวนกลางกับเมดัลลา (Medulla) เปนทางผานของกระแสประสาทระหวางเซรีบรัมกับเซรีเบลลัม และระหวาง เซรีเบลลัมกับไขสันหลัง ทําหนาที่ควบคุมการเคีย้ ว การหลั่งน้ําลาย การเคลื่อนไหวของใบหนา และ ควบคุมการหายใจ สมองสวนทาย เมดัลลา ออบลองกาตา (Hindbrain) (Medulla Oblongata) เป็ นสมองส่ วนท้ ายสุ ดต่ อกับไขสั นหลัง เปนทางผานของกระแสประสาทระหวางสมองกับไขสันหลัง เปนศูนยกลางการควบคุมการทํางาน นอกอํานาจจิตใจ เชน ไอ จาม สะอึก หายใจ การเตนของหัวใจ เปนตน สมองสวนทาย ซีรีเบลลัม (Hindbrain) (Cerebellum) ควบคุม ประสานงานการเคลือ่ นที่ และการทรงตัวของรางกาย งานประณีตตางๆ ควบคุมระบบกลามเนื้อใหเคลื่อนไหวสัมพันธกัน ทําไมเวลาดื่มแอลกอฮอรแลวจึงเดินเซ แอลกอฮอลยังไปมีผลตอสมองสวนเล็กที่เรียกวา ซีรีเบลลัม (cerebellum) ทําใหสมองสวนนี้เสื่อม ลง ซึ่งมีผลโดยตรงตอการทรงตัว ทําใหการยืน และการเดินไมมั่นคง 1 2 3 4 5 6 7 2 1 3 4 5 เลือกตัวอักษรที่สัมพันธกับการทํางานของระบบประสาท A. ออลแฟคทอรีบัลบ (Olfactory bulb) B. ซีรีบรัม (Cerebrum) C. ทาลามัส (Thalamus) D. ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) E. สมองสวนกลาง (Midbrain) F. ซีรีเบลลัม (Cerebellum) G. พอนส (Pons) H. เมดุลลาออบลองกาตา 1. การรับรูภาษา 1. B 2. การรักษาอุณหภูมิรางกาย 2. D 3. ความฉลาด เชาวปญญา 3. B 4. การไอ การจาม การสะอึก 4. H เลือกตัวอักษรที่สัมพันธกับการทํางานของระบบประสาท A. ออลแฟคทอรีบัลบ (Olfactory bulb) B. ซีรีบรัม (Cerebrum) C. ทาลามัส (Thalamus) D. ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) E. สมองสวนกลาง (Midbrain) F. ซีรีเบลลัม (Cerebellum) G. พอนส (Pons) H. เมดุลลาออบลองกาตา 5. การแสดงสีหนา 5. G 6. การถายทอดกระแสประสาท 6. C 7. ควบคุมความตองการทางเพศ 7. D 8. การดมกลิ่น 8. A เลือกตัวอักษรที่สัมพันธกับการทํางานของระบบประสาท A. ออลแฟคทอรีบัลบ (Olfactory bulb) B. ซีรีบรัม (Cerebrum) C. ทาลามัส (Thalamus) D. ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) E. สมองสวนกลาง (Midbrain) F. ซีรีเบลลัม (Cerebellum) G. พอนส (Pons) H. เมดุลลาออบลองกาตา 9. การทรงตัว 9. F 10. การทํางานฝมือที่ประณีต 10. F กานสมอง brain stem การหายใจ ความดันเลือด อุณหภูมิ การหลั่งเอนไซม การนอนหลับ การตื่นตัวและมีสติ วิวฒ ั นาการของสมองในสั ตว์ มกี ระดูกสั นหลัง สัตวที่มวี ิวัฒนาการสูงสมองจะ เจริญพัฒนาไดดี กวาสัตวที่มี วิวัฒนาการต่ํา ปั จจัยทีส่งผลต่อความฉลาดและ ความสามารถในการเรียนรูค้ อื รอยหยักบนสมอง อัตราส่วนระหว่างสมองและ นําหนักตัว คําถาม Q: ปลามีสมองส่ วนใดเจริญดีทสุี ด? A: สมองส่ วนกลาง Q: สั ตว์ เลียงลูกด้ วยนํานม มีการพัฒนาของสมองส่ วนใด มากกว่ าสั ตว์ กลุ่มอืนๆ มากทีสุ ด และสมองส่ วนนีมี ความสํ าคัญอย่ างไร? A: สมองส่ วนหน้ า มีความสํ าคัญเกียวกับการเรียนรู้ ทําให้ ฉลาดขึน คําถาม Q:สั ตว์ ทมีี ววิ ฒั นาการสู งขึน สมองมีการพัฒนาแตกต่ างจาก สั ตว์ ทมีี ววิ ฒ ั นาการตํากว่ าอย่ างไร? A: สั ตว์ ทมีี ววิ ฒั นาการสู งจะมีสมองส่ วนหน้ าและส่ วนหลัง พัฒนาดีกว่ า ส่ วนสมองส่ วนกลางมีการพัฒนาน้ อยกว่ า นอกจากนียังมีรอยหยักในสมองมากกว่ า มีอตั ราส่ วน ระหว่ างนําหนักสมองต่ อนําหนักตัวมาก จึงมีแนวโน้ มทีจะ ฉลาดและเรียนรู้ ได้ ดี ไขสันหลัง (Spinal cord) ▷อยู่ในกระดูกสั นหลัง ตังแต่ คอข้ อแรก - เอวข้ อที 2 ▷เส้ นประสาทไขสั นหลัง (Spinal nerve) คําถาม Q: เพราะเหตุใด การฉีดยาเข้ าทีไขสั นหลังบริเวณทีตํากว่ า กระดูกสั นหลังบริเวณเอวข้ อที 2 ลงไปจึงมีอนั ตรายน้ อยกว่ า บริเวณอืน? A:เพราะเปนบริเวณที่ไมมีไขสันหลังแลว จึงมีโอกาส ที่จะทําอันตรายตอไขสันหลังนอยกวาบริเวณอื่นๆ ไขสันหลัง (Spinal cord) หมอนรองกระดูกสันหลัง เนื้อเยื่อชนิดหนึ่ง ที่ทําหนาที่เหมือนตัวผอนแรงที่รองรับระหวาง กระดูกสันหลังสองชิ้น ซึ่งทุกครั้งที่มีการเคลื่อนไหว กม เงย หมอนรองกระดูกฯจะเปนตัว รับน้ําหนัก และรับแรงกระแทกระหวางกระดูก ไขสั นหลัง (Spinal cord) (ต่ อ) ไขสั นหลัง (Spinal cord) (ต่ อ) CSF (central canal) ไขสันหลัง (Spinal cord) (ตอ) (white matter) (gray matter) (Dorsal root) (Dorsal horn) (central canal) (Dorsal root ganglion) (spinal nerve) (Ventral horn) (Ventral root) ระบบประสาทรอบนอก Peripheral Nervous System : PNS ระบบประสาทรอบนอก เสนประสาททั้งหมด รับและนําความรูสึกเขาสู ระบบประสาทสวนกลาง ไดแก สมองและไขสันหลัง จากนั้น นํากระแสประสาทสั่งการจาก ระบบประสาทสวนกลางไปยัง หนวยปฎิบัติงาน เสนประสาท (Nerve) หมายถึง กลุมของเสนใยประสาท (Nerve fibers) ที่ รวมกันเปนมัดหรือแทง ทําหนาที่นําสัญญาณประสาท ติดตอกันระหวางระบบประสาทสวนกลางกับระบบ ประสาทสวนปลายของรางกาย จําแนกเปน 3 ประเภท คือ เสนประสาท (Nerve) เสนประสาทสมองของคน (cranial nerves) เสนประสาทสมองของคน (cranial nerves) ▷1,2,8 - S ▷5,7,9,10 -mix ▷3,4,6,11,12 - motor เสนประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) (cervical nerve) เลี้ยงคอ อกสวนบน แขนเกือบทั้งหมด (thoracal nerve) เลี้ยงลําตัว อกสวนบนถึงทองนอย แขนดานใน (lumbar nerve) : ขาหนีบ หนาแขง หลังเทา (sacral nerve) : สะโพก ขาดานหลัง เทาดานนอก (coccygeal nerve) : อวัยวะสืบพันธุ ทวารหนัก คําถาม Q: ขณะอานหนังสือ เสนประสาทสมองคูใดบางที่ทํางานเกี่ยวของ โดยตรง A: เสนประสาทสมองคูที่ 2 มองเห็น, 3 กลามเนื้อกรอกลูกตา, 4 กรอกลูกตาลง, 6 กรอกลูกตาดานขาง หรือการชําเรือง Q: การรับรสอาหาร เปนหนาที่ของเสนประสาทสมองคูใด A: เสนประสาทสมองคูที่ 7 รับรสที่ลิ้น ,9 รับความรูสึกที่ปลาย ลิ้น การนํากระแสประสาทของไขสันหลัง คําถาม Q: นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้ไดอยางไร A: 1. กบสามารถรับรูและตอบสนองไดโดยไมตองผานสมอง 2. รากบนมีหนาที่รับกระแสประสาทจากหนวยรับความรูสึกเขา สูไขสันหลัง 3. รากลางมีหนาที่นํากระแสประสาทจากไขสันหลังไปยังหนวย ปฏิบัติงาน 4. กระแสประสาทถูกสงจากหนวยรับความรูสึก รากบน  ไขสันหลัง  รากลาง เสนประสาทไขสันหลัง หนวย ปฏิบัติงาน คําถาม Q: นักเรียนจะเขียนแผนผังแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแส ประสาทจากการทดลองครั้งนี้อยางไร ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเขาและออกจากไขสันหลัง คําถาม Q: จากความรูดังกลาว นักเรียนสามารถอธิบายไดหรือไมวาไขสัน หลังมีหนาที่และความสําคัญอยางไร A: ไขสันหลังเปนบริเวณที่ประกอบดวย เซลลประสาทและเสนใย ประสาทซึ่งเปนสวนของเสนประสาทไขสันหลังมีหนาที่ทั้งรับ ความรูสึกและสั่งการ เชน นําความรูสึกจากหนวยรับความรูสึก สั่งการใหหนวยปฏิบัติงานทํางาน และไขสันหลังเปนทางผานของ กระแสประสาทระหวางหนวยรับความรูสึกกับสมอง และสมองกับ หนวยปฏิบัติงาน คําถาม Q: ถาหากเซลลประสาทสั่งการในไขสันหลังถูกทําลายจะมีผลตอ รางกายอยางไร A: หนวยปฏิบัติงานในสวนนั้นไมสามารถตอบสนองได คําถาม Q: นักเรียนคิดวาเสนประสาทไขสันหลังเปนเสนประสาทรับ ความรูสึกหรือเสนประสาทสั่งการหรือเสนประสาทผสม A: เสนประสาทผสม การทํางานของระบบประสาท SNS: หนวยปฏิบัติการที่บังคับได ANS: หนวยปฏิบัติการที่บังคับไมได Somatic VS Autonomic ระบบประสาทโซมาติก ระบบประสาทอัตโนวัติ ระบบประสาทโซมาติก (Somatic nervous System; SNS) ▷ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อโครงราง/กลามเนื้อลาย ▷ระบบประสาทที่ทํางานอยูใตอํานาจจิตใจ ▷ควบคุมโดยสมองสวนซีรีบรัม ▷ตัวอยางการตอบสนอง เชน การเคลื่อนไหวของรางกาย นั่ง ยืน ปฏิกิริยารีเฟลกซ (reflex) การทํางานของกลามเนื้อลาย ไมผานสมองเรียกวาปฏิกิริยา “Reflex Action” Reflex Action รีเฟล็กซอารก (Reflex arc) หนวยรับ เซลลประสาทรับ สิ่งเรา ความ ความรูสึก รูสึก *เซลลประสาทประสานงานในไขสันหลัง หรือสมอง หนวยปฏิบัติ การตอบสนอง เซลลประสาทสั่งการ งาน คําถาม Q: รีเฟล็กซแอคชันของการกระตุกขาเมื่อเคาะที่เอ็นใตหัวเขากับการ ชักขาหนีเมื่อเหยียบเศษแกว รีเฟล็กซแบบใดซับซอนกวา เพราะเหตุ ใด A: ชักขาหนีซับซอนกวาเพราะมีเซลลประสาทประสานงานเขามา เกี่ยวของ Q: รีเฟล็กซแอคชันมีผลตอการดํารงชีวิตของมนุษยอยางไร A: ชวยใหหลบหลีกอันตรายที่จะเกิดขึ้น จากสงเราที่เปนอันตรายแก รางกายไดรวดเร็ว ทําใหไดรับอันตรายจากสิ่งเรานั้นนอยลง Reflex Action สามารถเกิดที่กลามเนื้อเรียบไดดวย เชน การหลั่งเอนไซมเพื่อ ยอยอาหาร การหลั่งของตอมน้ําลาย การหลั่งน้ํานมของแม ขณะที่ลูกดูดนม ระบบประสาทอัตโนวัติ (Autonomic nervous System; ANS) ▷ควบคุมการทํางานของอวัยวะที่อยูนอกอํานาจจิตใจ คือ กลามเนื้อเรียบของอวัยวะภายใน กลามเนื้อหัวใจ และตอมตางๆ ▷เซลลประสาทที่เกี่ยวของ ไดแก ปมประสาทอัตโนวัติ 1. เซลลประสาทรับความรูสึก (autonomic ganglion) 2. เซลลประสาทสั่งการ มี 2 ชนิดคือ - เซลลประสาทกอนไซแนป (Presynaptic neuron) - เซลลประสาทหลังไซแนป (Postsynaptic neuron) Somatic VS Autonomic ระบบประสาทโซมาติก ระบบประสาทอัตโนวัติ ระบบประสาทอัตโนวัติ (ตอ) ▷มี 2 ชนิดคือ 1. ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic nervous system) : สภาวะตื่นตัว 2. ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system): สภาวะพัก ▷ทํางานในสภาวะตรงขามเพื่อควบคุมการทํางานของ อวัยวะภายในของรางกาย สมอง สวนกลาง เมดัลลา ไขสัน ออบลอง หลัง กาตา และ บริเวณ ไขสันหลัง อกและ สวน เอว กระเบน เหน็บ Preสั้น – Post ยาว Preยาว – Post สั้น ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic nervous system) ▷เสนประสาทออกจากไขสันหลังบริเวณอกและเอว ▷สภาวะเตรียมพรอม รางกายตื่นตัว ▷เชน กระตุนการเตนของหัวใจ ขยายรูมานตา ▷Preสั้น – Post ยาว ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic nervous system) ▷เสนประสาทออกจากสมองสวนกลาง เมดัลลา ออบลองกาตา และไขสันหลังสวนกระเบนเหน็บ ▷สภาวะพัก ▷เชน ยับยั้งการเตนของหัวใจ หรี่รูมานตา ▷Preยาว – Post สั้น ▷สารสื่อประสาท ซิม : แอซิทิลโคลีน, นอรเอพิเนฟริน พาราซิม : แอซิทิลโคลีน ทั้งสองชวง ▷ระบบประสาทอัตโนวัติจัดเปน Reflex ตางจาก โซมาติกตรงที่หนวยปฏิบัติงานเปนกลามเนื้อหัวใจ กลามเนื้อเรียบและตอม คําถาม Q: ศูนยกลางการสั่งการของระบบประสาทซิมพาเทติกและ พาราซิมพาเทติกอยูที่ใดบาง A: ซิมพาเทติก: ไขสันหลังสวนอกและเอว พาราซิมพาเทติก: สมองสวนกลาง เมดัลลาออบลองกา ตา และไขสันหลังสวนกระเบนเหน็บ ซิมพาเทติก VS พาราซิมพาเทติก ขอเปรียบเทียบ ระบบประสาท ระบบประสาท ซิมพาเทติก พาราซิมพาเทติก 1. ศูนยกลางการสั่งงาน ไขสันหลัง สมองและไขสันหลัง 2. เซลลประสาทสั่งการ 2 เซลล 2 เซลล 3. เซลลประสาทกอน สั้น ยาว ไซแนปส 4. เซลลประสาทหลัง ยาว สั้น ไซแนปส ขอเปรียบเทียบ ระบบประสาท ระบบประสาท ซิมพาเทติก พาราซิมพาเทติก 5. บริเวณไซแนปสของ ที่ปมประสาท ที่ปมในอวัยวะภายใน เซลลประสาทกอน อัตโนวัติ ไซแนปสกับเซลลประสาท หลังไซแนปส 6. สารสื่อประสาทจาก มีแอซิติลโคลีน มีแอซิติลโคลีนนอย เซลลประสาทนําคําสั่ง มากกวา กวา ที่ออกจากไขสันหลังไปยัง ปมประสาท ขอเปรียบเทียบ ระบบประสาท ระบบประสาท ซิมพาเทติก พาราซิมพาเทติก 7. สารสื่อประสาทจาก นอรเอพิเนฟริน แอซิติลโคลีน เซลลประสาทนําคําสั่ง ที่ออกจากปมประสาท 8. เซลลประสาท ไมมี ไมมี ประสานงาน 9. ผลที่เกิดขึ้นกับรางกาย รางกายเกิดการ รางกายทํางานเปน ตื่นตัว ปกติ เปรียบเทียบการทํางานของระบบประสาทซิมพาเทติกกับพาราซิมพาเทติก อวัยวะ ระบบประสาทซิมพาเท ระบบประสาทพาราซิม ติก พาเทติก 1. ตอมเหงื่อ บีบตัวใหเหงื่อออก ตอมเหงื่อขยายตัวเหงื่อ ออกนอย 2. ตอมน้ําตา หลั่งน้ําตาออกมา หลั่งน้ําตาเปนปกติ มากกวาปกติ 3. หัวใจ กระตุนใหหัวใจเตนเร็ว ยับยั้งการทํางานของ และแรงขึ้น หัวใจใหเตนชาลง เบาลง อวัยวะ ระบบประสาท ระบบประสาท ซิมพาเทติก พาราซิมพาเทติก 4. กระเพาะ ยับยั้งการเคลื่อนไหว กระตุนการเคลื่อนไหว อาหาร และ แบบ peristalsis และ แบบ peristalsis และ ลําไส การสรางเอนไซม การสรางเอนไซม 5. ถุงน้ําดี ยับยั้งการหลั่งน้ําดี กระตุนการหลั่งน้ําดี 6. ตับออน ยับยั้งการหลั่งเอนไซม กระตุนการหลั่งเอนไซม 7. กระเพาะ คลายตัว หามปสสาวะ หดตัว กระตุนปสสาวะ ปสสาวะ อวัยวะ ระบบประสาท ระบบประสาท ซิมพาเทติก พาราซิมพาเทติก 8. มานตา รูมานตาเปดกวาง รูมานตาหรี่ 9. ปอด กระตุนการขยายตัวของ กระตุนการหดตัวของ หลอดลมฝอย หลอดลมฝอย 10. ตอม ยับยั้งการหลั่งน้ําลาย กระตุนการหลั่งน้ําลาย น้ําลาย เปรียบเทียบการทํางานของระบบประสาทอัตโนวัติและโซมาติก ลักษณะ ระบบประสาท ระบบประสาท โซมาติก อัตโนวัติ หนวยปฏิบัติงาน กลามเนื้อโครงราง กลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อหัวใจ ตอม จํานวนเซลลประสาทสั่งการ 1 เซลล 2 เซลล ปมประสาทของเซลลประสาทสั่งการ ไมมี มี 1 ปม ที่อยูนอกระบบประสาทสวนกลาง ลักษณะ ระบบประสาท ระบบประสาท โซมาติก อัตโนวัติ สารสื่อประสาทจาก แอซิทิลโคลีน ระบบซิมพาเทติก คือ ปลาย axon มา นอรอะดรีนาลีน ควบคุมการทํางาน ระบบพาราซิมพาเท ของหนวยปฏิบัติการ ติก คือ แอซิทิลโคลีน หนาที่ทั่วไป ปรับสมดุลของ ปรับสมดุลของ รางกาย ซึ่งเปนผลมา รางกาย ซึ่งเปนผลมา จากการเปลี่ยนแปลง จากการเปลี่ยนแปลง ของสิ่งแวดลอมนอก ของสิ่งแวดลอมใน รางกาย รางกาย อวัยวะรับความรูสึก (Sensory organ) ▷ตา ▷หู ▷จมูก ▷ลิ้น ▷ผิวหนัง นัยนตากับการมองเห็น เปลือกตา สเคลอรา โครอยด มานตา เรตินา รูมานตา จุดโฟเวีย กระจกตา เอ็นยึดเลนสตา กลามเนื้อยึดเลนสตา โครงสรางและตําแหนงของเซลลในชั้นเรตินา ฟลมของกลอง 3. เรตินา (retina) =........................... มีเซลลรับแสง 2 ชนิด คือ 1. เซลลรูปแทง (rod cell) ไวตอแสงแมแสง นอย แยกสีไมได (สัตวหากินกลางคืนมีมาก),คนมี 125 ลานเซลล/ขาง 2. เซลลรูปกรวย (cone cell) แยกสีได แตตอง แสงมาก (น้ําเงิน แดง เขียว), คนมี 6 ลานเซลล/ขาง - ทําไมอยูในที่แสงสลัวจึงมองเห็นภาพขาวดํา? ▷เลนสตา: รวมแสงเขาสูนัยนตา หักเหแสงใหภาพตกบนเรตินา ▷น้ําเลี้ยงลูกตา หนาเลนส (aqueous humor): ใหอาหารและออกซิเจนกับ กระจกตา ดันใหกระจกตาโคงนูนไปขางหนา หลังเลนส (vitreous humor): ชวยใหนัยนตาคงรูปราง ▷ภาพที่ตกที่เรตินา เปนภาพจริ งหัวกลับ................. มองใกล VS มองไกล กลามเนื้อยึดเลนส ไกล คลายตัว เอ็นตึง เลนสโคงนอย กลามเนื้อยึดเลนส ใกล หดตัว เอ็นหยอน เลนสโคงมาก ความผิดปกติของสายตา ▷สายตาสั้น : มองไกลไมชัด เพราะเลนสตาโคงไป หรือกระบอกตายาวไป แกไขใสเลนสเวา ▷สายตายาว : มองใกลไมชัด เพราะเลนสตาแบน ไปหรือกระบอกตาสั้นไป แกไขใสเลนสนูน ▷สายตาเอียง : เห็นเสนแนวใดแนวหนึ่งไมชัด เพราะ ความโคงของกระจก?

Use Quizgecko on...
Browser
Browser