คำภาษาต่างประเทศทั้งหมด PDF
Document Details
Uploaded by UserFriendlyThunderstorm
Horwang School
Tags
Summary
เอกสารนี้ศึกษาเกี่ยวกับคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยแบ่งประเภทของภาษาต้นกำเนิด เช่น ภาษาบาลี-สันสกฤต, ภาษาจีน, ภาษาชวา-มลายู, และภาษาอังกฤษ รวมถึงหลักการสังเกตคำยืมแต่ละประเภท และตัวอย่างคำศัพท์
Full Transcript
คำภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย ความเกี่ยวข้องระหว่างคำยืมภาษาต่างประเทศกับวัฒนธรรม คำยืมภาษาบาลี - สันสกฤต > เกี่ยวข้องกับศาสนา คำยืมภาษาจีน > เกี่ยวข้องกับการค้า อาหาร คำยืมภาษาชวา - มลายู > เกี่ยวข้องกับ วรรณคดี คำยืมภาษาอังกฤษ > เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและ...
คำภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย ความเกี่ยวข้องระหว่างคำยืมภาษาต่างประเทศกับวัฒนธรรม คำยืมภาษาบาลี - สันสกฤต > เกี่ยวข้องกับศาสนา คำยืมภาษาจีน > เกี่ยวข้องกับการค้า อาหาร คำยืมภาษาชวา - มลายู > เกี่ยวข้องกับ วรรณคดี คำยืมภาษาอังกฤษ > เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและ เทคโนโลยี ประเด็นการศึกษาคำที่ยืมจากภาษาต่างประเทศ หลักการสังเกตคำที่ยืมมาจากภาษา 1 ต่างประเทศ หลักการใช้คำภาษาต่างประเทศ 2 ในภาษาไทย 1.ส่วนเป็นคำพยางค์เดียว คำนาม เช่น พ่อ แม่ ปาก คอ คำสรรพนาม เช่น ฉัน เธอ เขา มีครบ 7 ชนิด คำกริยา เช่น นอน นั่ง วิ่ง ของคำ คำวิเศษณ์ เช่น ดำ ขาว กว้าง คำบุพบท เช่น ใน ใต้ บน คำสันธาน เช่น แต่ กับ แม้ คำอุทานเช่น แหม โธ่ ว้าย สาเหตุที่ทำให้คำไทยแท้จำนวนหนึ่งมีหลายพยางค์ หมากม่วง เป็น มะม่วง การกร่อนเสียง ตาวัน เป็น ตะวัน การแทรกเสียง นกจิบ เป็น นกกะจิบ, นกกระจิบ ลูกท้อน เป็น ลูกกะท้อน, ลูกกระท้อน การเติมพยางค์ลงหน้า โดด เป็น กระโดด หรือกลางคำมูล ท้วง เป็น ประท้วง 2.เป็นภาษาคำโดดหรือภาษาเรียงคำ คำโดด คือ คำมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง ใช้ได้อิสระ ความหมายของคำและความสันพันธ์ทางไวยากรณ์ขึ้นอยู่กับ การเรียงลำดับคำ ขันอยู่ในตุ่ม เขาพูดขัน เขาขันนอต 3.มีเสียงวรรณยุกต์อย่างใดอย่างหนึ่ง เสียงวรรณยุกต์เปลี่ยน ความหมายของคำจะเปลี่ยนไป ขา ข่า ข้า ตอ ต่อ ต้อ 4. ไม่นิยมเสียงควบกล้ำ เสียงควบกล้ำคำไทยแท้ เกรง กลัว คือ ต พ ป ก ค ควบกับ ร ล ว *ถ้าเป็นพยัญชนะอื่น=มาจากภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร 5. มีระบบการเขียนตัวสะกดโดยเฉพาะ 5.1 ใช้พยัญชนะสะกดตรงตามมาตรา มาตราแม่ ก บ ด น ม ย ว ง 5.2 ไม่นิยมใช้พยัญชนะบางตัว ฆ ฌ ญ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ศ ษ ฬ (มียกเว้นบางคำ) 6. ไม่มีตัวการันต์ ส่วนมากมาจากภาษาอื่น โดยเฉพาะภาษาบาลี-สันสกฤต และอังกฤษ เช่น องค์ นัยน์ นารายณ์ 7. ใช้สระ “ใอ” ไม้ม้วน 20 คำ นอกนั้นใช้ สระไอ ไม้มลาย *คำรูปอัยไม่ใช่ไทยแท้ เช่น ตรัย วัย เล็ก ใหม่ คำไทยแท้ ย่าง ตับ ข้อใดเป็นคำไทยแท้ หญิง ปัญญา เก๊กฮวย ข้อใดเป็นคำไทยแท้ หญิง ปัญญา เก๊กฮวย ข้อใดไม่ใช่คำไทยแท้ เลว ปฏิบัติ เฆี่ยน ข้อใดไม่ใช่คำไทยแท้ เลว ปฏิบัติ เฆี่ยน คำยืมที่มาจาก ภาษาบาลี-สันสกฤต ความสัมพันธ์ของการยืมคำจากภาษาบาลี-สันสกฤต 1. ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา เรื่องราวที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาเขียนด้วยบาลี ภาษาทางศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธนิกาย มหายานเขียนด้วยสันสกฤต 2. ความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดีและวิชาการ หลักการสังเกตภาษาบาลี สระภาษาบาลีมี 8 เสียง อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ หลักการสังเกตภาษาบาลี พยัญชนะภาษาบาลีมี 33 ตัว หลักการสังเกตภาษาบาลี มีหลักตัวสะกดและตัวตามที่แน่นอน แถวที่ 1 สะกด แถวที่ 1 หรือ 2 ตาม อิจฉา ปัจจัย ตัวสะกด ตัวตาม ตัวสะกด ตัวตาม วรรค จะ วรรค จะ วรรค จะ วรรค จะ แถวที่ 1 แถวที่ 2 แถวที่ 1 แถวที่ 1 ตัวอย่างคำบาลี แถวที่ 1 หรือ 2 ตาม บุปผา อัฏฐกถา วิตถาร เมตตา ปัจจุบัน สักกะ หลักการสังเกตภาษาบาลี มีหลักตัวสะกดและตัวตามที่แน่นอน แถวที่ 3 สะกด แถวที่ 3 หรือ 4 ตาม บุคคล อัชฌาสัย ตัวสะกด ตัวตาม ตัวสะกด ตัวตาม วรรค กะ วรรค กะ วรรค จะ วรรค จะ แถวที่ 3 แถวที่ 3 แถวที่ 3 แถวที่ 4 ตัวอย่างคำบาลี แถวที่ 1 หรือ 2 ตาม พุทธ มัชฌิม พยัคฆ์ บ อัคคี นิพพาน หลักการสังเกตภาษาบาลี มีหลักตัวสะกดและตัวตามที่แน่นอน แถวที่ 5 สะกด แถวที่ 1 2 3 4 5 ตาม องค์ สัณฐาน ตัวสะกด ตัวตาม ตัวสะกด ตัวตาม วรรค กะ วรรค กะ วรรค ฏะ วรรค ฏะ แถวที่ 5 แถวที่ 3 แถวที่ 5 แถวที่ 2 ตัวอย่างคำบาลี แถวที่ 1 หรือ 2 ตาม กังขา สันติ เกณฑ์ บ สัญจร สัมผัส หลักการสังเกตภาษาบาลี มีหลักตัวสะกดและตัวตามที่แน่นอน เศษวรรคสะกด เศษวรรคตัวเดิมตาม อัยยิกา ปัสสาวะ ตัวสะกด ตัวตาม ตัวสะกด ตัวตาม เศษวรรค เศษวรรค เศษวรรค เศษวรรค ตัวอย่างคำบาลี แถวที่ 1 หรือ 2 ตาม บัลลังก์ วัลลภ อิสระ บ ชิวหา โลหิต หลักการสังเกตภาษาบาลี มีหลักตัวสะกดและตัวตามที่แน่นอน คำที่มาจากกบาลีบางคำ เมื่อนำมาใช้ในภาษาไทย มีการตัดตัวสะกดออกเหลือแค่ตัวตาม ตัดรูปพยัญชนะที่ซ้อนกันออก ตัดรูป ฏ หน้า ฐ ออก กิจจา เป็น กิจ รัฏฐ เป็น รัฐ เขตต์ เป็น เขต อัฏฐิ เป็น อัฐิ หลักการสังเกตภาษาบาลี มีหลักตัวสะกดและตัวตามที่แน่นอน คำที่มาจากบาลีบางคำ เมื่อนำมาใช้ในภาษาไทย มี การตัดตัวสะกดออกเหลือแค่ตัวตาม ตัดรูป ฑ หน้า ฒ ออก วุฑฒิ เป็น วุฒิ วฑฒน เป็น วัฒน, วัฒนา หลักการสังเกตภาษาบาลี ไม่นิยมใช้พยัญชนะควบกล้ำ บาลี : ปฐม สันสกฤต : ประถม บาลี : ปณต สันสกฤต : ประณต นิยมใช้ “ฬ” ครุฬ จุฬา กีฬา หลักการสังเกตภาษาบาลี นิยมใช้ “ริ” กลางคำ บาลี : ภริยา จริยา อริยะ วิริยะ สุริยะ ใช้ตัว “ณ” ในภาษาเดิม นำหน้าวรรคฏะ (ฐานปุ่มเหงือก) บัณฑิต มณฑล หลักการสังเกตภาษาบาลี ไม่มีคำว่า “เคราะห์” ตัว “ส” สะกดตัวเองตาม อัสสุ ปัสสาวะ อัสสะ หลักการสังเกตภาษาสันสกฤต สระภาษาสันสกฤตมี 14 เสียง อะ อา อาอิ อีอิ อุ อูอุ เอ โอ ไอ เอา ฤ ฤา อู เอ ฦ ฦา หลักการสังเกตภาษาสันสกฤต พยัญชนะภาษาสันสกฤตมี 35 ตัว เพิ่ม ตัวอย่างคำสันสกฤต แถวที่ 1 หรือ 2 ตาม พิศวาส พฤศจิก รัศมี บ ราษฎร มนุษย์ หลักการสังเกตภาษาสันสกฤต หลักตัวสะกดตัวตามไม่แน่นอน เพิ่ม ตัวอย่างคำสันสกฤต แถวที่ 1 หรือ 2 ตาม ศาสนา พงศ์ กษัตริย์ อธิษฐาน บ *ระวังบางคำที่เป็นคำไทยแท้ หลักการสังเกตภาษาสันสกฤต ครรภ์ หรรษา ภรรยา นิยมใช้ รร (ร หัน) วรรค พรรณนา มรรค *บางคำก็เป็นคำยืมจากภาษาเขมร เช่น บรรทัด สรรเสริญ ใช้พยัญชนะควบกล้ำ *ใช้ ร กล้ำกับ ก ค ท ป ต โกรธ ปราสาท บาลี : ปณต สันสกฤต : ประณต หลักการสังเกตภาษาสันสกฤต ไม่ใช่ ฬ แต่ใช้ ฑ และ ฒ แทน บาลี : ครุฬ จุฬา กีฬา สันสกฤต : ครุฑ จุฑา กรีฑา หลักการสังเกตภาษาสันสกฤต ไม่มีคำว่า ริ มีเฉพาะ ร 1.ใช้ ร ตามหลัง ก ค ช ต ท จักร สมัคร เพชร 2.ใช้ ร ตามหลัง ต ท และใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต มนตร์ ศาสตร์ อินทร์ หลักการสังเกตภาษาสันสกฤต ไม่มีคำว่า ริ มีเฉพาะ ร 3. ใช้ ร ตามหลัง ท เป็น ทร (ซ) พุทรา ทรัพย์ มัทรี อินทรีย์ หลักการสังเกตภาษาสันสกฤต ใช้ ณ ตามหลัง ร ฤ ษ กรณี อรุณ ทักษิณ ลักษณะ อุทธรณ์ หลักการสังเกตภาษาสันสกฤต มีคำว่าเคราะห์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ นิยมใช้ “ส” นำหน้าวรรคตะ อาสนะ สตรี สถูป สถิติ ปริศนา ท้ า ใ ห้ ต อ บ ปริศนา ท้าใ ห้ ต อ บ ระหว่างคำว่า “วิชา” กับ “วิทยา” คำใดเป็น คำยืมจากภาษาบาลี ปริศนา ท้าใ ห้ ต อ บ เพราะเหตุใดคำว่า “ศฤงคาร” จึงไม่ใช่คำยืม ภาษาบาลี ปริศนา ท้าใ ห้ ต อ บ เพราะเหตุใดคำว่า “อัจฉริยะ” จึงเป็นคำยืม ภาษาบาลี คำยืมที่มาจาก ภาษาเขมร ที่มาของคำยืมภาษาเขมร ไม่สามารถบอกได้ว่ารับเข้ามาใช้ตั้งแต่เมื่อใด ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง เป็นหลักฐานที่พบว่า “มีคำเขมรปะปนอยู่บ้าง” “เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู” ที่มาของคำยืมภาษาเขมร พบมมากที่สุด สมัยอยุธยาตอนต้น : มีหลักฐานพบคำเขมรมากที่สุดปรากฎในวรรณคดี มหาชาติคำหลวง ลิลิตพระลอ สมุทรโฆษคำฉันท์ นันโทปนันทสูตรคำหลวง หลักการสังเกตภาษาเขมร 1. ใช้ ร,ล,ญ เป็นตัวสะกดในแม่กน ทูล ผจญ ควร บันดาล ผลาญ บังอร หลักการสังเกตภาษาเขมร 2. ใช้ จ, ส เป็นตัวสะกดในแม่กด เสร็จ เผด็จ ดุจ ตรัส กาจ อำนาจ หลักการสังเกตภาษาเขมร 3. ไม่นิยมใช้รูปวรรณยุกต์ คำอาจเปลี่ยนเสียงตามตำแหน่ง แต่ความหมายไม่เปลี่ยน ฉลอง ถวาย บวช บำบัด บวช ระเบียง หลักการสังเกตภาษาเขมร 3. ไม่นิยมใช้รูปวรรณยุกต์ มีบางคำที่ใช้รูปวรรณยุกต์ กระท่อม จำหน่าย ชำร่วย ชำร่วย ชั้น เขม่า หลักการสังเกตภาษาเขมร 4. ส่วนใหญ่เป็นคำควบกล้ำและอักษรนำ คำควบกล้ำ กบาล ผกา สดับ อักษรนำ เฉนียน สงัด เสนียด หลักการสังเกตภาษาเขมร 4. ส่วนใหญ่เป็นคำควบกล้ำและอักษรนำ อักษรนำออกเสียงพยางค์แรกเป็น อะ กึ่งเสียง ถนน โตนด ถะ - หนน ตะ - โหนด ขนุน ขนอง แสวง ขะ - หนุน ขะ - หนอง สะ - แหวง หลักการสังเกตภาษาเขมร 5. ส่วนใหญ่ขึ้นต้นด้วย บัง บัน บำ บันดาล บำราบ บังหวน บำเพ็ญ บังเกิด บำบัด หลักการสังเกตภาษาเขมร 6. ภาษาเขมรเป็นคำแผลง คำแผลง = วิธีการสร้างคำใหม่ด้วยการเติมหน่วย คำเติมหน้า และหน่วยคำเติมกลาง หน่วยคำเติมหน้า หน่วยคำเติมกลาง เกิด > บังเกิด เกิด > กำเนิด ลาญ > ผลาญ ตรวจ > ตำรวจ หลักการสังเกตภาษาเขมร 7.ส่วนใหญ่ขึ้นต้นด้วย กระ ประ บรร (เกิดจากการแผลงคำ) ขจอก แผลงเป็น กระจอก ผจบ แผลงเป็น ประจบ, บรรจบ ผจง แผลงเป็น บรรจง, ประจง หลักการสังเกตภาษาเขมร 8. ส่วยใหญ่ขึ้นต้นด้วย กำ จำ คำ ชำ ดำ ตำ สำ ทำ อำ (เกิดจากการแผลงคำ) ครบ แผลงเป็น คำรบ จ่าย แผลงเป็น จำหน่าย หลักการสังเกตภาษาเขมร 8. ส่วยใหญ่ขึ้นต้นด้วย กำ จำ คำ ชำ ดำ ตำ สำ ทำ อำ กำเดา ดำเนิน ดำริ ตำบล จำนำ ชำร่วย สำเริง บำเรอ รำคาญ หลักการสังเกตภาษาเขมร 9. มักนำมาใช้เป็นคำราชาศัพท์ 9.1 ยืมคำที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้วในภาษาเขมร ไม่มีคำว่า ทรง, พระ หรือ ทรงพระ นำหน้า ตรัส = พูด สรง = อาบน้ำ เสด็จ = ไป บรรทม = นอน ทูล = บอกกล่าว เสวย = กิน หลักการสังเกตภาษาเขมร 9. มักนำมาใช้เป็นคำราชาศัพท์ 9.2 คำธรรมดาของเขมรที่นำมาใช้เป็นราชาศัพท์ โดยเติมคำว่่า ทรง พระ หรือทรงพระนำหน้า ทรงดำเนิน = เดิน ทรงพระสำราญ = สบาย ทรงทราบ = รู้ พระดำริ = ความคิด คำยืมที่มาจาก ภาษาจีน ที่มาของคำยืมภาษาจีน ไทย จีน การค้า การทูต สมัยสุขโขทัย > สมัยอยุธยา > สมัยกรุงธนบุรี > สมัยรัตนโกสินทร์ หลักการสังเกตภาษาจีน 1. เป็นคำที่มีเสียงวรรยุกต์ตรีหรือจัตวาซึ่งมีพยัญชนะต้น เป็นอักษรกลาง เจ๊ เจ๊ง บ๊วย ก๋ง ตี๋ อู๋ ตุ๋น กวยจั๊บ ป๋า ก๊วน เกี๊ยว หลักการสังเกตภาษาจีน 2. เป็นคำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น /เอียะ/ และ /อัวะ/ โดยเฉพาะคำเลียนเสียง เช่น เผียะ ผัวะ หรือคำขยาย เช่น ขาวจั๊วะ เหมือนเดี๊ยะ เกี๊ยะ เจี๊ยะ เปี๊ยะ อั๊วะ หลักการสังเกตภาษาจีน 3. เป็นคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง คือ ก จ ด ต บ ป อ มากกว่าพยัญชนะต้นอื่น ๆ ตั๋ว กวยจั๊บ ปุ๋ย บ๊วย จับกัง เก้าอี้ ปุ้งกี๋ เต๋า หลักการสังเกตภาษาจีน ไม่ตรงตามหลักสังเกต ห้าง ยี่ห้อ หุ้น ป้าย หมึก โผ แมะ โละ คำยืมที่มาจาก ภาษาชวา - มลายู ความเป็นมาคำยืม ที่มาจาก ภาษาชวา มลายู ถิ่นกำเนิดภาษาชวา ถิ่นกำเนิดภาษามลายู ภาษาของผู้ที่อาศัยอยู่ตามหมู่เกาะต่าง ๆ ในประเทศมาเลเซีย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตามหมู่เกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ลักษณะการยืม ภาษาชวา ภาษามลายู ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพล ไทยและมาเลเซีย จากวรรณคดี มีอาณาเขตติดต่อกัน ดาหลึง อิเหนา ด้านการค้า ด้านสงคราม การสังเกตคำยืมที่มาจากภาษาชวา - มลายู 1.ส่วนใหญ่เป็นคำสองพยางค์ หรือหลายพยางค์ เบตง กะละแม ตลึง โลมา กะพง กะละปังหา การสังเกตคำยืมที่มาจากภาษาชวา - มลายู 1.เป็นคำสองพยางค์ แต่ก็มีพยางค์เดียว เกน กรง คง (นาง) (สิ่งที่เป็นซี่ ๆ (บ้าวโพด) สำหรับขังนก) การสังเกตคำยืมที่มาจากภาษาชวา - มลายู 2.ส่วนมากไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้ำ กำยาน ยะลา สาคู กุเรา ทุเรียน มังคุด การสังเกตคำยืมที่มาจากภาษาชวา - มลายู 3.ไม่มีรูปวรรณยุกต์ กุญแจ ทุเรียน กะลาสี สลัด บูดู ยาหยี การสังเกตคำยืมที่มาจากภาษาชวา - มลายู 3.ไม่มีรูปวรรณยุกต์ แต่มีบางคำมีรูปวรรณยุกต์กำกับ โสร่ง ยี่เก (ลิเก) หนึ่งหรัด (เป็นใหญ่) ชมพู่ น้อยหน่า คำยืมที่มาจาก ภาษาอังกฤษ ความเป็นมาคำยืม ที่มาจาก ภาษาอังกฤษ ล่าอาณานิคมประเทศรอบด้าน มีความสัมพันธ์ทางด้าน การค้าขาย การทูต ตั้งแต่สมัยอยุธยา การสังเกตคำที่ยืม ที่มาจาก ภาษาอังกฤษ 1.เป็นคำหลายพยางค์ ไวโอลิน แคปซูล มอไซค์ เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์ กลูโคส การสังเกตคำที่ยืม ที่มาจาก ภาษาอังกฤษ 2.ไม่มีการเปลี่ยนรูปไวยากรณ์ คำที่ยืมมาไม่เปลี่ยนรูปคำตามลักษณะของไทย และไม่คำนึงถึงชนิดและหน้าที่ของคำในภาษาอังกฤษ อังกฤษ ไทย คอร์รัปชั่น >>> โกง คำนาม กริยา การสังเกตคำที่ยืม ที่มาจาก ภาษาอังกฤษ 3.มีเสียงพยัญชนะที่ไม่มีในระบบเสียงภาษาไทย *พยัญชนะควบกล้ำที่ไม่มีในไทย ดร็อป แฟลต เฟรม ทรัมเป็ต เบรก การสังเกตคำที่ยืม ที่มาจาก ภาษาอังกฤษ 4.ส่วนใหญ่เป็นคำที่สะกดด้วยพยัญชนะ *พยัญชนะ ฟ ล ส ศ ต กอล์ฟ อ๊อฟ โฟกัส ช็อกโกแลต บอล อีเมล แครอต ไอศกรีม คำยืมภาษาต่างประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทย ภาษาญี่ปุ่น ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอาหรับ ภาษาทมิฬ ภาษาเปอร์เซีย คำยืมภาษาญี่ปุ่น ความเป็นมาของคำยืมภาษาญี่ปุ่น ไทยมีความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการในสมัยสมเด็จ พระพระเจ้าเอกาทศรถแห่งกรุงศรีอยุธยาไทยสามารถทำการค้าที่ญี่ปุ่นได้ คนญี่ปุ่นก็มาค้าขาย ตั้งบ้านเรือนอยู่รอบกรุงศรีอยุธยา เรียกว่า บ้านญี่ปุ่น ไทยให้ความร่วมมือกับญี่ปุ่นให้เป็นทางผ่านเพื่อยึดพม่า คำยืมภาษาญี่ปุ่น 1.เป็นคำหลายพยางค์ กิโมโน กำมะลอ โชกุน เทมปุระ ซาบะ วาซาบิ คำยืมภาษาญี่ปุ่น 2. มักใช้เป็นคำทับศัพท์ ยูโด (Judo) ซากุระ (Sakura) ซูชิ (Sushi) ชาบู (Shabu) คำยืมภาษาญี่ปุ่น กีฬา อาหาร ชื่อเฉพาะ(ยี่ห้อ) คาราเต้ โชยุ ซูซูกิ เคนโด้ โมจิ โคโดโมะ ซูโม่ ยากิโซบะ โตชิบา ยิวยิตสู สาเก เบนโตะ ไอกีโด้ สุกียากี้ โดโซะ คำยืมภาษาโปรตุเกส ความเป็นมาของคำยืมภาษาโปรตุเกส ไทยมีความสัมพันธ์กับโปรตุเกสด้านการค้าขายตั้งแต่ สมัยอยุธยา ผ่านทางมลายู เป็นชาติแรกท่ี่เข้ามาผูกขาดการค้าขายกับแถบเอเชีย คำยืมภาษาโปรตุเกส บาทหลวง กัมปะโด กะละแม สบู่ นักบวชในศาสนาคริสต์ ขนมเหนียวสีดำ นายหน้าซื้อ ขาย สิ่งที่ใช้ฟอกตัว นิกายโรมันคาทอลิค กวนด้วยกะทิและน้ำตาล คำยืมภาษาโปรตุเกส เลหลัง ซื้อขายด้วยวิธีการประมูล เหรียญ กระดาษ กะละมัง ราคา คำยืมภาษาฝรั่งเศส ความเป็นมาของคำยืมภาษาฝรั่งเศส ไทยมีความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสตั้งแต่สมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช เกี่ยวข้องกับประเทศไทยทั้งด้านศาสนา การเมืองและ การค้าขาย คำยืมภาษาฝรั่งเศส มักใช้เป็นคำทับศัพท์ Europe (ยุโรป) Champagne (แชมเปญ) Louis Victon (ยี่ห้อกระเป๋า) คำยืมภาษาฝรั่งเศส คำศัพท์ ทั่ วไป หน่วยวัด กิโลกรัม ครัวซองต์ การันตี กาเฟอีน กิโลเมตร กิโลลิตร มิลลิกรัม กาสิโน กาสิโน คูปอง บัลเล่ต์ คำยืมภาษาอาหรับ ความเป็นมาของคำยืมภาษาอาหรับ ไทยกับอาหรับ ติดต่อค้าขายกันโดยผ่านทางมลายู รวมถึงการเผยแพร่ศาสนาอิสลาม ทำให้ภาษาอาหรับปะปนกับภาษาไทย คำยืมภาษาอาหรับ ส่วนใหญ่เป็นคำศัพท์ที่ใช้ในทางศาสนาอิสลาม มุสลิม มรสุม อิหม่าม กาหลิบ ตำแหน่งผู้ประกาศ ศาสนาอิสลาม มัสยิด/สุเหร่า สุลต่าน ฮัจญ์ คำยืมภาษาทมิฬ ความเป็นมาของคำยืมภาษาอาหรับ ชนชาติทมิฬเป็นชนชาติที่อยู่ทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ของอินเดีย สันนิษฐานว่าภาษาทมิฬได้ปะปนในภาษาไทย โดยผ่านทางลังกา ทั้งด้านศาสนาและการค้าขาย คำยืมภาษาทมิฬ เจียระไน สุริยัน มาลัย ตรียัมปวาย พิธีพราหมณ์กระทำรับ ยี่หร่า พระอิศวร เครา ไทยเรียกว่า พิธีโล้ชิงช้า วิไล คำยืมภาษาเปอร์เซีย ความเป็นมาของคำยืมภาษาเปอร์เซีย ไทยกับเปอร์เซียความสัมพันธ์มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย และอาจปะปนผ่านทางภาษามลายูเป็นส่วนใหญ่ คำยืมภาษาเปอร์เซียนำมาใช้ทั้งศัพท์ในชีวิตประจำวัน ทางศาสนา วรรณคดี และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คำยืมภาษาเปอร์เซีย สุหร่าย (เครื่องโปรยน้ำ ตราชู เป็นฝอย) (เครื่องชั่ง) สุหนัต ปสาน สักหลาด จาระบี พิธีขริบของศาสนา (น้ำมันกันสึกหรอ อิสลาม (ตลาดนัด) (ผ้าทำด้วยขนสัตว์) เครื่องจักร)