การยืมคำภาษาต่างประเทศ PDF

Summary

เอกสารนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย มีการอธิบายวิธีการยืมคำ และตัวอย่างคำยืมจากหลายภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร และภาษาชวา-มลายู

Full Transcript

เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา มีวิธีการยืมคาภาษาอังกฤษมาใช้ในภาษาไทย ๓ วิธีดังนี้ ๑.การทับศัพท์ ๒.การบัญญัติศัพท์ โดยใช้อักษรไทยอักษรโรมัน นาแนว...

เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา มีวิธีการยืมคาภาษาอังกฤษมาใช้ในภาษาไทย ๓ วิธีดังนี้ ๑.การทับศัพท์ ๒.การบัญญัติศัพท์ โดยใช้อักษรไทยอักษรโรมัน นาแนวคิดของศัพท์เดิมมาสร้างคาใหม่ Graph (กราฟ) Reform ปฏิรูป Clinic (คลินิก) New normal ความปรกติใหม่ Cook (กุก๊ ) Golf (กอล์ฟ) ๓.การแปลศัพท์ นาศัพท์ที่ไม่เคยมีใช้ในภาษาไทยนั้นมาดัดแปลงเป็นคาภาษาไทย โดยแปลให้มีความหมายตรงกับคาในภาษาอังกฤษ Blacklist บัญชีดา Tea-spoon ช้อนชา Table-spoon ช้อนโต๊ะ ๑ เป็นคาหลายพยางค์ แซ็กโซโฟน ไวโอลิน วิตามิน ๒ เขียนรูปคาตรงตามเสียงในภาษาเดิมด้วยการ “ทับศัพท์” London ลอนดอน Ozone โอโซน Graph กราฟ Clinic คลินิก ๓ เปลี่ยนคาและเสียงให้ผิดไปจากเดิม English อังกฤษ Pound ปอนด์ ๔ ชนิดและหน้าที่ของคาเปลี่ยนไปจากเดิม เดิมอยู่ในรูป “คานาม” ไทยใช้เป็น “กริยา” Corruption (นาม) คอร์รัปชัน (กริยา) Diet (นาม) ไดเอท (กริยา) ๕๔ ปรับระบบเสียงภาษาอังกฤษตามระบบเสียงของภาษาไทย ปรับเสียงพยัญชนะต้น เช่น /g/ เป็น /y/ gypsy ยิปซี ปรับพยัญชนะท้ายให้เข้ากับตัวสะกด Golf กอล์ฟ อ่านว่า ก๊อบ Apple แอปเปิ้ล อ่านว่า แอ๊บ-เปิ้น แอปเปิล กอล์ฟ ๖ ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาตหรือการันต์กากับพยัญชนะท้ายคา เพื่อไม่ต้องการออกเสียง Card ไม่ต้องการให้ r ออกเสียง จึงได้ว่า การ์ด Farm ไม่ต้องการให้ r ออกเสียง จึงได้ว่า ฟาร์ม Moment ไม่ต้องการให้ t ออกเสียง จึงได้ว่า โมเมนต์ ฟาร์ม การ์ด ๗ คาที่มาจากภาษาอังกฤษ ไทยมักจะตัดพยางค์ให้สั้นลง เพื่อนาไปใช้ในกรณีที่ไม่เป็นทางการ Football Motorcycle Volleyball ๗๘ มีการเพิ่มเสียงพยัญชนะควบกล้า ทร บร บล ฟร ฟล ดร วิทยุทรานซิสเตอร์ บรอกโคลี เบรก บล็อก ฟรี ดราฟต์ ดร๊อป ฟรุตสลัด ๗๙ มีการเพิ่มเสียงตัวสะกดหรือพยัญชนะท้าย ฟ ล ซ ช ส ศ พิซซา แคชเชียร์ โบนัส อีเมล เทนนิส โฟกัส สตรอว์เบอร์รี แคร์รอต เฟซบุก๊ เฟรนช์ฟรายส์ สปาเกตตี ไอศกรีม แอปพลิเคชัน อะพาร์ตเมนต์ เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ๑. คายืมภาษาจีนมักมีเสียงวรรณยุกต์ตรีหรือจัตวา เจ๊ ก๋ง ตี๋ อู๋ อั๊ว ๒. คายืมภาษาจีนมักมีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ ก๋วยเตี๋ยว ก๋ง เจ๊ง บ๊วย เก๊กฮวย เกี้ยมอี๋ เจี๋ยน แปะก๊วย เอี๊ยม ๓. คาที่ประสมสระเสียงสั้นส่วนใหญ่เป็นคายืมภาษาจีน /อัวะ/ (อุ+อะ) /เอียะ/(อิ+อะ) เกี๊ยะ ยัวะ เจี๊ยะ ๔. คาที่ยืมมาอาจมีการกลายเสียงไปบ้าง ฮั้ง ห้าง ปุ้งกี่ ปุ้งกี๋ เตียวหลิว ตะหลิว ทั้ง ถัง บ๊ะหมี่ บะหมี่ กวยจี๊ เฉาก๊วย ซาลาเปา เต้าหู้ จันอับ แปะก๊วย กุยช่าย ขาก๊วย ตังเก เข่ง ตั๋ว เซียมซี งิ้ว เก๋ง ลิ้นจี่ กงเต๊ก บะช่อ อั้งโล่ เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ซาบะ วาซาบิ กิโมโน ซากุระ ยูโด กิโมโน จากภาษาญี่ปุ่น 着物 (คิโมะโนะ) ซาชิมิ จากภาษาญี่ปุ่น 刺身 (ซะชิม)ิ สุกียากี้ จากภาษาญี่ปุ่น 鋤焼き (ซุกิยะกิ) คาราโอเกะ จากภาษาญี่ปุ่น カラオケ (คาระโอเกะ) คาราเต้ จากภาษาญี่ปุ่น 空手 (คะระเตะ) ซูชิ ยากิโซบะ วาซาบิ ไดฟูกุ ซาบะ สุกียากี้ ยูโด ซูโม่ คาราเต้ เทควันโด กิโมโน ซากุระ ฟูจียามา สาเก อะนิเมะ เกอิชา คาราเต้ เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา คายืมภาษาบาลี ในพจนานุกรมจะวงเล็บข้างหลังคาด้วย (ป.) คายืมภาษาสันสกฤต ในพจนานุกรมจะวงเล็บข้างหลังคาด้วย (ส.) เช่น ปัญญา (ป.) / ครุฑ (ส.) เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ๑. คาที่มีพยัญชนะ“ตัวสะกด”และ“ตัวตาม”คาภาษาบาลีจะต้องมีตัวสะกด ตัวตามอยู่ในวรรคเดียวกัน พยัญชนะบาลี มี ๓๓ ตัว แบ่งเป็นวรรคต่าง ๆ ดังนี้ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑.๑ แถวที่ ๑ ๓ ๕ เป็นตัวสะกดได้เท่านั้น ๑.๒ แถวที่ ๑ สะกด แถวที่ ๑ หรือ ๒ เป็นตัวตามได้ในวรรคเดียวกัน สัจจะ วรรค ก ก ข ค ฆ *ง ๑.๓ แถวที่ ๓ สะกด แถวที่ ๓ หรือ ๔ เป็นตัวตามได้ในวรรคเดียวกัน สัทธา วรรค จ จ ฉ ช ฌ ญ ๑.๔ แถวที่ ๕ สะกด พยัญชนะทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ สงฆ์ วรรค ฏ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ รวมทั้งแถวที่ ๕ ด้วย (ยกเว้น ง ตามตัวเองไม่ได้นะจ๊ะ) ๑.๕ เศษวรรค ตัว “ย ล ส” ตามหลังตัวเองได้ สัมผัสส อัยยิกา วรรค ต ต ถ ท ธ น ๑.๖ พยัญชนะบาลี ตัวสะกด ตัวตามจะอยู่ในวรรคเดียวกันเท่านั้นจะ วรรค ป ป ผ พ ภ ม ข้ามไปวรรคอื่นไม่ได้ เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ ° (อัง) ๒. ภาษาบาลีมีสระใช้ทั้งหมด ๘ ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๓. คาที่มีพยัญชนะ “ฬ” มักเป็นคายืมภาษาบาลี กาฬ จุฬา กักขฬะ กีฬา วิรุฬหก “วิฬาร์” คือ แมว ๔. คาที่มีตัวสะกดตัวตามในภาษาบาลีบางคา เมื่อนามาใช้ในไทยจะตัดตัวสะกดออกเหลือ แต่ตัวตาม ยกเว้นคาโบราณที่นามาใช้แล้วจะไม่เปลี่ยนแปลงหรือตัดรูปคาออก เช่นศัพท์ทางศาสนา บาลี ไทย บาลี ไทย รัฏฐ รัฐ อัฏฐิ อัฐ วัฑฒน วัฒน เขตต เขต ทิฏฐิ ทิฐิ ปุญญ บุญ วิชชา วิชา นิสสัย นิสัย ๕. อักษรบางตัวไม่นิยมใช้ในภาษาไทย แต่พบมากในบาลี พยัคฆ์, ฌาน, วิญญาณ, ปรากฏ ฆราวาส อัชฌาสัย ญาณ อัฐิ วุฒิ บัณฑิต วิญญาณ บัณฑิต พยัคฆ์ ๖. คาที่มี “ปฏิ” อยู่ข้างหน้ามักจะเป็นภาษาบาลี ***ยกเว้นบางคาที่ไม่ใช่ภาษาบาลีแต่เป็นการบัญญัติศัพท์ของผู้รู้ เช่น ปฏิคม ปฏิชีวนะ ปฏิญาณ ปฏิบัติ ปฏิวัติ ปฏิรูป ปฏิสนธิ ปฏิภาณ หมายถึง ปลา บาลี: มัจฉา สันสกฤต: มัตสยา หมายถึง ผู้หญิง บาลี: อิตถี สันสกฤต: สตรี หมายถึง ตาแหน่ง ภรรยาของกษัตริย์ บาลี: มเหสี สันสกฤต: มหิษิ หมายถึง เพชร บาลี: วชิระ สันสกฤต: วัชระ หมายถึง วัว บาลี: อุสภ สันสกฤต: พฤษก หมายถึง ต้นไม้ บาลี: รุกข์ สันสกฤต: พฤกษ์ หมายถึง นก บาลี: วิหค,วิหงค์ สันสกฤต: วิหค หมายถึง การกระทาดีตามหลัก ของพระพุทธศาสนา บาลี: บุญญ สันสกฤต: บุญย จักขุ หมายถึง ตา บาลี: จักขุ สันสกฤต: จักษุ หมายถึง หมอ บาลี: เวชช สันสกฤต: แพทย์ หมายถึง แสง บาลี: รังสี สันสกฤต: รัศมี เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ๑. พยัญชนะสันสกฤตมี ๓๕ ตัว เหมือนกับพยัญชนะบาลี แต่เพิ่ม “ศ ษ” อีก ๒ ตัว ฉะนั้นคาที่มี “ศ ษ” ส่วนใหญ่ที่นามาใช้ในไทยจึงเป็นคายืมภาษาสันสกฤต *** ยกเว้นคาว่า ศอก ศึก เศิก เศร้า ศาลา ศีรษะ บุษบา ศูนย์ ศิลา ๒. ภาษาสันสกฤตมีสระใช้ทั้งหมด ๑๔ ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ (เพิ่มจากบาลี ๖ ตัวดังนี้) ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา ดังนั้นจึงได้ข้อสังเกตว่าคาที่สะกดด้วย ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา เป็นภาษาสันสกฤต พฤกษ์ ทฤษฎี ฤกษ์ ฤาษี ฤทธิ์ เสาร์ ๓. ภาษาสันสกฤตไม่มีหลักการสะกดที่แน่นอนอย่างภาษาบาลี พยัญชนะใด สะกดพยัญชนะใด จะเป็นตัวตามก็ได้ อักษร อัปสร เกษตร ปรัชญา ๔. คาที่มี “รร” อยู่ จะเป็นคามาจากภาษาสันสกฤต *** ยกเว้นคาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร เช่น บรรทัด บรรทุก กรรไกร กรรแสง สรรเสริญ คาไทย กรรเชียง (กระเชียง) กรรโชก (กระโชก) บรรดา (ประดา) สวรรค์ ธรรม บรรพต ภรรยา กรรม ทรรศนะ สรรพ บรรณารักษ์ ๕.คาที่มีตัว ร ควบกับพยัญชนะอื่น และใช้เป็นตัวสะกดเป็นคาที่มาจากภาษาสันสกฤต จักร บุตร มารค ศาสตร์ อัคร จันทร์ ๖. คาที่มีพยัญชนะ “ฑ” มักเป็นคาภาษาสันสกฤต ครุฑ กรีฑา จุฑามณี จุฑา จุฑามาศ เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ๑. คาภาษาเขมรมักใช้พยัญชนะ “จ ร ล ญ” เป็นตัวสะกด เช่น เผด็จ เสด็จ อาจ อานาจ สาเร็จ ตารวจ เช่น ควร จาร บังอร ขจร จร เช่น ดล ถกล บันดาล ทูล กังวล ถวิล เช่น เพ็ญ เจริญ จาเริญ เชิญ ชานาญ ผลาญ ๒. คายืมภาษาเขมรจะมีพยัญชนะต้น ๒ ตัวเรียงกันในลักษณะของ คาควบกลา้ เมื่อออกเสียงไทยอ่านพยัญชนะสองตัวเรียงกันโดยมีสระอะที่พยางค์ แรก ทาให้คาเดิมพยางค์เดียวกลายเป็นสองพยางค์ อ่านว่า ผะ – กา อ่านว่า ถะ – ไหง อ่านว่า ขะ – จี อ่านว่า ตะ – โหนด ๓. คาที่มาจากภาษาเขมร แล้วนามาใช้ในภาษาไทยจะเป็นคา ๒ พยางค์ พยางค์ต้นจะขึ้นต้นด้วย “บัง บัน บา บรร ประ” บังอร บังควร บังอาจ บังคับ บังเหียน ประกาย บันดาล บันเทิง บันทึก ประสาน บาเพ็ญ บาบัด บารุง บานาญ บรรทุก บรรทม บรรทัด บรรจุ บรรจบ ๔. คาที่มาจากภาษาเขมร พยางค์แรกมักขึ้นต้นด้วยสระอา เช่น กา คา ชา ดา ตา ทา สา กาเนิด ชารุด ตารวจ สาเร็จ สาราญ ดาเนียน ๕. คาเขมร ไทยนามาใช้เป็นราชาศัพท์จานวนมาก ๖. คาเขมรที่แผลงเป็นคาไทย ข แผลงเป็น กระ ผ แผลงเป็น ประ ประ แผลงเป็น บรร ขดาน กระดาน ผสม ประสม ประทม บรรทม ขจอก กระจอก ผสาน ประสาน ประทุก บรรทุก ขจัด กระจัด ผกาย ประกาย ประจง บรรจง ขจาย กระจาย ๗. คาเขมรในไทยบางคาเป็นคาโดดมีใช้ในไทยจนคิดว่าเป็นคาไทย กระบือ กระโถน สบง กระท่อม กาแพง บายศรี กระโดง เพนียด เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา เพจรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ๑. คายืมภาษาชวา-มลายูส่วนใหญ่เป็นคา ๒ พยางค์ มังคุด น้อยหน่า โลมา ทุเรียน ๒. ภาษาชวา-มลายูไม่มีเสียงควบกล้า อังกะลุง กุเรา กะพง กะปะ ๓. ภาษาชวา-มลายูไม่ใช้เสียงวรรณยุกต์แม้ระดับเสียงของคาเปลี่ยนไป แต่ความหมายของคายังคงเดิม สลัก (มาจากSelak) กระจูด (มาจากkerchut) กระดังงา (มาจากkenanga) โอรส,ธิดา ตุนาหงัน หมั้นไว้เพื่อแต่ง ระเด่น ของกษัตริย์ สะตาหมัน สวน กิดาหยัน มหาดเล็ก กระยาหงัน สวรรค์ เทวดาต้นตระกูล อสัญแดหวา (ในเรื่องอิเหนา) ขอขอบคุณภาพจากเพจการ์ตูนไทยไทย กระตั้ว บุหรง โนรี ตุนาหงัน บุหลัน กุดัง มัสยิด รองเง็ง ปัน้ เหน่ง กุญแจ บุหงาราไป ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา ๑. เหตุใดจึงมีการยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย ก. เพราะในปัจจุบันมีคนนิยมใช้กันมาก ข. เพราะมีวิทยากรเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย ค. เพราะมีการติดต่อระหว่างประเทศทั้งด้านการทูต การค้าขาย ง. เพราะภาษาต่างประเทศมีมากจึงต้องนามาใช้ในประเทศไทยบ้าง ๒. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้มีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ก. มีอาณาเขตใกล้เคียงติดต่กัน ข. นับถือสถาบันกษัตริย์เหมือนกัน ค. มีการไปศึกษาต่อต่างประเทศ ง. ความเจริญทางเทคโนโลยี ๓. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาต่างประเทศทุกคา ก. เกาเหลา ข้าวเปล่า ข. บันได แก้วน้า ค. ทุเรียน มะขาม ง. กัลปังหา กีตาร์ ๔.ข้อใดจาเป็นต้องใช้คาทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ก. ผู้หญิงชอบขับรถเกียร์อัตโนมัตเิ พราะง่ายดี ข. นักเรียนโรงเรียนนี้เข้าคิวรอใช้บริการเสมอ ค. เขาจับสลากได้เบอร์หนึ่งจึงต้องพูดก่อน ง. เขามีความรับผิดชอบเพื่อจึงโหวตให้เป็นหัวหน้า ๕. ข้อใดใช้ภาษาต่างประเทศโดยไม่จาเป็น ก. เมื่อไฟดับควรตรวจดูว่าเป็นเพราะฟิวส์ขาดหรือปลั๊กหลุด ข. เด็ก ๆ ชอบรับประทานไอศกรีมช็อกโกแลตมากกว่าไอศกรีมกะทิสด ค. ก่อนเข้าแบงก์ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ต้องถอดหมวกกันน็อก และแว่นตาดาออก ง. นักกอล์ฟหลายคนอยากเปลี่ยนวงสวิงให้คล้ายกับไทเกอร์วูดส์ เพื่อให้ตีลูกได้แม่นและไกล ช่องรู้รักษ์ประจักษ์ภาษา

Use Quizgecko on...
Browser
Browser