เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ตั๋วเงิน PDF
Document Details
Uploaded by JollyPanFlute
ดร. พรภัทร์ ตันติกุลานันท์
Tags
Summary
บทความนี้เป็นเอกสารประกอบการบรรยายวิชาตั๋วเงิน โดย ดร. พรภัทร์ ตันติกุลานันท์ รองเลขานุการศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ. บทความอธิบายถึงวิวัฒนาการและลักษณะของตั๋วเงิน ตลอดจนประเภทต่างๆ ของตราสารทางการเงิน.
Full Transcript
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ตั๋วเงิน ดร. พรภัทร์ ตันติกุลานันท์ รองเลขานุการศาลอุทธรณ์คดีชานัญพิเศษ ตั๋วเงินเป็ นตราสารพัฒนาจากแนวปฏิบัติของพ่อค้าเพื่อความสะดวกในการชาระหนี้ 1. วิวฒั นาการจาก...
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ตั๋วเงิน ดร. พรภัทร์ ตันติกุลานันท์ รองเลขานุการศาลอุทธรณ์คดีชานัญพิเศษ ตั๋วเงินเป็ นตราสารพัฒนาจากแนวปฏิบัติของพ่อค้าเพื่อความสะดวกในการชาระหนี้ 1. วิวฒั นาการจากการใช้เพื่อประโยชน์ในการชาระหนี้ต่างเมือง พ่อค้าเมืองหนึ่งซื้ อสิ นค้าจากพ่อค้าอีกเมืองหนึ่ง ผูซ้ ้ือสิ นค้าไม่ตอ้ งชาระเงิน ค่าสิ นค้าเป็ นเงินสด แต่ชาระ หนี้โดยออกตราสารให้ผขู ้ ายสิ นค้าไปเก็บเงินจากพ่อค้าอีกคนหนึ่งซึ่งอยูใ่ นเมืองเดียวกับผูข้ าย วิวฒั นาการ เป็ น “ตัว๋ แลกเงิน” 2. วิวฒั นาการจากการใช้เพื่อประโยชน์ในการให้เครดิตในการขายสิ นค้า พ่อค้าคนหนึ่ งขายสิ นค้าเงินเชื่อให้แก่พ่อค้าอีกคนหนึ่ ง พ่อค้าซึ่ งซื้ อสิ นค้าก็ออกตราสารสัญญาว่าจะใช้ เงินให้แก่พ่อค้าผูข้ ายในอนาคต พ่อค้าผูข้ ายเมื่อได้รับตราสารแล้ว อาจเอาตราสารฉบับดังกล่าวไปใช้ ประโยชน์ เช่น สลักหลังโอนให้แก่บุคคลอื่นต่อไป วิวฒั นาการเป็ น “ตัว๋ สัญญาใช้เงิน” 3.วิวฒั นาการจากระบบการรับฝากและใช้เงินของธนาคาร ผูอ้ อกตราสารมีความสัมพันธ์โดยการฝากเงินกับธนาคารอยู่ก่อน ต่อมาเมื่อผูอ้ อกตราสารต้องการชาระ หนี้ ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ ง ผูอ้ อกตราสารก็จะออกตราสารซึ่ งเป็ นใบถอนเงินให้แก่บุคคลนั้นไปเบิกเงิน จากธนาคาร การชาระหนี้ ด้วยออกใบถอนเงินนี้ สะดวกกว่าการชาระหนี้ ดว้ ยเงินสด วิวฒั นาการมาเป็ น “เช็ค” ลักษณะของสัญญาตั๋วเงิน 1. ตัว๋ เงินเป็ นสัญญาต้องมีการแสดงเจตนา ดังนั้นหากบุคคลใดไม่ได้แสดงเจตนาลงลายมือชื่อในตัว๋ เงิน บุคคลนั้นก็ไม่ตอ้ งรับผิดตามตัว๋ เงินนั้น 2. สัญญาตัว๋ เงินต้องทาเป็ นหนังสื อตราสาร 2.1 ต้องทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร มีลายมือชื่อผูอ้ อกตราสาร 1 - มาตรา 9 วรรคหนึ่ง เมื่อมีกิจการอันใดซึ่ งกฎหมายบังคับให้ทาเป็ นหนังสื อ บุคคลผูจ้ ะต้องทาหนังสื อไม่จาเป็ นต้องเขียนเอง แต่หนังสื อนั้นต้องลงลายมือชื่อของบุคคลนั้น - หากเนื้อความปรากฏในรู ปแบบอื่นไม่ใช่ลายลักษณ์อกั ษรย่อมไม่ใช่ตวั๋ เงิน 2.2 ต้องมีเนื้ อความตามที่กฎหมายกาหนด หากไม่ครบย่อมไม่สมบูรณ์ เป็ นหนังสื อตราสาร (กฎหมาย ต้องการให้เนื้อหาของการแสดงเจตนาเป็ นที่ยตุ ิ) - เช่น มาตรา 910 ตราสารอันมีรายการขาดตกบกพร่ องไปจากที่ท่านระบุบงั คับไว้ในมาตราก่อนนี้ ย่อม ไม่สมบูรณ์เป็ นตัว๋ แลกเงิน เว้นแต่ในกรณี ดงั จะกล่าวต่อไปนี้ คือ..... - ต่างจากกรณี ห นัง สื อซึ่ งเป็ นแบบของนิ ติกรรม เช่ น สั ญ ญาเช่ าซื้ อ ต้องทาเป็ นหนังสื อลงลายมื อชื่ อ คู่สัญญา แต่สัญญาเช่าซื้อไม่ใช่หนังสื อตราสาร เพราะกฎหมายไม่ได้กาหนเนื้อความไว้เป็ นการเฉพาะ 3. ตัว๋ เงินเป็ นตราสารเปลี่ยนมือ - โอนกันได้โดยการส่งมอบ หรื อสลักหลังและส่งมอบ ต่างจากมาตรา 306 - ไม่ตอ้ งบอกกล่าวการโอนไปยังลูกหนี้ตามตัว๋ ต่างจากมาตรา 306 - คุม้ ครองผูร้ ับโอนโดยสุจริ ต ยกเว้นหลักผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผูโ้ อน ดูมาตรา 916 4. คู่สัญญาตามตัว๋ เงินมีได้หลายฝ่ ายเพิ่มจานวนขึ้นได้เรื่ อยๆ คู่สัญญาตอนต้นอาจไม่รู้จกั กับผูท้ รงตัว๋ เงิน คนปัจจุบนั เลย 2 ประเภทของตั๋วเงิน มาตรา 898 อันตัว๋ เงินตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี้มีสามประเภท ประเภทหนึ่งคือ ตัว๋ แลกเงิน ประเภทหนึ่งคือ ตัว๋ สัญญาใช้เงิน ประเภทหนึ่งคือ เช็ค 1. ตัว๋ แลกเงิน (Bill of Exchange) 2. ตัว๋ สัญญาใช้เงิน (Promissory note) 3. เช็ค (Cheque) ลักษณะของตั๋วแลกเงิน มาตรา 908 อันว่าตัว๋ แลกเงินนั้น คือหนังสื อตราสารซึ่ งบุคคลคนหนึ่ ง เรี ยกว่าผูส้ ั่งจ่าย สั่งบุคคล อีกคนหนึ่ ง เรี ยกว่าผูจ้ ่าย ให้ใช้เงินจานวนหนึ่ งแก่บุคคลคนหนึ่ง หรื อให้ใช้ตามคาสั่งของบุคคลคนหนึ่ ง ซึ่งเรี ยกว่า ผูร้ ับเงิน คู่สัญญาตามตั๋วแลกเงินมีท้งั หมด 3 ฝ่ าย ได้แก่ (1) ผูส้ งั่ จ่าย บุคคลผูซ้ ่ ึ งเป็ นผูอ้ อกตัว๋ แลกเงินหรื อสั่งจ่ายตัว๋ แลกเงิน โดยออกคาสั่งถึงผูจ้ ่ายให้จ่ายเงินจานวนหนึ่ งที่ แน่นอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่งเรี ยกว่า ผูร้ ับเงิน ซึ่งปกติผสู ้ ั่งจ่ายจะสั่งผูจ้ ่ายได้ก็เพราะเป็ นเจ้าหนี้ผจู ้ ่ายเงิน (2) ผูจ้ ่าย บุค คลซึ่ งมี หน้าที่ จ่ายเงิ นตามค าสั่งของผูส้ ั่ งจ่าย ตามจานวนที่ ระบุไว้ในตัว๋ แลกเงิ น แม้ผูจ้ ่ายมี หน้าที่ จ่ายเงิน แต่ถา้ ปฏิเสธการจ่ายเงิน ผูจ้ ่ายก็ไม่มีหน้าที่ตอ้ งรับผิดชอบชดใช้เงินตามตัว๋ แลกเงินนั้นให้แก่ผู ้ ทรงตัว๋ แลกเงิน เพราะผูจ้ ่ายมิได้ลงลายมือชื่อในตัว๋ แลกเงินฉบับนั้นจึงไม่ตอ้ งรับผิดตามมาตรา 900 แต่ถา้ ได้ลงลายมือชื่อโดยทาการรับรองตัว๋ แลกเงินฉบับนั้นก็ตอ้ งรับผิด เพราะจะตกเป็ น"ผูร้ ับรอง" ตามมาตรา 900, 931 ประกอบมาตรา 937 (3) ผูร้ ับเงิน บุคคลซึ่ งมีสิทธิ รับเงินตามตัว๋ แลกเงิน คือ ผูท้ ี่ผสู ้ ั่งจ่ายระบุชื่อให้เป็ นผูร้ ับเงินตามตัว๋ แลกเงิน ถ้ามีตวั๋ ไว้ใน ครอบครอง คือ ผูท้ รง ตามมาตรา 904 3 ข้ อสั งเกต ผู้สั่งจ่ ายกับผู้จ่ายอาจจะเป็ นบุคคลคนเดียวกันก็ได้ และผู้สั่งจ่ ายกับผู้รับเงินก็อาจจะเป็ นบุคคล คนเดียวกันก็ได้ ส่ วนผู้จ่ายเงินจะเป็ นใครก็ได้ต่างกับเช็คซึ่งผู้จ่ายจะต้ องเป็ นธนาคารเท่ านั้น ตราสารที่จะเป็ นตั๋วแลกเงินจะต้ องมีรายการสาคัญรวม 8 ข้ อ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 909 (1) คาบอกชื่อว่าเป็ นตัว๋ แลกเงิน (2) คาสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินเป็ นจานวนแน่นอน (3) ชื่อหรื อยีห่ อ้ ผูจ้ ่าย (4) วันถึงกาหนดใช้เงิน มาตรา 910 วรรคสอง ให้ถือว่าใช้เงินเมื่อได้เห็น (5) สถานที่ใช้เงิน มาตรา 910 วรรคสาม ให้ถือว่าภูมิลาเนาของผูจ้ ่ายเป็ นสถานที่ใช้เงิน (6) ชื่อ หรื อยีห่ อ้ ผูร้ ับเงิน หรื อคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผถู ้ ือ (7) วันและสถานที่ออกตัว๋ แลกเงิน มาตรา 910 วรรคท้าย และวรรคสี่ ผูท้ รงโดยสุจริ ตจดวันที่ถูกต้อง แท้จริ งได้ ภูมิลาเนาผูส้ ั่งจ่าย (8) ลายมือชื่อผูส้ ั่งจ่าย มาตรา 910 ตราสารอันมีรายการขาดตกบกพร่ องไปจากที่ทา่ นระบุบงั คับไว้ในมาตราก่อนนี้ ย่อมไม่ สมบูรณ์เป็ นตัว๋ แลกเงิน เว้นแต่ในกรณี ดงั จะกล่าวต่อไปนี้ คือ ตัว๋ แลกเงินซึ่งไม่ระบุเวลาใช้เงิน ท่านให้ถือว่าพึงใช้เงินเมื่อได้เห็น ถ้าสถานที่ใช้เงินมิได้แถลงไว้ในตัว๋ แลกเงิน ท่านให้ถือเอาภูมิลาเนาของผูจ้ ่ายเป็ นสถานที่ใช้เงิน 4 ถ้าตัว๋ แลกเงินไม่แสดงให้ปรากฏสถานที่ออกตัว๋ ท่านให้ถือว่าตัว๋ เงินนั้นได้ออก ณ ภูมิลาเนาของผู ้ สั่งจ่าย ถ้ามิได้ลงวันออกตัว๋ ท่านว่าผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมายคนหนึ่งคนใดทาการโดยสุจริ ตจะจดวัน ตามที่ถูกต้องแท้จริ งลงก็ได้ ลักษณะของตั๋วสัญญาใช้ เงิน มาตรา 982 อันว่าตัว๋ สัญญาใช้เงินนั้นคือ ตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรี ยกว่าผูอ้ อกตัว๋ ให้คามัน่ สัญญาว่าจะใช้ เงินจานวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรื อใช้ให้ตามคาสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง เรี ยกว่า ผูร้ ับเงิน หนังสื อตั๋วสัญญาใช้ เงินเป็ นตั๋วเงินประเภทที่มีคู่สัญญาเพียงสองฝ่ ายเท่ านั้นคือ (1) ผูอ้ อกตัว๋ หมายถึง บุคคลซึ่ งเป็ นลูกหนี้ของผูร้ ับเงิน ได้ออกตัว๋ สัญญษใช้เงินโดยมีคามัน่ สัญญาว่าจะ ใช้เงินให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งคือเจ้าหนี้หรื อที่เรี ยกว่า ผูร้ ับเงิน (2) ผูร้ ับเงิน หมายถึง บุคคลที่เป็ นเจ้าหนี้ ของผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน มีสิทธิ ที่จะได้รับชาระหนี้ ตามตั๋ว สัญญาใช้เงิน ลักษณะของตราสารที่จะเป็ นตั๋วสัญญาใช้ เงินต้ องมีรายการ 7 ข้ อ ตามที่ระบุไว้ในมาตรา 983 ดังนี้ 1) คาบอกชื่อว่าเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงิน 2) คามัน่ สัญญาอันปราศจากเงื่อนไขว่าจะใช้เงินเป็ นจานวนแน่นอน 3) วันถึงกาหนดใช้เงิน (ม.984 วรรคสอง ไม่ระบุ ถือว่าใช้เงินเมื่อได้เห็น) 4) สถานที่ใช้เงิน (ม.984 วรรคสาม ถือเอาภูมิลาเนาผูอ้ อกได้) 5) ชื่อหรื อยีห่ อ้ ของผูร้ ับเงิน (ข้อสังเกต ตัว๋ สัญญาใช้เงินจะออกให้แก่ผถู ้ ือไม่ได้) 5 6) วันและสถานที่ออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน (ม.984 วรรคสี่และวรรคท้าย สถานที่เป็ นภูมิลาเนาของผูอ้ อก วันที่ ออกผูท้ รงสุจริ ตจดวันที่ถูกต้องแท้จริ งได้) 7) ลายมือชื่อผูอ้ อกตัว๋ มาตรา 984 ตราสารอันมีรายการขาดตกบกพร่ องไปจากที่ท่านระบุบังคับไว้ในมาตราก่อนนี้ ย่อมไม่ สมบูรณ์เป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงิน เว้นแต่ในกรณี ดงั จะกล่าวต่อไปนี้ คือ ตัว๋ สัญญาใช้เงินซึ่งไม่ระบุเวลาใช้เงิน ท่านให้ถือว่า พึงใช้เงินเมื่อได้เห็น ถ้าสถานที่ใช้เงินมิได้แถลงไว้ในตัว๋ สัญญาใช้เงิน ท่านให้ถือเอาภูมิลาเนาของผูอ้ อกตราสารนั้น เป็ นสถานที่ใช้เงิน ถ้าตัว๋ สัญญาใช้เงินไม่ระบุสถานที่ออกตัว๋ ท่านให้ถือว่า ตัว๋ นั้นได้ออก ณ ภูมิลาเนาของผูอ้ อกตัว๋ ถ้ามิได้ลงวันออกตัว๋ ท่านว่าผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมายคนหนึ่ งคนใดทาการโดยสุ จริ ตจะจดวัน ตามที่ถูกต้องแท้จริ งลงก็ได้ ลักษณะของเช็ค มาตรา 987 "อันว่าเช็คนั้น คือหนังสื อตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรี ยกว่า ผูส้ ั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงิน จานวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรื อให้ใช้ตามคาสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง อันเรี ยกว่า ผูร้ ับเงิน" เช็คเป็ นตั๋วเงินประเภทหนึ่งซึ่งมีบุคคลเป็ นคู่สัญญาสามฝ่ าย คือ (1) ผูส้ ั่งจ่าย (2) ธนาคารผูจ้ ่ายเงิน (3) ผูร้ ับเงินหรื อผูท้ รงเช็ค 6 ตราสารที่จะเป็ นเช็ค ต้ องมีรายการสาคัญตามที่ระบุไว้ในมาตรา 988 ดังนี้ (1) คาบอกชื่อว่าเป็ นเช็ค (2) คาสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินเป็ นจานวนแน่นอน (3) ชื่อหรื อยีห่ อ้ และสานักของธนาคาร (4) ชื่อหรื อยีห่ อ้ ของผูร้ ับเงิน หรื อคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผถู ้ ือ (5) สถานที่ใช้เงิน (ม.989 + ม.910 วรรคสาม ภูมิลาเนาผูจ้ ่าย) (6) วันและสถานที่ออกเช็ค (ม.989+ม.910 วรรคท้ายและวรรคสี่ ผูท้ รงสุจริ ตจดวันที่ถูกต้องแท้จริ ง ภูมิลาเนาผูส้ ั่งจ่าย) (7) ลายมือชื่อผูส้ ั่งจ่าย ลักษณะสาคัญของตั๋วเงินโดยรวมทั้ง 3 ประเภท 6 ข้ อ 1. เป็ นสัญญาที่มีคู่สัญญาอย่างน้อย 2 ฝ่ ายขึ้นไป 2. ต้องมีรายการครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ ตัว๋ แลกเงิน มาตรา 909 ประกอบมาตรา 910 ตัว๋ สัญญาใช้เงิน มาตรา 983 ประกอบมาตรา 984 เช็ค มาตรา 988 ประกอบมาตรา 989 และมาตรา 910 มิฉะนั้นก็ไม่เป็ นตัว๋ เงิน ผูท้ ี่ลงลายมือชื่อไม่ตอ้ งรับผิด ตามมาตรา 900 3. ผูล้ งลายมือชื่อในตัว๋ เงิน ต้องรับผิดตามเนื้อความในตัว๋ เงินนั้นๆ ตามมาตรา 900 4. ตัว๋ เงินเป็ นตราสารที่โอนเปลี่ยนมือได้เสมอ ตามมาตรา 917 เว้นแต่บางกรณี ที่ทาตามเงื่อนไขว่าห้าม โอนหรื อห้ามเปลี่ยนมือ ก็จะโอนโดย วิธีการของกฎหมายตัว๋ เงินไม่ได้ แต่ตอ้ งโอนโดยวิธีสามัญ ตาม มาตรา 306 และมาตรา 917 วรรคสอง 5. ให้ใช้เงินจานวนตามที่ระบุไว้แก่ผทู ้ รงตัว๋ เงินฉบับนั้น 6. เจ้าหนี้คือผูท้ รงตัว๋ เงินโดยชอบด้วยกฎหมาย หมายความว่าต้องได้ตวั๋ เงินนั้นมาโดยชอบด้วยกฎหมาย ตามที่ระบุไว้ในมาตรา 904 และ 905 สรุปลักษณะของสัญญาตั๋วเงิน 1. เริ่ มต้นโดยมีตวั บุคคลหรื อคู่สัญญา 3 ฝ่ าย หรื อ 2 ฝ่ าย 7 2. หลังจากนั้นก็จะมีบุคคลอื่นๆ เข้ามา เกี่ยวข้อง - ตัว๋ แลกเงินและเช็ค มีผูส้ ั่งจ่ายสั่งอีกคนหนึ่ งซึ่ งจะเป็ นใครก็ได้ให้ใช้เงินแก่ผูร้ ับเงินหรื อให้ใช้ เงินแก่ผถู ้ ือตัว๋ แลกเงินหรื อเช็ค - ตัว๋ สัญญาใช้เงินเริ่ มต้นโดยคู่สัญญา 2 ฝ่ าย คือ ผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน สัญญาว่าจะใช้เงินจานวน หนึ่งให้แก่ผรู ้ ับเงิน 8 มาตรา 899 ข้ อความอันใดซึ่งมิได้มีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายลักษณะนี้ ถ้ าเขียนลง ในตั๋วเงิน ท่ านว่าข้ อความอันนั้นหาเป็ นผลอย่างหนึ่งอย่างใดแก่ตั๋วเงินนั้นไม่ ตัว๋ เงินมีลกั ษณะคล้ายธนบัตร เนื่องจากเป็ นตราสารที่ใช้ชาระหนี้ได้ จึงต้องกาหนดรายการต่างๆ ในตัว๋ เงิน เพื่อให้ผเู ้ กี่ยวข้องเข้าใจตรงกันและยึดถือปฏิบตั ิในแนวทางเดียวกัน ตัวอย่างคาถาม 1 สมดีสั่งจ่ายเช็คเพื่อเป็ นหลักประกันการชาระหนี้ ค่าสิ นค้าแก่สมศรี ตามสัญญาซื้ อขาย เป็ นเงิน 10,000 บาท โดยสมดีเขียนกากับไว้ดา้ นหน้าเช็คว่า “เพื่อเป็ นประกันการชาระหนี้ ค่าสิ นค้า และให้ธนาคารตาม เช็คชาระเงินเมื่อสมศรี ส่งมอบสิ นค้าครบแล้ว” การสั่งจ่ายเช็คมีผลตามกฎหมายหรื อไม่ ตัวอย่างคาถาม 2 สมดีสั่งจ่ายเช็คชาระหนี้ สมศรี โดยระบุชื่อสมศรี ในเช็ค แต่ไม่ได้ลงวันที่ออกเช็ค และขีดเส้นทับไว้ใน ช่องวันที่ แล้วส่งมอบเช็คแก่สมศรี ต่อมา สมศรี เติมวันที่ในเช็คแล้วนาไปเรี ยกเก็บเงินกับธนาคารตามเช็ค แต่ถูกธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน สมศรี จึงฟ้องสมดีให้ใช้เงินตามเช็ค สมดีต่อสู้ว่าได้ขีดเส้นในช่องวันที่ เพราะไม่ประสงค์ให้เติมวันที่ในเช็ค จึงไม่สมบูรณ์เป็ นเช็ค ไม่ตอ้ งรับผิด คาตอบ 1 มาตรา 899, มาตรา 988 (2), มาตรา 910 ประกอบมาตรา 989 ข้อความในเช็คที่ระบุวา่ “เพื่อเป็ นประกันการชาระหนี้ค่าสิ นค้า” เป็ นข้อความที่ไม่มีผลตามกฎหมายตาม มาตรา 899 ส่วนข้อความที่ระบุว่า “ให้ชาระเงินเมื่อส่ งมอบสิ นค้าครบถ้วนตามสัญญาแล้ว” เป็ นข้อความที่มีลกั ษณะ เป็ นการกาหนดเงื่อนไขในการใช้เงิน ขัดกับมาตรา 988 (2) จึงส่ งผลให้ไม่สมบูรณ์เป็ นเช็ค ตามมาตรา 910 ประกอบมาตรา 989 คาตอบ 2 มาตรา 899, มาตรา 910 ประกอบมาตรา 989 สมดี ออกเช็คโดยขีดเส้นทับในช่องวันที่ เป็ นข้อความซึ่ งมิ ได้มี บญ ั ญัติไว้ในกฎหมาย จึงหามี ผลอย่าง หนึ่ งอย่างใดแก่เช็คนั้นไม่ ตามมาตรา 899 ถือว่าสมดี ออกเช็คโดยมิได้ลงวันออกเช็ค สมศรี ผูท้ รงโดย ชอบด้วยกฎหมายจึงลงวันที่ในเช็คได้ตามมาตรา 910 วรรคท้ายประกอบมาตรา 989 ข้อต่อสู้ของสมดีฟัง ไม่ข้ ึน สมดีตอ้ งรับผิดใช้เงินตามเช็คแก่สมศรี 9 มาตรา 900 บุคคลผู้ลงลายมือชื่ อของตนในตั๋วเงินย่ อมจะต้ องรับผิดตามเนื้อความในตั๋ว เงินนั้น ถ้ าลงเพียงแต่ เครื่ องหมายอย่ างหนึ่งอย่ างใด เช่ น แกงไดหรื อลายพิมพ์ นิ้วมืออ้ าง เอาเป็ นลายมื อชื่ อในตั๋วเงินไซร้ แม้ ถึงว่ าจะมีพยานลงชื่ อรั บรองก็ตาม ท่ านว่ าหาให้ ผล เป็ นลายมือชื่ อในตั๋วเงินนั้นไม่ คาว่า "ผู้ลงลายมือชื่ อของตน" หมายถึง ผู้ที่ลงลายมือชื่ อในตั๋วเงินนั้น - ลงชื่อปลอมหรื อชื่อจริ งไม่สาคัญ ผูท้ ี่ถูกแอบอ้างลงลายมือชื่อปลอมไม่ตอ้ งรับผิด เพราะไม่ใช่ผู ้ ลงลายมือชื่อ - ผูท้ ี่ปลอมลายมือชื่อคนอื่นคือผูล้ งลายมือชื่อนั้นจะต้องรับผิด - เว้นแต่บุคคลที่ถูกปลอมลายมือชื่อได้ร่วมสมคบกระทาความผิดหรื อยินยอมให้ปลอมด้วย ดังนี้ ผูน้ ้ นั ก็ตอ้ งรับผิดด้วยตามบทบัญญัติมาตรา 1008 - ลายมือชื่อของตนนั้นเป็ นภาษาอะไรก็ได้ เป็ นชื่อแฝงที่เปิ ดบัญชีไว้กบั ธนาคารก็ได้ไม่ถือว่าเป็ น การปลอมลายมือชื่อต้องรับผิดตามเนื้อความใน ตัว๋ เงิน (คาพิพากษาฎีกาที่ 151/2507) - การลงลายมือชื่อไม่จาเป็ นต้องอ่านได้ความตามชื่อของตน - ผูท้ ี่ลงลายมือชื่อ ในแบบฟอร์มเช็คและมีขอ้ ความครบถ้วน ก็ตอ้ งรับผิด แม้ไม่ใช่เจ้าของบัญชี หรื อเจ้าของเช็คฉบับนั้น (คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1734/2515) - แบบพิมพ์เช็คที่ธนาคารออกให้แม้บุคคลอื่นเป็ นผูก้ รอกข้อความแต่ผสู ้ ั่งจ่ายได้ลงลายมือชื่อใน ฐานะผูส้ ั่งจ่ายก็ตอ้ งรับผิด (คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1353/2518) - ผูท้ ี่กรอกข้อความในตัว๋ เงินโดยมิได้ลงลายมือชื่อในตัว๋ เงินไม่ตอ้ งรับผิดตามเนื้อความในตัว๋ เงิน นั้น เพราะไม่ได้ลงลายมือชื่อ เช่น เจ้าหน้าที่หรื อเลขานุการของนายจ้าง ทาหน้าที่พิมพ์หรื อกรอกข้อความ - คาว่า "ลายมือชื่อ” หมายความว่า ชื่อซึ่งปกติเขียนด้วยมือของตน ไม่วา่ จะเขียนด้วยมือซ้าย หรื อ มือขวา ตัวอย่าง ดา ปลอมลายมือชื่อ สมดี สั่งจ่ายเช็คให้ธนาคารจ่ายเงินแก่ สมศรี 20,000 บาท ต่อมา ธนาคารปฏิเสธการ จ่ายเงิน สมดีไม่ตอ้ งรับผิดต่อสมศรี เพราะลายมือชื่อ “สมดี” ผูส้ ั่งจ่าย เป็ นลายมือชื่อปลอมไม่ใช่ลายมือ ชื่อแท้จริ งของสมดี แต่ดาซึ่ งเป็ นผูป้ ลอมลายมือชื่อของสมดี ต้องรับผิด เพราะดาลงลายมือชื่อสั่งจ่ายเช็ค 10 แม้ชื่อของสมดีไม่ใช่ชื่อของตน แต่เป็ นลายมือชื่อของตน ดาต้องรับผิดตามมาตรา 900 ประกอบมาตรา 914 กรณีลายมือชื่ อผู้สั่งจ่ ายปลอม ไม่ทาให้ตวั๋ เงินเสี ยไป ถือว่ามี ลายมือชื่ อของผูส้ ั่งจ่ายในตั๋วแลกเงินหรื อเช็คหรื อมีลายมื อชื่ อผูอ้ อกตั๋ว สัญญาใช้เงินแล้ว ผูป้ ลอมลายมือชื่อเป็ นผูร้ ับผิด บุคคลอื่นที่ลงลายมือชื่อต่อมา เช่น ผูส้ ลักหลัง ผูร้ ับอาวัล ก็ตอ้ งรับผิดตามตัว๋ แต่ถา้ ลายมือชื่อของผูส้ ลักหลังปลอม ผูร้ ับโอนตัว๋ ต่อมาด้วยการสลักหลังปลอม ไม่มี สิ ทธิในตัว๋ นั้น ไม่เป็ นผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมาย การสลักหลังขาดสายตามมาตรา 905 ปพพ.มาตรา 9 เมื่อมีกิจการอันใดซึ่ งกฎหมายบังคับให้ทาเป็ นหนังสื อ บุคคลผูจ้ ะต้องทาหนังสื อไม่จาเป็ นต้อง เขียนเอง แต่หนังสื อนั้นต้องลงลายมือชื่อของบุคคลนั้น ลายพิมพ์นิ้วมือ แกงได ตราประทับ หรื อเครื่ องหมายอื่นทานองเช่นว่านั้นที่ทาลงในเอกสารแทน การลงลายมือชื่อ หากมีพยานลงลายมือชื่อรับรองไว้ดว้ ยสองคนแล้วให้ถือเสมอกับลงลายมือชื่อ....... การท านิ ติกรรมสัญ ญาอื่ น ๆ นั้น เป็ นไปตามมาตรา 9 วรรคสองได้ แต่จะน ามาใช้กับ การลง ลายมือชื่อในตัว๋ เงินไม่ได้ "แกงได" รอยกากบาทหรื อเส้นขีดเขียน “เครื่ องหมาย" รู ปวงกลม รู ปสี่ เหลี่ยม รู ปสัตว์ "ตราประทับ" ตราประทับที่แกะเป็ นรู ป เช่น รู ปดอกไม้ รู ปสัตว์ หรื อลายมือชื่อ เหตุผล ต้องการให้คนอ่านออกเขียนได้เข้ามาเป็ นคู่สัญญา และวิธีการอื่นๆตรวจสอบยาก ถ้าเป็ น ลายมือชื่อ ตรวจพิสูจน์ได้วา่ เป็ นลายมือชื่อของบุคคลใด ใช้ วิธีการอื่นแทนการลงลายมือชื่ อของตนในตั๋วเงินไม่ ได้ มีผลทาให้บุคคลผูน้ ้ นั ไม่ตอ้ งรับผิดตามเนื้อความในตัว๋ เงินนั้น หรื อบางกรณี อาจจะทาให้ตวั๋ เงิน ฉบับนั้นไม่มีผลเป็ นตัว๋ เงิน 1. ผูส้ ั่งจ่ายหรื อผูอ้ อกตัว๋ ไม่ลงลายมือชื่อแต่พิมพ์ลายนิ้วมือ เท่ากับไม่มีลายมือชื่อผูส้ ั่งจ่ายหรื อผู ้ ออกตัว๋ ตามมาตรา 909 (8) หรื อมาตรา 983 (7) หรื อมาตรา 988 (7) ผลคือ ผูท้ ี่ลงลายมือชื่อในตัว๋ ทุกคนไม่ ต้องรับผิด เพราะไม่ใช่ตวั๋ เงิน 2. ลายมื อ ชื่ อ ของผูส้ ั่ ง จ่ ายหรื อ ผูอ้ อกตั๋วถู ก ต้อ ง แต่ ผูส้ ลัก หลังโอนตั๋วลงลายมื อ ชื่ อโดยพิ ม พ์ ลายนิ้วมือ ตัว๋ เงินไม่เสี ยไป แต่การโอนตัว๋ ไม่มีผล 11 ลงลายมือชื่ อแทนเจ้ าของลายมือชื่ อที่แท้ จริงในตั๋วเงิน การลงลายมือชื่ อแทนเจ้าของลายมือชื่อที่แท้จริ ง ไม่มีกฎหมายรับรองให้กระทาการเช่นนั้นได้ หมายความว่า จะมอบหมายหรื อมอบอานาจให้คนอื่นเซ็นชื่อแทนตนคือ เซ็นลายมือชื่อของตนแทนไม่ได้ (คาพิพากษาศาลฎี กาที่ 1020/2517) แต่กรณี ของตัว๋ เงินเป็ นไปตามมาตรา 1008 ซึ่ งอนุญาตให้ลงลายมือ ชื่อแทนได้ มาตรา 1008......เป็ นลายมือชื่อลงไว้โดยที่บคุ คลซึ่งอ้างเอาเป็ นเจ้าของลายมือชื่อนั้นมิได้มอบอานาจให้ลง ก็ดี ท่านว่าลายมือชื่อ......ลงปราศจากอานาจเช่นนั้นเป็ นอันใช้ไม่ได้เลย..... ข้ อสังเกต เป็ นคนละกรณี กบั มาตรา 901 การลงลายมือชื่อในฐานะตัวแทน สรุปมาตรา 900 1. เป็ นบทเบื้องต้ นให้ ผ้ลู งลายมือชื่ อต้ องรับผิด ไม่ ได้อธิบายว่าฐานะอะไร 1.1 ผูส้ ั่งจ่ายตัว๋ แลกเงิน ม.900 วรรคหนึ่ง ม.914 ม.967 วรรคหนึ่งและวรรคสอง 1.2 ผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน ม.900 วรรคหนึ่ง ม.967 วรรคหนึ่งและวรรคสอง (+ม.985 วรรคหนึ่ง) ม. 986 วรรคหนึ่ง 1.3 ผูส้ งั่ จ่ายเช็ค ม.900 วรรคหนึ่ง ม.914 ม.967 (+ม.989 วรรคหนึ่ง) 1.4 ผูส้ ลักหลังตัว๋ แลกเงิน ม.900 วรรคหนึ่ง ม.914 ม.967 วรรคหนึ่งและวรรคสอง 1.5 ผูส้ ลักหลังตัว๋ สัญญาใช้เงิน ม.900 วรรคหนึ่ง ม.967 วรรคหนึ่งและวรรคสอง (+ม.985 วรรคหนึ่ง) 1.6 ผูส้ ลักหลังเช็ค ม.900 วรรคหนึ่ง ม.914 ม.967 วรรคหนึ่งและวรรคสอง (+ม.989 วรรคหนึ่ง) 1.7 ผูร้ ับอาวัลตัว๋ แลกเงินตามแบบ ม.900 วรรคหนึ่ง ม.939 ม.940 วรรคหนึ่ง ม.967 วรรคหนึ่งและ วรรคสอง 1.8 ผูร้ ับอาวัลตัว๋ สัญญาใช้เงินตามแบบ ม.900 วรรคหนึ่ง ม.939 ม.940 วรรคหนึ่ง ม.967 วรรคหนึ่ง และวรรคสอง (+ม.985 วรรคหนึ่ง) 1.9 ผูร้ ับอาวัลเช็คตามแบบ ม.900 วรรคหนึ่ง ม.939 ม.940 วรรคหนึ่ง ม.967 วรรคหนึ่งและวรรคสอง (+ม.989 วรรคหนึ่ง) 1.10 ผูส้ ลักหลังตัว๋ แลกเงินแบบผูถ้ ือ = อาวัลโดยผลกฎหมาย ม.900 วรรคหนึ่ง ม.918 ม.921 ม.940 วรรคหนึ่ง 1.11 ไม่มีการสลักหลังตัว๋ สัญญาใช้เงินแบบผูถ้ ือ เพราะม.983 (5) 12 1.12 ผูส้ ลักหลังเช็คแบบผูถ้ ือ = อาวัลโดยผลกฎหมาย ม.900 วรรคหนึ่ง ม.918 ม.921 ม.940 วรรคหนึ่ง (+ม.989 วรรคหนึ่ง) 1.13 ผูจ้ ่ายที่รับรองตัว๋ แลกเงิน = ผูร้ ับรอง ม.900 วรรคหนึ่ง ม.931 ม.937 ม.967 วรรคหนึ่งและวรรค สอง 1.14 ไม่มีการรับรองตัว๋ สัญญาใช้เงิน เพราะ ม.986 วรรคหนึ่ง 1.15 ธนาคาร (ผูจ้ ่าย) รับรองเช็ค = รับรองแล้ว ม.900 วรรคหนึ่ง ม.993 วรรคหนึ่ง ม.967 วรรคหนึ่ง และวรรคสอง (+ม.989 วรรคหนึ่ง) 2. แม้ จะลงลายมือชื่ อก็ยังอาจไม่ ต้องรับผิด เช่น ตัว๋ ไม่มีมูลหนี้ต่อกัน ตามมาตรา 914 หรื อ ขาดอายุความ มาตรา 1001 หรื อลายมือชื่อผูส้ ั่งจ่ายปลอมหรื อลายมือชื่อผูส้ ลักหลังปลอม ตามมาตรา 1008 13 มาตรา 901 ถ้ าบุคคลใดลงลายมือชื่ อของตนในตั๋วเงิน และมิได้ เขียนแถลงว่ ากระทาการ แทนบุคคลอีกคนหนึ่งไซร้ ท่ านว่าบุคคลนั้น ย่อมเป็ นผู้รับผิดตามความในตั๋วเงินนั้น เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรา 900 ไม่ให้ปฏิเสธความรับผิด โดยอ้างว่าลงลายมือชื่อของตนในฐานะตัวแทน ของบุคคลอื่น และจะไม่ขอรับผิดไม่ได้ ตัวอย่าง ก. ลงลายมือชื่อในตัว๋ เงินโดยมีขอ้ ความในวงเล็บว่าในฐานะตัวแทน ของ ข. หากพิสูจน์ได้วา่ เป็ น การลงลายมือชื่อในฐานะตัวแทนของ ข. ก. ก็ไม่ตอ้ งรับผิดเป็ นการส่ วนตัว แต่ถา้ พิสูจน์ไม่ได้ ก. ก็ตอ้ ง รับผิดเป็ นการส่วนตัว เพราะลงลายมือชื่อของตนไว้ในตัว๋ เงินนั้น การลงลายมือชื่ อแทนอาจใช้ คาว่ า “กระทาการแทน เป็ นตัวแทน ทาการแทน ในฐานะจัดการแทน” มาตรา 902 ถ้าตั๋ว เงิ น ลงลายมื อ ชื่ อ ของบุ ค คลหลายคน มี ท้ ัง บุ ค คลซึ่ งไม่ อ าจจะเป็ น คู่ สั ญ ญาแห่ ง ตั๋ว เงิ น นั้ นได้เลย หรื อเป็ นได้แ ต่ ไ ม่ เต็ ม ผลไซร้ ท่ า นว่ า การนี้ ย่อ มไม่ กระทบกระทัง่ ถึงความรับผิดของบุคคลอื่นๆ นอกนั้นซึ่งคงต้องรับผิดตามตัว๋ เงิน กรณี ตวั๋ เงินมีผูล้ งลายมือชื่อหลายคน ลายมือชื่อของบางคนใช้ไม่ได้เนื่องจาก บุคคลที่ลงลายมือ ชื่ อ นั้ นไม่ อ าจเป็ นคู่ สั ญ ญาแห่ ง ตั๋ ว เงิ น นั้ นได้ หรื อ เป็ นคู่ สั ญ ญาในตั๋ ว เงิ น ได้ แ ต่ ไ ม่ เต็ ม ผล ไม่ กระทบกระเทือนถึงลายมือชื่อของบุคคลอื่นๆ ที่ใช้ได้ บุคคลที่ไม่อาจเป็ นคู่สัญญาแห่ งตัว๋ เงิน คือ ไม่มี สิ ทธิ ที่จะลงลายมือชื่อทานิ ติกรรมให้มีผลผูกพัน เช่น ลงลายมือโดยไม่มีเจตนา บุคคลล้มละลาย บุคคล ซึ่งเป็ นคู่สัญญาแห่งตัว๋ เงินได้แต่ไม่เต็มผล บกพร่ องในเรื่ องความสามารถ ตัวอย่าง หนึ่ง สอง สาม ลงลายมือชื่อสั่งจ่ายเช็ค ต่อมาปรากฏว่า หนึ่ง และสอง เป็ น ผูเ้ ยาว์หรื อเป็ นคนไร้ ความสามารถซึ่งมีผลเท่ากับลายมือชื่อที่ลงไปนั้นไม่ผกู พันบุคคลทั้งสอง แต่ลายมือชื่อของ สาม ยังใช้ได้ อยู่ สาม ก็ยงั จะต้องรับผิดตามเนื้อความในเช็คนั้นแต่เพียงคนเดียวตามมาตรา 900 ตัวอย่าง บริ ษทั จาเลยที่ 1 ยื่นขอจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงตราประทับ แต่ยงั ดาเนินการไม่เสร็ จสิ้ น ปรากฏ ว่าจาเลยที่ 2 กรรมการผูจ้ ดั การลงลายมือชื่อสั่งจ่ายเช็คโดยใช้ตราประทับใหม่ การลงลายมือชื่อไม่ผูกพัน 14 บริ ษทั จาเลยที่ 1 เพราะตราประทับอันใหม่ยงั ใช้ไม่ได้ ถือว่าลายมือชื่อของบริ ษทั จาเลยที่ 1 นั้นใช้ได้ไม่ เต็มผลคือไม่มีผลบังคับ แต่ไม่กระทบกระทัง่ ถึงลายมือชื่อของจาเลยที่ 2 ที่ลงไว้ ฉะนั้นจาเลยที่ 2 จึงต้อง รับผิดตามเนื้อความในเช็คเป็ นการส่วนตัวตามมาตรา 900 ประกอบมาตรา 902 มาตรา 903 ในการใช้ เงินตามตั๋วเงินท่ านมิให้ ให้ วนั ผ่อน - ตัว๋ เงินจะมีกาหนดเวลาการใช้เงินหรื อจ่ายเงินโดยผูม้ ีหน้าที่จ่าย - ถ้าตัว๋ เงินรับเงินไม่ได้ ผูล้ งลายมือชื่อรับผิดตามมาตรา 900 จึงมีหน้าที่ตอ้ งเตรี ยมชาระหนี้ให้แก่ผทู ้ รง - ห้ามมิให้มีการเลื่อนหรื อผ่อนวันชาระเงินตามตัว๋ เงิน เพราะเป็ นภาระต้องกันเงินออกไป - การผ่อนหรื อวันผ่อน หมายถึงผูท้ รงยอมผ่อนผันวันชาระเงินให้แก่ผจู ้ ่าย กาหนดวันเวลาการใช้ เงินตามตั๋วแลกเงินและตั๋วสัญญาใช้ เงิน มาตรา 913/ ประกอบมาตรา 985 (กรณี ตวั๋ สัญญาใช้เงิน) มี 4 กรณี - กาหนดวันใดวันหนึ่งไว้ - กาหนดใช้เงินเมื่ อสิ้ นระยะเวลาอัน กาหนดไว้นับแต่วนั ที่ ลงในตั๋ว เช่ น ออกตั๋ววัน ที่ 1 เม.ย. และกาหนดใช้เงินเมื่อครบ 15 วัน นับแต่วนั ที่ลงในตัว๋ วันถึงกาหนดใช้เงินคือวันที่ 16 เม.ย. - กาหนดใช้เงินเมื่อทวงถาม ทวงถามได้ต้ งั แต่วนั ออกตัว๋ หรื อกาหนดใช้เงินเมื่อได้เห็น ต้องนา ตัว๋ ไปยื่นให้เห็นภายใน 6 เดือนหรื อช้าเร็ วกว่านั้นตามที่ผูส้ ั่งจ่ายกาหนด (ม.944 + ม.928) เห็นวันใดวัน นั้นคือวันถึงกาหนด - กาหนดใช้เงินเมื่อสิ้ นระยะเวลาอันกาหนดไว้นบั แต่ได้เห็น เช่น ถึง ระบุว่าถึงกาหนดใช้เงิน 10 วันนับแต่ได้เห็น ในกรณี น้ ีวนั ถึงกาหนดคือ 10 วันนับจากวันได้เห็น โดยวันเริ่ มกาหนดนับก็ให้เริ่ มจาก / วันรั บรองซึ่ งต้องยื่นให้รับรองภายใน 6 เดื อนหรื อช้าเร็ วกว่านั้นตามที่ผูส้ ั่งจ่ายกาหนด/ กรณี ที่ไม่ยอม รับรอง วันเริ่ มกาหนดนับก็ให้เริ่ มจากวันคัดค้าน (ม.928 และ ม.943 วรรคหนึ่ง) หากเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงินให้ใช้ม.986 วรรคสอง คือต้องจดให้รับรู้ ภายในระยะเวลาตามม.928 เช่นกันเพื่อนับระยะเวลา กาหนดวันเวลาการใช้ เงินตามเช็ค มาตรา 988 (6) วันออกเช็ค (ทวงถามได้ต้งั แต่วนั ออกเช็ค) ถ้าไม่ลงวันที่ออกเช็ค ผูท้ รงสุจริ ตลงเองได้ (ม. 15 910 วรรคท้าย + ม.989) ผลที่เกิดขึน้ หากมีการผ่อนเวลา มาตรา 948 ถ้าผูท้ รงตัว๋ แลกเงินยอมผ่อนเวลาให้แก่ผูจ้ ่ายไซร้ ท่านว่าผูท้ รงสิ้ นสิ ทธิ ที่จะไล่เบี้ยเอาแก่ผู ้ เป็ นคู่สัญญาคนก่อน ๆ ซึ่งมิได้ตกลงในการผ่อนเวลานั้น จะมีผลเฉพาะกรณีตั๋วแลกเงิน ส่ วนตั๋วสั ญญาใช้ เงิน มาตรา 985 ไม่ ได้ ให้ นามาใช้ เช่ นเดียวกันกับ เช็ ค มาตรา 989 ไม่ ได้ให้ นามาใช้ 16 มาตรา 904 อันผู้ทรงนั้น หมายความว่ า บุคคลผู้มีตั๋วเงินไว้ ในครอบครอง โดยฐานเป็ น ผู้รับเงิน หรื อเป็ นผู้รับสลักหลัง ถ้ าและเป็ นตั๋วเงินสั่ งจ่ ายให้ แก่ ผู้ถือ ๆ ก็นับว่ าเป็ นผู้ทรง เหมือนกัน ผูท้ รงคือเจ้าหนี้ในตัว๋ เงิน 1. ผูท้ รงได้แก่ (1.1) ผูม้ ีตวั๋ เงินไว้ในครอบครอง (1.2) ครอบครองในฐานะเป็ นผูร้ ับเงิน 2. ผูท้ รงได้แก่ (2.1) ผูม้ ีตวั๋ เงินไว้ในครอบครอง (2.2) ครอบครองในฐานะเป็ นผูร้ ับสลักหลัง 3. ผูท้ รงได้แก่ (3.1) ผูม้ ีตวั๋ เงินไว้ในครอบครอง (3.2) เป็ นตัว๋ เงินสั่งจ่ายให้แก่ผถู ้ ือ 1. ผู้ทรงได้แก่ (1.1) ผู้มีตั๋วเงินไว้ในครอบครอง (1.2) ครอบครองในฐานะเป็ นผู้รับเงิน - ตัว๋ แลกเงิน หรื อเช็คที่สั่งจ่ายระบุชื่อผูร้ ับเงินโดยเฉพาะเจาะจง (ม.909 (6) และ ม.988 (4))) หรื อ เป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงินซึ่งจะต้องระบุชื่อผูร้ ับเงินเสมอ (ม.983(5)) - ตั๋วระบุชื่อ 2. ผู้ทรงได้แก่ (2.1) ผู้มีตั๋วเงินไว้ในครอบครอง (2.2) ครอบครองในฐานะเป็ นผู้รับสลักหลัง - เป็ นผูท้ รงโดยรับโอนตัว๋ เงินฉบับนั้นมาด้วยการสลักหลัง - ตั๋วระบุชื่อ 3. ผู้ทรงได้แก่ (3.1) ผู้มีตั๋วเงินไว้ในครอบครอง (3.2) เป็ นตั๋วเงินสั่งจ่ ายให้ แก่ผ้ถู ือ - ตัว๋ สั่งจ่ายแก่ผถู ้ ือ คือ ไม่ระบุชื่อผูร้ ับเงินแต่ระบุวา่ จ่ายแก่ผถู ้ ือมีได้เฉพาะตัว๋ แลกเงินหรื อเช็ค (ม. 909 (6) และ ม.988 (4))) - ไม่มีในตัว๋ สัญญาใช้เงินเพราะต้องระบุชื่อผูร้ ับเงินเสมอ (ม.983(5)) ข้ อสังเกต 3 ประเด็น เกีย่ วกับผู้ทรงทั้ง 3 รูปแบบตาม ม. 904 ประเด็นที่ 1. ตัว๋ เงินอาจแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ตัว๋ ระบุชื่อ (มีได้ท้งั สามชนิด) และตัว๋ ผูถ้ ือ (มีได้เฉพาะตัว๋ แลกเงินและเช็ค) ต้องเข้าใจเรื่ องการสัง่ จ่ายตัว๋ แลกเงิน และเช็ค และสัง่ จ่าย (ออก) ตัว๋ สัญญาใช้เงิน ประเด็นที่ 2. ต้องเข้าใจเรื่ องการโอนตัว๋ ระบุชื่อ การโอนตัว๋ ผูถ้ ือ 17 ประเด็นที่ 3. ต้องเข้าใจเรื่ องการครอบครองตัว๋ ประเด็นที่ 1 การสั่งจ่ าย/ออก ตั๋วเงินมีได้ 2 วิธี 1.1 ระบุชื่อผูร้ ับเงิน = ตัว๋ ระบุชื่อ (ใช้กบั ตัว๋ ทั้ง 3 ชนิด) ภาพที่ 1 ข้ อสังเกตจากภาพที่ 1 1. สมดีเป็ นผูส้ ั่งจ่ายตัว๋ แลกเงิน สั่งสมลักษณ์ให้จ่ายเงินแก่สมศรี = สมศรี เป็ นผูร้ ับเงินตามตัว๋ 2. เมื่อสมดี สั่งจ่ายแล้ว ต้องมอบตั๋วให้ สมศรี จะมอบให้คนอื่นไม่ได้ เพราะเป็ นตัว๋ เงินที่ สั่งจ่ายให้แ ก่ สมศรี โดยเฉพาะเจาะจง 3. สมศรี มีตวั๋ เงินฉบับนี้ ไว้ในครอบครอง และสมศรี อยู่ในฐานะเป็ นผูร้ ับเงิน สมศรี จึงเป็ นผูท้ รงตัว๋ เงิน ตามหลักเกณฑ์มาตรา 904 ข้อ 1 4. ถ้าตั๋วฉบับ นี้ ต กอยู่ในมื อของหนึ่ ง หนึ่ ง ก็ไม่ ใช่ ผูท้ รงเพราะหนึ่ งไม่ ใช่ ผูร้ ั บ เงิน ตามที่ ร ะบุ ไว้ในตั๋ว เนื่ องจากเป็ นตัว๋ เงินที่สั่งจ่ายเงินให้สมศรี เว้นแต่สมศรี จะลงลายมือชื่อสลักหลังและส่ งมอบตัว๋ แลกเงิน ฉบับนี้ให้แก่หนึ่ง ดังนี้หนึ่งจึงจะเป็ นผูท้ รงในฐานะ ผูร้ ับสลักหลังตามข้อ 2 18 1.2 สัง่ จ่ายแก่ผถู ้ ือ = ตัว๋ ผูถ้ ือ (ไม่ใช้กบั ตัว๋ สัญญาใช้เงิน) ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 (ไม่ สมบูรณ์เป็ นเช็ค เพราะไม่ มีชื่อผู้รับเงินและไม่ ระบุว่าให้ ใช้ เงินแก่ผ้ถู ือ) 19 จ่าย........................................หรื อผูถ้ ือ เช็คสั่งจ่ายแก่ผถู ้ ือ จ่าย.....นาย ก........................หรื อผูถ้ ือ เช็คสั่งจ่ายแก่ผถู ้ ือ จ่าย.....เงินสด..........................หรื อผูถ้ ือ เช็คสั่งจ่ายแก่ผถู ้ ือ จ่าย....นาย ก..........................หรื อผูถ้ ือ เช็คสั่งจ่ายระบุชื่อ จ่าย.....เงินสด..........................หรื อผูถ้ ือ ไม่ถือว่าเป็ นเช็ค ฎีกาที่ 6305/2548 เช็คที่จาเลยที่ 1 สั่งจ่าย ขีดฆ่าคาว่า "หรื อผูถ้ ือ" ออก แล้วเขียนคาว่า "สด" ลงไปในช่องว่างหลังคาว่า "จ่าย" ทาให้เช็คพิพาทไม่มีชื่อหรื อยีห่ อ้ ของผูร้ ับเงิน หรื อคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผถู ้ ือ ตามที่ ป.พ.พ. มาตรา 988 (4) บัญญัติไว้ การขีดฆ่าดังกล่าวไม่ใช่กรณี ตามมาตรา 899 ซึ่ งเป็ นเรื่ องการเขียนข้อความที่มิได้มีบญ ั ญัติ ไว้ในป.พ.พ.ลักษณะตัว๋ เงิ น ข้อความที่ เขี ยนลงไปจึง ไม่มี ผ ลแก่ ตวั๋ เงินตามมาตรา 899 การที่ เช็ค ขาด รายการซึ่ งกฎหมายบังคับให้ตอ้ งมี ย่อมทาให้เช็คไม่สมบูรณ์ เป็ นเช็คตาม มาตรา 987 และมาตรา 910 วรรคหนึ่ ง ประกอบมาตรา 989 วรรคหนึ่ ง แม้ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงินจาเลยทั้งสองก็ไม่ตอ้ ง รับผิดตามเนื้อความในเช็คนั้น ประเด็นที่ 2 การโอนตั๋วเงิน ให้ แยกพิจารณาเป็ น 2 กรณี กรณี ที่ 1 โอนตัว๋ ผูถ้ ือ (ไม่มีตวั๋ สัญญาใช้เงิน) เพียงส่งมอบ (ม.918) ผูร้ ับมอบกลายเป็ นผูถ้ ือ+ครอบครอง = ผูท้ รงคนต่อมาตาม ม.904 ข้อ 3 มาตรา 918 ตัว๋ แลกเงินอันสั่งให้ใช้เงินแก่ผถู ้ ือนั้น ท่านว่าย่อมโอนไปเพียงด้วยส่งมอบให้กนั 20 กรณี ที่ 2 โอนตัว๋ ระบุชื่อ (ตัว๋ เงินทั้ง 3 ชนิดที่หน้าตัว๋ ระบุชื่อผูร้ ับเงิน) ต้องพิจาณาอีก 3 ประเด็นย่อย 2.1 ตัว๋ ระบุชื่อ เมื่อผูท้ รงคนแรก (ผูร้ ับเงิน) จะโอนตัว๋ ต้องสลักหลังและส่งมอบเสมอ (ม.917 วรรคหนึ่ง) มาตรา 917 อันตัว๋ แลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้วา่ จะมิใช่สั่งจ่ายให้แก่บุคคลเพื่อเขาสั่งก็ตาม ท่านว่าย่อมโอนให้กนั ได้ดว้ ย สลักหลังและส่งมอบ 2.2 การสลักหลังมี 2 แบบ สลักหลังเฉพาะเจาะจง และสลักหลังลอย (ม.919, 920) มาตรา 919 คาสลักหลังนั้นต้องเขียนลงในตัว๋ แลกเงินหรื อใบประจาต่อ และต้องลงลายมือชื่อผูส้ ลักหลัง การสลักหลังย่อมสมบูรณ์ แม้ท้ งั มิได้ระบุชื่ อผูร้ ับประโยชน์ไว้ด้วย หรื อแม้ผูส้ ลักหลังจะมิ ได้ กระทาอะไรยิง่ ไปกว่าลงลายมือชื่อของตนที่ดา้ นหลังตัว๋ แลกเงินหรื อที่ใบประจาต่อก็ยอ่ มฟังเป็ นสมบูรณ์ ดุจกัน การสลักหลังเช่นนี้ท่านเรี ยกว่า “สลักหลังลอย” ดังนั้น การสลักหลังจะเขียนด้ านหน้ าหรื อด้ านหลังตั๋วก็ได้ แต่ ถ้าสลักหลังลอยต้ องทาด้ านหลังตั๋ว เสมอ ตาม ม.919 วรรคสอง หากทาด้ านหน้ า จะกลายเป็ นรั บอาวัลตาม ม.939 วรรคสาม 2.2.1 การสลักหลังลอย = การสลักหลังโดยผูท้ รงขณะนั้นลงลายมือชื่อด้านหลัง ตัว๋ โดยไม่ระบุ ชื่อผูร้ ับประโยชน์ (ม.919 วรรคสอง) ภาพที่ 5 ข้ อสังเกตจากภาพที่ 5 1.สมดีสั่งจ่ายเช็คโดยระบุชื่อสมศรี (เป็ นผูร้ ับเงิน) หรื อตามคาสั่ง หมายความว่า สมศรี เป็ นผูร้ ับเงินหรื อให้ จ่ายตามคาสัง่ ของสมศรี 21 2. ถ้าสมศรี ตอ้ งการจะโอนเช็คฉบับนี้ให้แก่คนอื่นก็ได้ เช่น โอนให้แก่หนึ่ง 3.สมศรี ตอ้ งสลักหลังตัว๋ เงินฉบับนี้ แล้วส่งมอบตัว๋ เงินให้แก่หนึ่ง ตามภาพนี้ สมศรี เลือกที่จะสลักหลัง ลอย คือไม่ระบุชื่อ หนึ่งซึ่งเป็ นผูร้ ับประโยชน์ 4. หนึ่งกลายเป็ นผูท้ รงตัว๋ เงินตามความหมายข้อ 2 ของมาตรา 904 คือในฐานะผูร้ ับสลักหลัง แม้ไม่มีชื่อ ปรากฏในตัว๋ เลย 5. ถ้าหนึ่งต้องการโอนตัว๋ ต่อจะทาอย่างไร ให้ดูขอ้ 2.3 2.2.3 การสลักหลังเฉพาะเจาะจง = การสลักหลังโดยระบุชื่อผูร้ ับโอนว่าเป็ นใคร และลงลายมือชื่อ (ด้านหน้าหรื อด้านหลังก็ได้) ภาพที่ 6 ข้ อสังเกตจากภาพที่ 6 1. ด้านหน้าตัว๋ ไม่ต่างจากภาพที่ 5 แต่ในภาพนี้ สมศรี สลักหลังโดยระบุชื่อหนึ่งเป็ นผูร้ ับโอนโดยมี ข้อความ “โอนให้หนึ่ง” ปรากฏอยูด่ า้ นหลังแล้วสมศรี ลงลายมือชื่อของตนกากับไว้ 2. เรี ยกว่าการสลักหลังเฉพาะเจาะจง สลักหลังโอนตัว๋ ให้บุคคลที่ระบุชื่อไว้ขา้ งต้น ผูท้ ี่จะรับโอนตัว๋ ใบนี้ คือหนึ่ง สมศรี ตอ้ งมอบตัว๋ ใบนี้ให้แก่หนึ่ง 3. หนึ่งเป็ นผูท้ รงตัว๋ เงินตามความหมายข้อ 2 ของมาตรา 904 คือในฐานะผูร้ ับสลักหลัง ที่มีชื่อปรากฏ 4. ถ้าหนึ่งต้องการโอนตัว๋ ต่อจะทาอย่างไร ให้ดูขอ้ 2.3 ต่อไป 5. ในขั้นตอนที่ 2 หากสมศรี สลักหลังเฉพาะเจาะจงระบุชื่อ หนึ่ง แล้วเปลี่ยนใจไม่ตอ้ งการโอนให้แก่หนึ่ง 22 จึงไม่ส่งมอบตัว๋ ให้แก่หนึ่ ง แต่โอนให้ ก. แทน จึงมอบตัว๋ ให้ ก. ก. ที่เป็ นผูร้ ับมอบก็ไม่ใช่ผูท้ รงเพราะ ไม่ใช่ผรู ้ ับสลักหลัง ตามความหมายข้อ 2 ของมาตรา 904 2.3 ผูร้ ับสลักหลัง (ผูท้ รงคนต่อมา) จากผูท้ รงเดิ ม คือผูร้ ับเงิน จะโอนตัว๋ ต่อไปอย่างไร (ต้องสลักหลัง หรื อไม่ จะสลักหลังลอยหรื อเฉพาะเจาะจง หรื อแค่ส่งมอบไป) ขึ้นอยู่กบั ว่าการสลักหลังก่อนหน้าเป็ น เฉพาะเจาะจงหรื อสลักหลังลอย (ม.917 วรรคหนึ่ง ม.919 ม.920) 2.3.1 กรณี สลักหลังก่อนหน้าเป็ นสลักหลังลอย ภาพที่ 5 (2) ข้ อสังเกตจากภาพที่ 5 (2) 1. หนึ่ งเป็ นผูท้ รงตัว๋ เงิน ในฐานะผูร้ ับสลักหลังลอย โดยได้รับโอนมาจากสมศรี เมื่อการสลักหลังจาก สมศรี เป็ นการสลักหลังลอย จึงไม่ปรากฏชื่อหนึ่งในตัว๋ ว่าเป็ นผูร้ ับสลักหลัง 2. หนึ่งอยากโอนให้สอง หนึ่งจะทาอย่างไร ม.920 วรรคสอง ถ้าสลักหลังลอย ผูท้ รงจะปฏิบตั ิดงั กล่าวต่อไปนี้ประการหนึ่งประการใดก็ได้ คือ (1) กรอกความลงในที่วา่ งด้วยเขียนชื่อของตนเองหรื อชื่อบุคคลอื่นผูใ้ ดผูห้ นึ่ง (2) สลักหลังตัว๋ เงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลังลอย หรื อสลักหลังให้แก่บุคคลอื่นผูใ้ ดผูห้ นึ่ง 23 (3) โอนตัว๋ เงินนั้นให้ไปแก่บุคคลภายนอกโดยไม่กรอกความลงในที่ว่าง และไม่สลักหลังอย่าง หนึ่งอย่างใด 3. หนึ่งทาได้ 3 วิธี คือ (1) ใส่ ชื่อสองในที่ว่างเหนือลายมือชื่อสมศรี ดา้ นหลังตัว๋ แล้วมอบตัว๋ ให้สอง สองกลายเป็ นผูท้ รง ฐานะผูร้ ับสลักหลังเฉพาะ เสมือนหนึ่งสมศรี โอนตัว๋ ให้สองโดยตรง (2) สลักหลังลอย หรื อสลักหลังเฉพาะให้สอง แล้วส่ งมอบตัว๋ ให้สอง สองเป็ นผูท้ รงฐานะผูร้ ับ สลักหลังลอยหรื อผูร้ ับสลักหลังเฉพาะจากหนึ่ง (3) ส่งมอบให้สองเฉยๆ สองก็เป็ นผูท้ รงในฐานะผูร้ ับสลักหลังลอยมาจากสมศรี 2.3.2 กรณี สลักหลังก่อนหน้าเป็ นสลักหลังเฉพาะ ภาพที่ 6 (2) ข้ อสังเกตจากภาพที่ 6 (2) 1. หนึ่งเป็ นผูท้ รงตัว๋ เงิน ในฐานะผูร้ ับสลักหลังเฉพาะ โดยได้รับโอนมาจากสมศรี จึงปรากฏชื่อหนึ่งในตัว๋ 2. หนึ่งอยากโอนให้สอง หนึ่งจะทาอย่างไร หนึ่งต้องสลักหลังลอย หรื อสลักหลังเฉพาะ (ในภาพที่ 6 (2) เป็ นการสลักหลังเฉพาะ) ตาม ม.917 และม. 919 เท่านั้น จะใช้ ม.920 วรรคสอง (1) ใส่ชื่อสองในที่วา่ ง หรื อ (3) ส่งมอบให้สองเฉยๆ ไม่ได้ 24 ประเด็นที่ 3 ต้ องมีการครอบครอง การครอบครองต้ องยึดถือด้ วยเจตนาเพื่อตน คือ มีผลประโยชน์ นาตั๋ว นั้นไปเรียกเก็บเงินในนามของตน - ผูจ้ ดั การบริ ษทั รับเช็คจากลูกค้า (แม้จะเป็ นเช็คสั่งจ่ายแก่ผถู ้ ือ) ในนามของบริ ษทั ผูจ้ ดั การก็ไม่ใช่ผทู ้ รง ตัว๋ เงินนั้นเพราะเป็ นเพียงผูย้ ดึ ถือเช็คแทนบริ ษทั ไม่ใช่ผคู ้ รอบครองเช็คเพื่อตนเอง (คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3160/2527) - ส. เป็ นบุตร จ. ช่วย จ. ค้าขายอยู่ในร้าน จาเลยออกเช็คผูถ้ ือชาระหนี้ ให้แก่ร้าน ขณะที่จาเลยนาเช็คมา ชาระหนี้ น้ ัน จ. และ ส. อยู่พร้อมหน้ากัน จาเลยมอบเช็ค ให้ ส. แต่ก่อนที่ ส. จะรับเช็ค ไว้ ส. ได้ให้ จ. ตรวจดูเช็คนั้นแล้ว ต่อมาเมื่อเช็คถึงกาหนดจ่ายเงิน ส. ได้ใช้ให้คนนาเช็คไปเบิกเงินและธนาคารปฏิเสธ การจ่ายเงิน ดังนี้ถือได้ว่า จ. เจ้าของร้านผูเ้ ป็ นเจ้าหนี้ เป็ นผูท้ รงเช็ค ส. เป็ นเพียงผูเ้ ก็บรักษาเช็คไว้แทน จ. เท่านั้น (คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2621/2518) - จาเลยออกเช็คผูถ้ ือขีดคร่ อมให้โจทก์ระบุธนาคารในกรุ งเทพฯ ที่จะรับเช็คเข้าบัญชี โจทก์อยูน่ ครสวรรค์ ไม่มี บัญ ชี ในกรุ งเทพฯ จึงฝากเช็ค ให้เพื่อนในกรุ งเทพฯ นาเข้าบัญ ชี ข องเพื่อน ถ้าเรี ย กเก็บเงินไม่ได้ เพื่อนจะคืนเช็คให้โจทก์ เพื่อนไม่ใช่ผทู ้ รง โจทก์เป็ นผูท้ รง (คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 110/2520) ข้ อสังเกต มาตรา 904 เป็ นบทบัญญัติทั่วไปที่ วางกฎเกณฑ์ว่าบุค คลใดเป็ นผูท้ รงตั๋วเงิน โดยไม่มีการโต้แย้งว่าไม่ใช่ผูท้ รงที่ แท้จริ งหากมีผูโ้ ต้แย้ง เช่น ได้ตวั๋ มาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรื อไม่มีการสลักหลัง หรื อการสลักหลัง นั้นขาดสาย หรื อลายมือชื่อผูส้ ลักหลังปลอม ต้องอาศัยมาตรา 905 มาในการวินิจฉัยชี้ขาดว่าบุคคลใดเป็ น ผูท้ รงที่แท้จริ ง 25 มาตรา 905 การพิสูจน์ ว่าเป็ นผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติมาตรา 1008 บุคคลผูไ้ ด้ตวั๋ เงินไว้ในครอบครอง ถ้าแสดงให้ปรากฏ สิ ทธิดว้ ยการสลักหลังไม่ขาดสาย แม้ถึงว่าการสลักหลังรายที่สุดจะเป็ นสลักหลังลอยก็ตาม ท่านให้ถือว่า เป็ นผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมาย เมื่อใดรายการสลักหลังลอยมีสลักหลังรายอื่นตามหลังไปอีก ท่านให้ถือ ว่าบุคคลผูท้ ี่ลงลายมือชื่อในการสลักหลังรายที่สุดนั้น เป็ นผูไ้ ด้ไปซึ่งตัว๋ เงินด้วยการสลักหลังลอย อนึ่ง คา สลักหลังเมื่อขีดฆ่าเสี ยแล้ว ท่านให้ถือเสมือนว่ามิได้มีเลย ถ้าบุคคลผูห้ นึ่งผูใ้ ดต้องปราศจากตัว๋ เงินไปจากครอบครอง ท่านว่าผูท้ รงซึ่งแสดงให้ปรากฏสิ ทธิ ของตนในตัว๋ ตามวิธีการดังกล่าวมาในวรรคก่อนนั้น หาจาต้องสละตัว๋ เงินไม่ เว้นแต่จะได้มาโดยทุจริ ต หรื อได้มาด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง อนึ่ง ข้อความในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บงั คับตลอดถึงผูท้ รงตัว๋ เงินสัง่ จ่ายให้แก่ผถู ้ ือด้วย ข้ อสังเกตเบื้องต้ น 1. สาหรับใช้วินิจฉัยว่าใครเป็ นผูท้ รงตัว๋ เงินโดยชอบด้วยกฎหมาย หรื อใครมีสิทธิ ในตัว๋ เงินดีกว่ากัน ม. 904 สาหรับวินิจฉัยว่าใครเป็ นผูท้ รงกว้างๆ เพื่อให้ลูกหนี้หรื อผูม้ ีหน้าที่จ่ายเงินต้องจ่ายให้แก่ผทู ้ รงตัว๋ 2. เช่น ผูท้ รงคนก่อนทาตัว๋ เงินหาย ต่อมาตัว๋ เงินตกมายังมือของผูท้ รงคนสุ ดท้าย ผูท้ รงคนสุ ดท้ายต้อง พิสูจน์ว่าได้ตวั๋ นั้นมาโดยมีการสลักหลังไม่ขาดสาย หรื อการสลักหลังรายสุ ดท้ายเป็ นการสลักหลังลอย หรื อเป็ นตัว๋ เงินสั่งจ่ายแก่ผถู ้ ือ แม้จะพิสูจน์ได้เช่นนั้น แต่ผทู ้ รงคนก่อนก็ยงั ต่อสู้ได้ว่า ผูท้ รงคนสุ ดท้ายได้ ตัว๋ มาโดยทุจริ ตหรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ตามมาตรา 905 วรรคสอง ซึ่ งผูท้ รงคนก่อนต้องยกขึ้น ต่อสู้ผทู ้ รงคนปัจจุบนั 3. ค าว่า “ภายในบังคับแห่ งบทบัญ ญัติม าตรา 1008” คื อ หากกรณี ลายมื อชื่ อในตั๋วเงิน ปลอม หรื อลง ลายมือชื่อโดยบุคคลซึ่งอ้างเอาเป็ นเจ้าของลายมือชื่อมิได้มอบอานาจให้ลง ต้องไปบังคับตามม. 1008 4. แต่ม.1008 ก็อยู่ภายใต้บงั คับ ม.949 ม.1006 และม.1009 ซึ่ งเป็ นเรื่ องการใช้เงินว่าผูท้ ี่ใช้เงินไปจะหลุด พ้นจากความรับผิดหรื อไม่ 5. ดังนั้น ม.905 ต้องศึกษา ม.1008 ม.949 ม.1006 และม.1009 ไปพร้อมกัน ประเด็นศึกษา 4 เรื่ อง 1. กรณีลายมือชื่ อในตั๋วเงินปลอม (ม.1008) (เชื่ อมโยง ม.1006 ม.949 ม.1009) 26 2. การโอนตั๋วเงิน -โดยการส่ งมอบ/โดยสลักหลังและส่ งมอบ/การสลักหลังลอย 3. การได้ตั๋วเงินมาโดยทุจริต หรื อการได้ตั๋วเงินมาโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง 4. การได้ตั๋วเงินสั่งจ่ ายแก่ผ้ถู ือโดยทุจริต หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง ประเด็นที่ 1 ลายมือชื่ อในตั๋วเงินปลอม (ม.1008) มาตรา 1008 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติท้ งั หลายในประมวลกฎหมายนี้ เมื่อใดลายมือชื่อในตัว๋ เงินเป็ น ลายมือปลอมก็ดี เป็ นลายมือชื่อลงไว้โดยที่บุคคลซึ่ งอ้างเอาเป็ นเจ้าของลายมือชื่อนั้นมิได้มอบอานาจให้ ลงก็ดี ท่านว่าลายมือชื่ อปลอมหรื อลงปราศจากอานาจเช่ นนั้นเป็ นอันใช้ ไม่ ได้ เลย ใครจะอ้ างอิงอาศั ย แสวงสิ ทธิอย่ างหนึ่งอย่ างใดเพื่อยึดหน่วงตัว๋ เงินไว้ก็ดี เพื่อทาให้ตวั๋ นั้นหลุดพ้นก็ดี หรื อเพื่อบังคับการใช้ เงินเอาแก่คู่สัญญาแห่งตัว๋ นั้นคนใดคนหนึ่งก็ดี ท่านว่าไม่อาจจะทาได้เป็ นอันขาด เว้ นแต่ คู่สัญญาฝ่ ายซึ่ ง จะพึงถูกยึดหน่วงหรื อถูกบังคับใช้เงินนั้นจะอยูใ่ นฐานเป็ นผูต้ อ้ งตัดบทมิให้ยกข้อลายมือชื่อปลอม หรื อ ข้อลงลายมือชื่อปราศจากอานาจนั้นขึ้นเป็ นข้อต่อสู้ แต่ขอ้ ความใด ๆ อันกล่าวมาในมาตรานี้ ท่านมิให้กระทบกระทัง่ ถึงการให้สัตยาบันแก่ลายมือ ชื่อซึ่งลงไว้โดยปราศจากอานาจแต่หากไม่ถึงแก่เป็ นลายมือปลอม ลายมื อชื่ อปลอม ผูล้ งลายมือชื่อของตนนั้นมีเจตนาที่จะลงลายมือชื่อให้เหมือนหรื อคล้ายกับลายมือชื่ อ ของผูอ้ ื่น เพื่อให้เข้าใจว่าลายมือชื่อนั้นเป็ นลายมือชื่อของผูอ้ ื่น ถ้ าลงลายมื อชื่ อโดยใช้ ชื่อสมมติห รื อนามแฝงโดยไม่เจตนาให้เข้าใจว่าเป็ นลายมื อชื่ อของผูอ้ ื่ น ไม่ใช่ ลายมือชื่อปลอม คนที่ถูกปลอมลายมือชื่ อไม่ ต้องรับผิดแต่ผปู ้ ลอมยังต้องรับผิดตามเนื้อความในตัว๋ เงินนั้นด้วย ประเด็นที่ 1.1 ม.1006 ม. 1006 การที่ลายมื อชื่ ออันหนึ่งในตั๋วเงินเป็ นลายมื อชื่ อปลอม ย่ อมไม่ กระทบกระทั่งถึงความสมบูรณ์ แห่ งลายมือชื่ ออื่นๆในตั๋วเงินนั้น แม้ลายมื อชื่ อใดในตัว๋ เงิน จะปลอมซึ่ งทาให้ลายมื อนั้นใช้ไม่ได้ ก็ไม่ทาให้ความสมบู รณ์ ข อง 27 ลายมือชื่ออื่นที่ลงไว้โดยแท้จริ งต้องเสี ยไปด้วย ความรับผิดของลูกหนี้ ผลู ้ งลายมือชื่อในตัว๋ เงินแต่ละคน นั้นแยกออกจากกัน - จาเลยเป็ นผูร้ ับอาวัลผูส้ ั่งจ่ายเช็คผูถ้ ือ แม้ลายมือชื่ อของผูส้ ั่งจ่ายปลอม จาเลยซึ่ งลงลายมือชื่อในฐานะ ผูร้ ับอาวัลผูส้ ั่งจ่ายก็ยงั ต้องรับผิดต่อผูท้ รงอยูด่ ี (คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 918/2522) - สมดีสั่งจ่ายเช็คระบุชื่อสมศรี เป็ นผูร้ ับเงิน สมศรี รับเช็คมาแล้วถูกดาขโมยไป ดาปลอมลายมือชื่อสมศรี สลักหลังให้หนึ่ ง หนึ่งสลักหลังให้ สอง ต่ อมาธนาคารปฏิเสธการจ่ ายเงินตามเช็ ค ลายมือชื่อของสมศรี ที่ ปลอมนั้นไม่กระทบกระทัง่ ถึงลายมือชื่อที่สมบูรณ์อื่นๆคือ ลายมือชื่อสมดีผสู ้ ั่งจ่าย ลายมือชื่อหนึ่งผูส้ ลัก หลังให้สอง สองฟ้องไล่เบี้ยจากหนึ่งผูส้ ลักหลังได้ แต่ฟ้องไล่เบี้ยสมศรี ไม่ได้เพราะลายมือชื่อสมศรี ปลอม แต่ฟ้องดาผูส้ ลักหลังซึ่งปลอมลายมือชื่อสมศรี ได้เพราะลายมือชื่อที่ปลอมนั้นเป็ นลายมือชื่อแท้จริ งของดา สาหรับธนาคารหากมีการจ่ายเงินไป จะสามารถหักบัญชีผส็ ั่งจ่ายได้หรื อไม่ ต้องวินิจฉัยตาม ม.1009 กรณีลายมือชื่ อผู้สั่งจ่ ายปลอม ไม่ ทาให้ ตั๋วเงินนั้นเสียไป เพราะตัวผู้ปลอมเป็ นผู้สั่งจ่ าย ผูท้ ี่ปลอมต้องรับผิดในฐานะผูส้ ั่งจ่าย ตัวอย่าง ดาปลอมลายมือชื่อสมดีสั่งจ่ายเช็คระบุชื่อสมศรี เป็ นผูร้ ับเงิน สมศรี สลักหลังโอนให้หนึ่ ง หนึ่งสลักหลัง โอนให้สอง สองนาเช็ค ไปเบิ กเงิน แต่ธนาคารปฏิ เสธการจ่ายเงินโดยอ้างว่าลายมื อชื่ อผูส้ ั่งจ่ายปลอม ลายมือชื่อของสมดีเป็ นลายมือชื่อปลอม ใช้บงั คับกับสมดีไม่ได้ (ม.1008) แต่ไม่กระทบกระทัง่ ถึงความ สมบูรณ์ของลายมือชื่ออื่นๆ (ม.1006) ในตัว๋ เงิน รวมทั้งดาผูล้