EEE 190 & 290 Electrical Practice PDF
Document Details

Uploaded by ConciseWave704
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ณรัฐ ราชกรม
Tags
Related
Summary
This document provides lecture notes on Electrical Engineering, specifically the roles and responsibilities of electrical engineers, for EEE 190 & EEE 290 courses at the มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. Topics covered include system analysis, design, installation, maintenance, and problem-solving in the domain of electrical engineering.
Full Transcript
เอกสารประกอบการบรรยาย EEE 190 & EEE 290 Electrical Practice บทบาทและหน้าที่วิศวกรไฟฟ้า (Roles and responsibilities of electrical engineers) โดย นาย ณรัฐ ราชกรม วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้า) นายช่างเทคนิค ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิศวกรไฟฟ้า คือ ? ...
เอกสารประกอบการบรรยาย EEE 190 & EEE 290 Electrical Practice บทบาทและหน้าที่วิศวกรไฟฟ้า (Roles and responsibilities of electrical engineers) โดย นาย ณรัฐ ราชกรม วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้า) นายช่างเทคนิค ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิศวกรไฟฟ้า คือ ? วิศวกรไฟฟ้า คือ ? ผู้ที่ศึกษาทฤษฎีทางด้านไฟฟ้าและนาความรู้มาประยุกต์ใช้กับงานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า เป็น ผู้เชี่ยวชาญที่ออกแบบ พัฒนา ทดสอบ ควบคุมและติดตั้งระบบไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย งานของวิศวกรไฟฟ้าครอบคลุมตั้งแต่ระบบพลังงานไฟฟ้าในอุตสาหกรรมไปจนถึงอุปกรณ์ ไฟฟ้ า ภายในบ้ า นและระบบที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เทคโนโลยี ขั้ น สู ง เช่ น การสื่ อ สารและระบบ อัตโนมัติ บทบาทหลักของวิศวกรไฟฟ้า การวิเคราะห์และควบคุมระบบพลังงาน การออกแบบระบบไฟฟ้า คานวณ วิเคราะห์ และควบคุมการใช้พลังงาน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า ในระบบไฟฟ้า เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้ไฟฟ้า ออกแบบวงจรและระบบไฟฟ้าที่ใช้ใน ใช้พลังงานและลดความสูญเสีย อุตสาหกรรมและการดาเนินงานต่าง ๆ บทบาทหลักของวิศวกรไฟฟ้า การติดตั้งและดูแลระบบไฟฟ้า การแก้ปัญหาและพัฒนานวัตกรรม ตรวจสอบและติดตั้งระบบไฟฟ้าให้ตรงตามมาตรฐาน การแก้ปัญหาเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าที่ซับซ้อน และการพัฒนา ความปลอดภัย และทาการบารุงรักษาอย่างสม่าเสมอ นวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดผลกระทบต่อ เพื่อป้องกันปัญหาการขัดข้องและเสริมสร้างความ สิ่งแวดล้อม ปลอดภัยในการใช้งาน สภาวิศวกร หน่วยงานที่ทาหน้าที่ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม รวมทั้งพิจารณาพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตรในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม รับรอง ความรู้ความชานาญในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม รวมทั้งเสนอแนะ รัฐมนตรีเกี่ยวกับการกาหนดและการเลิกสาขาวิศวกรรมควบคุม และออกข้อบังคับ สภาวิศวกรโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะสภานายกพิเศษ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรควบคุม (กว.) ตามข้อกาหนดของสภาวิศวกร ❖ ภาคีวิศวกร ❖ ภาคีวิศวกรพิเศษ ❖ สามัญวิศวกร ❖ วุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมควบคุมที่ต้องมีใบ กว. ตามข้อกาหนดของสภาวิศวกร ❖ วิศวกรรมโยธา ❖ วิศวกรรมไฟฟ้า หมวดไฟฟ้ากาลัง หมวดไฟฟ้าสื่อสาร ❖ วิศวกรรมเครื่องกล ❖ วิศวกรรมอุตสาหการ ❖ วิศวกรรมเหมืองแร่ ❖ วิศวกรรมเคมี ❖ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม หน้าที่ของวิศวกรไฟฟ้าและความรับผิดชอบ 1. การวางแผนและออกแบบระบบไฟฟ้า ออกแบบระบบวงจรไฟฟ้า การเดินสายไฟ และระบบพลังงานต่าง ๆ เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการในการ ใช้งาน 2. การวิเคราะห์และตรวจสอบระบบ วิเคราะห์การทางานของระบบไฟฟ้า ตรวจสอบคุณภาพของพลังงานที่ใช้งาน และประเมินความปลอดภัยของ ระบบ เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุไฟฟ้า 3. การทดสอบและควบคุมคุณภาพ ทดสอบระบบและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า เครื่องกาเนิดไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าการทางานสอดคล้องกับมาตรฐานและปลอดภัย 4. การติดตั้งและบารุงรักษา ติดตั้งระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ รวมถึงการบารุงรักษาอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ระบบทางานได้อย่างต่อเนื่องและ ป้องกันปัญหาการเสียหายหรือขัดข้อง หน้าที่ของวิศวกรไฟฟ้าและความรับผิดชอบ 5. การแก้ไขปัญหาและซ่อมบารุง ต้องวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว เพื่อให้ระบบกลับมาทางานได้ปกติ และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น 6. การให้คาแนะนาและปรึกษาด้านเทคนิค ให้คาแนะนาด้านเทคนิคเกี่ยวกับการใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ การลดการใช้พลังงาน และการ ปรับปรุงระบบให้มีความทันสมัย 7. การจัดทาเอกสารและรายงาน จัดทาเอกสารต่าง ๆ เช่น แบบแปลนทางไฟฟ้า รายงานการทดสอบ และคู่มือการใช้งาน เพื่อให้ผู้ใช้งานหรือ ผู้ดูแลระบบสามารถเข้าใจและปฏิบัติตามได้ ลักษณะงานของวิศวกรควบคุมตามข้อกาหนดสภาวิศวกร หมวดไฟฟ้ากาลัง ❖ งานให้คาปรึกษา ❖ งานวางโครงการ ❖ งานออกแบบและคานวณ ❖ งานควบคุมการสร้างและผลิต ❖ งานพิจารณาตรวจสอบ ❖ งานอานวยการใช้ หลักเกณฑ์และคุณสมบัติของวิศวกรควบคุมตามข้อกาหนดสภาวิศวกร ลักษณะงาน ประเภทงาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร 1. งานให้คาปรึกษา ตามหลักเกณฑ์สภาวิศวกร ไม่อนุญาต ไม่อนุญาต ทุกประเถททุกขนาด ≥ 1,000 kVA/ L-L ≥ 3.3 kV 2. งานวางโครงการ 1. ระบบการผลิตไฟฟ้า ไม่อนุญาต ทุกประเถททุกขนาด ≤ 50 MVA/ L-L ≤ 36 kV ≥ 1,000 kVA/ L-L ≥ 3.3 kV 2. ระบบส่ง ระบบจาหน่ายและระบบการใช้ไฟฟ้า ไม่อนุญาต ทุกประเถททุกขนาด ≤ 50 MVA/ L-L ≤ 36 kV 3. ระบบและเครื่องจักรกลไฟฟ้า ไม่อนุญาต ≥ 100 kW ≤ 50 MW (Total) ทุกประเถททุกขนาด ≥ 1 MW or ≥ 20 MJ/year 4. การจัดการพลังงาน ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด ≤ 2 MW or ≥ 40 MJ/year ≥ 300 kVA/ L-L ≥ 3.3 kV ≥ 300 kVA/ L-L ≥ 3.3 kV 3. งานออกแบบและคานวณ 1. ระบบหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ทุกประเถททุกขนาด ≤ 1 MVA/ L-L ≤ 24 kV ≤ 50 MVA/ L-L ≤ 36 kV ≥ 200 kVA 2. ระบบไฟฟ้าสาหรับอาคารสาธารณะและอาคารควบคุมฯ ≥ 200 kVA ≤ 1 MVA ทุกประเถททุกขนาด ≤ 10 MVA/ L-L ≤ 36 kV 3. ระบบเครื่องจักรกลไฟฟ้า ≥ 7.5 kW ≤ 1 MW (Total) ≥ 7.5 kW ≤ 10 MW (Total) ทุกประเถททุกขนาด ≥ 1 MW or ≥ 20 MJ/year 4. การจัดการพลังงาน ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด ≤ 2 MW or ≥ 40 MJ/year 5. ระบบไฟฟ้าสาหรับอาคารควบคุมฯ ใช้เก็บวัตถุอันตรายเฉพาะวัตถุ ไม่อนุญาต ≤ 10 MVA/ L-L ≤ 36 kV ทุกประเถททุกขนาด ระเบิดได้และวัตถุไวไฟ หลักเกณฑ์และคุณสมบัติของวิศวกรควบคุมตามข้อกาหนดสภาวิศวกร ลักษณะงาน ประเภทงาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร 4. งานควบคุมการสร้างและการ ≥ 1,000 kVA/ L-L ≥ 12 kV ≥ 1,000 kVA/ L-L ≥ 12 kV 1. ระบบหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ทุกประเถททุกขนาด ผลิต ≤ 10 MVA/ L-L ≤ 36 kV ≤ 100 MVA/ L-L ≤ 115 kV 2. ระบบไฟฟ้าสาหรับอาคารสาธารณะและอาคารควบคุมฯ ≥ 200 kVA ≤ 10 MVA ≥ 200 kVA ≤ 20 MVA ทุกประเถททุกขนาด 3. ระบบเครื่องจักรกลไฟฟ้า ≥ 20 kW ≤ 2 MW (Total) ≥ 20 kW ≤ 20 MW (Total) ทุกประเถททุกขนาด 4. ระบบไฟฟ้าสาหรับอาคารควบคุมฯ ใช้เก็บวัตถุอันตรายเฉพาะวัตถุ ไม่อนุญาต ≤ 20 MVA ทุกประเถททุกขนาด ระเบิดได้และวัตถุไวไฟ 5.ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัยและระบบป้องกันฟ้าผ่า ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด ≥ 1,000 kVA/ L-L ≥ 12 kV 5. งานพิจารณาตรวจสอบ 1. ระบบหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด (ยกเว้นการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้า) ≥ 200 kVA 2. ระบบไฟฟ้าสาหรับอาคารสาธารณะและอาคารควบคุมฯ ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด (ยกเว้นการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้า) ≥ 1 MW or ≥ 20 MJ/year 3. การจัดการพลังงาน ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด (ยกเว้นการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้า) 4. ระบบไฟฟ้าสาหรับอาคารควบคุมฯ ใช้เก็บวัตถุอันตรายเฉพาะวัตถุ ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด ระเบิดได้และวัตถุไวไฟ 5.ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัยและระบบป้องกันฟ้าผ่า ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด หลักเกณฑ์และคุณสมบัติของวิศวกรควบคุมตามข้อกาหนดสภาวิศวกร ลักษณะงาน ประเภทงาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร ≥ 1,000 kVA/ L-L ≥ 12 kV ≥ 1,000 kVA/ L-L ≥ 12 kV 6. งานอานวยการใช้ 1. ระบบหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ทุกประเถททุกขนาด ≤ 10 MVA/ L-L ≤ 36 kV ≤ 100 MVA/ L-L ≤ 115 kV ≥ 500 kW (Total) ที่ 250 kW/Unit ≥ 500 kW (Total) ที่ 250 kW/Unit 2. ระบบและเครื่องจักรกลไฟฟ้า ทุกประเถททุกขนาด ≤ 10 MW (Total) ที่ 4 MW/Unit ≤ 10 MW (Total) ที่ 4 MW/Unit 3. ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัยและระบบป้องกันฟ้าผ่า ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด ทุกประเถททุกขนาด หน้าที่ของวิศวกรไฟฟ้าและความรับผิดชอบ บทบาท มุ่งเน้นไปที่ภาพรวมของความรับผิดชอบในฐานะวิศวกรไฟฟ้า และมีการอธิบายถึงลักษณะการ ทางานในเชิงกลยุทธ์ หน้าที่ เน้นการปฏิบัติงานในเชิงปฏิบัติการตามบทบาทที่ได้รับ มุ่งเน้นไปที่งานประจาวันและการแก้ไข ปัญหาเฉพาะด้าน ลักษณะงาน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของวิศวกรควบคุมตามข้อกาหนดสภาวิศวกร ซึ่งแบ่งเป็นระดับ ภาคีวิศวกร ภาคีวิศวกรพิเศษ สามัญวิศวกร และ วุฒิวิศวกร Thank you