Microbial Biotechnology PDF
Document Details
Uploaded by Deleted User
Tags
Summary
This document discusses microbial biotechnology, focusing on fermentation processes. It covers various applications of microorganisms in industries and provides details on fermentation techniques. It also includes information about different types of fermentation systems and examples of fermented foods.
Full Transcript
11/4/2024 เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย ์ Microbial Biotechnology Biotechnology การบูรณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติและวิศวกรรมศาสตร์ เพือให้เกิด การประยุกต์ใช้สิ งมีชีวิต เซลล์หรื อส่วนใดส่วนหนึงของสิ งมีชีวติ และชีวโมเลกุล สําหร...
11/4/2024 เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย ์ Microbial Biotechnology Biotechnology การบูรณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติและวิศวกรรมศาสตร์ เพือให้เกิด การประยุกต์ใช้สิ งมีชีวิต เซลล์หรื อส่วนใดส่วนหนึงของสิ งมีชีวติ และชีวโมเลกุล สําหรับผลิตภัณฑ์และการบริ การ การใช้ความรูท้ างด้านวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ เช่น ชีววิทยา ชีวเคมี จุลชีววิทยา พันธุศาสตร์ เคมี รวมทังวิศวกรรมศาสตร์ เพือทีจะพัฒนาเป็ นเทคโนโลยีทใช้ ี ในระดับ อุตสาหกรรม โดยอาศัยกลไกความสามารถของตัวเร่งทางชีวภาพ ซึงอยู่ในรูปของเอนไซม์, เซลล์,จุลนิ ทรียท์ ีมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต หรือส่วนใดส่วนหนึงของสิงมีชีวิต “เทคโนโลยีชีวภาพเป็ นสหวิทยาการทีนําความรูพ้ ืนฐานสิงมีชีวิตไปใช้ให้เกิดประโยชน์” 1 11/4/2024 การใช้ ประโยชน์ จุลนิ ทรีย์ การแพทย์ อุตสาหกรรมอาหารและ การเกษตร เครื องดืม จุลินทรีย ์ ด้านอุตสาหกรรมเคมี อาหารสัตว์ ชีวภาพ อื น ๆ ด้านสิ งแวดล้อม การใช้ประโยชน์จากจุลินทรี ย์ Fermentation ใช้ จุลินทรี ยเ์ พือเปลียนแปลงสารตังต้นหรื อตัวทีถูกเปลียน (substrate) หรื อซับสเตรตให้ได้เป็ นผลิตภัณฑ์ทีต้องการ ตัวเซลล์จุลินทรี ย ์ , เอนไซม์ , สารเมแทบอไลต์ต่าง ๆจาก จุลินทรี ย ์ ทางจุลชีววิทยาอุตสาหกรรมหมายถึง กระบวนการผลิต ผลผลิต ใดๆก็ตามทีได้จากการเพาะเลียงเซลล์จุลินทรี ยจ์ าํ นวนมาก Fermentation (mass culture) ซึงครอบคลุมทังการใช้และไม่ใช้ technology : เทคโนโลยี ออกซิเจน การหมัก 4 2 11/4/2024 การหมัก (Fermentation) ในอุตสาหกรรม การหมัก (Fermentation) ในอุตสาหกรรม 3 11/4/2024 การหมัก (Fermentation) ในอุตสาหกรรม 4 11/4/2024 การหมัก (Fermentation) เทคโนโลยีการหมัก (Fermentation technology) เป็ นศาสตร์หนึงในเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย์ : การหมัก (fermentation) ทําเครื องดืม/อาหารโดยอาศัยกระบวนการหมักที เกิดขึนโดยวิธีการตามธรรมชาติ ชาวสุเมเรี ยนผลิตเบียร์ /เครื องดืมแอลกอฮอล์ ชาวอียิปต์ผลิตขนมปัง การผลิตนําส้มสายชู เอทานอล เนยแข็ง โยเกิร์ต 5 11/4/2024 การทําขนมปังในอิยปิ ต์ Naan bread Oven for making Naan bread Tandoor oven 6 11/4/2024 Fermenter 7 11/4/2024 กระบวนการหมักในอุตสาหกรรม ประกอบด้วยขันตอน อาหารเลียงเชื อสําหรับการเจริญและการสร้ างผลิตภัณฑ์ 1. การเตรี ยม เชือจุลินทรี ยท์ ีอยูใ่ นสภาพทีว่องไว (active) และมีปริ มาณเหมาะสม 2. การฆ่าเชืออาหาร 3. การหมัก 4. การเก็บเกียวผลิตภัณฑ์ - ตัวเซลล์ (cell mass) การแยก/การสกัดผลิตภัณฑ์ - ผลิตภัณฑ์ภายในเซลล์ (intracellular products) การทําผลิตภัณฑ์ให้บริ สุทธิ - ผลิตภัณฑ์ทีขับออกมาภายนอกเซลล์ ( extracellular products) 5. การกําจัดของเสี ยทีเกิดขึน กระบวนการในอุตสาหกรรมการหมัก USP การเตรี ยมกล้าเชือจุลินทรี ย ์ กระบวนการชีวภาพขันต้น Upstream processing (USP) การเตรี ยมอาหารทีใช้ในการ หมัก การฆ่าเชือ กระบวนการหมัก (Fermentation process) กระบวนหลังการหมักสิ นสุ ดลง กระบวนการชีวภาพขันปลาย การแยกผลผลิตและการทําให้ บริสุทธิ Downstream processing (DSP) ค่าใช้จ่าย 15-70 % ของค่าใช้จ่ายทังหมด ดังนันในการแยกผลผลิตจากกระบวนการหมัก จึง มีขอ้ พิจารณาต่าง ๆ 8 11/4/2024 ปริมาณนําในอาหารเลียงเชื อ กระบวนการหมักก กระบวนการหมั solid state fermentation Batch fermentation submerged fermentation Continuous fermentation Fed- batch fermentation ระบบการหมัก การควบคุมการ การใช้ อากาศ ปนเปื อนของเชื อ Septic fermentation Aerobic fermentation Semi-septic fermentation Anaerobic fermentation Aseptic fermentation ระบบการหมักต่าง ๆ Batch Fermentation Continuous fermentation Fed-Batch fermentation 9 11/4/2024 การเพาะเลียงแบบชุ ด หรื อแบบกะ (batch fermentation) เป็ นการเพาะเลียงจุลินทรี ยใ์ นอาหารเพาะเชือ/เลียงเชือทีกําหนดปริ มาตรอย่างแน่นอน ในช่วงระยะเวลา ทีเหมาะสม และเป็ นการเพาะเลียงในระบบปิ ด ดังนันจุลินทรี ยเ์ ติบโต ภายใต้สภาวะทีกําหนด มีการเปลียนแปลงของสภาวะแวดล้อมทีเกิดจากการสะสมของเสียที เกิดขึนจากกระบวนการสร้างและการสลาย และระบบจะไม่คงทีมีการเปลียนแปลง ตลอดเวลา Downstream processing การเพาะเลียงแบบต่อเนื อง (continuous fermentation) ระบบการเพาะเลียงทีเติมอาหารเข้าสู่ถงั หมักอย่างต่อเนืองด้วยอัตราการเติมอาหาร เหลวใหม่ทีเหมาะสม ปริ มาณของเซลล์ทีเกิดขึนใหม่ สมดุลกับปริ มาณของเซลล์ที ไหลออกจากถังหมัก 10 11/4/2024 การเพาะเลียงแบบครังคราว (fed-batch fermentation) เป็ นการเพาะเลียงโดยมีการเติมซับสเตรตหรื อสารตังต้น (precursor) บางอย่าง ลงไปในถังหมัก อย่างต่อเนืองหรื อเป็ นระยะโดยไม่มีการนํานําหมักออกมา แก้ปัญหาเกียวกับข้อจํากัดในเรื องความเข้มข้นของสารอาหารเริ มต้น ถ้ามากเกินไปอาจส่ งผลในการเจริ ญ ของจุลินทรี ย ์ ทําให้การให้ออกซิ เจนเพือให้มีปริ มาณเพียงพอทําได้ยาก ปริ มาตรของนําหมักมีการเปลียนแปลง (เพิ มขึน) ตลอดเวลาจนสิ นสุ ดการหมัก การควบคุมการปนเปื อนของเชื อ กระบวนการหมัก Septic fermentation Semi-septic Aseptic fermentation fermentation หมักในสภาพเปิ ด หมักในสภาพปิ ด วัตถุดิบไม่จาํ เป็ นต้องฆ่าเชือ หมักในสภาพปิ ด วัตถุดิบปราศจากเชือ ปรับสภาพต่าง ๆให้เหมาะกับ ป้องกันการปนเปื อน ป้องกันการปนเปื อน จุลินทรี ยท์ ีใช้ ไม่เหมาะกับ จากเชือภายนอก เชือจากภายนอก จุลินทรี ยท์ ีไม่ตอ้ งการ วัตถุดิบไม่จาํ เป็ นต้อง ฆ่าเชือ ปรับสภาพให้เหมาะ กับจุลินทรี ยท์ ต้ี องการ การหมักเอทานอล ใช้วิธีการปรับพีเอช ให้เป็ น กรด เหมาะสมกับการเจริ ญของยีสต์ การเติมเกลือในการหมักซี อิ ว 11 11/4/2024 ระบบการหมัก : แบ่ งตามการใช้ อากาศ ไม่ ใช้ อากาศ ใช้ อากาศ Aerobic fermentation Anaerobic Fermentation ทําให้ระบบไร้อากาศ มีการเติมอากาศในถังหมัก โดยใช้ N2, CO2, H2 หรื อแก๊สผสม ได้ Biomass มาก Biomass น้อย ตัวอย่าง citric acid ตัวอย่าง Ethanol , Baker's yeast acetone , butanol, lactic acid, methane Acetic acid ระบบการหมักในถังหมัก แบบให้อากาศ Lab scale : shake flasks 12 11/4/2024 ระบบของการหมัก ปริ มาณนําทีมีในอาหารเลียงเชือ ระบบการหมักในสภาพอาหารเหลว ระบบการหมักในสภาพอาหารแห้ ง (submerged fermentation system) หรื ออาหารแข็ง (solid state fermentation system) ระบบการหมักในสภาพอาหารเหลว การเพาะเลียงจุลินทรี ยใ์ นอาหารทีมีลกั ษณะเหลว 13 11/4/2024 ระบบการหมักในสภาพอาหารแห้ ง/แข็ง (solid state fermentation systems) SSF systems ระบบการหมักทีอาศัยจุลินทรี ยเ์ จริ ญในอาหารทีมีความชืน มีนาํ เล็กน้อย ความชืนทีเหมาะสมของวัตถุดิบขึนอยูก่ บั ชนิดของจุลินทรี ย ์ (40-80%) วัตถุดิบ - ธัญพืช ถัว วัสดุเศษเหลือทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์จากพืช - มีขนาดทีพอเหมาะ จากการบด ร่ อนผ่านตะแกรง เพือให้เกิดช่องว่างระหว่างอนุภาค มี การไหลเวียน ถ่ายเทอากาศดี ตัวอย่ างวัตถุดิบ/ซับสเตรต สํ าหรับการหมักในสภาพอาหารแห้ ง กากมะพร้าว เปลือกข้าวโพด ขีเลือย ซังข้าวโพด ธัญพืช กากปาล์ม 14 11/4/2024 ตัวอย่ างอุปกรณ์ ทีใช้ ในการหมักแบบอาหารแห้ งหรื ออาหารแข็ง ตัวอย่างการใช้ ประโยชน์ จากจุลนิ ทรีย์ 15 11/4/2024 31 16 11/4/2024 อาหารหมัก (Fermented Food) ปลาส้ม Pediococcus sp., L. plantarum. และ L. brevis นาเระซูชิ (Narezushi) Leuconostoc mesenteroides Lb. plantarum ปลาหมักเกลือและข้าวในถัง ระยะเวลาเป็ นปี มีกลิ นและรสชาติฉุนรุ นแรง https://www.rosalynth.com/home/2021/10/13/%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B8%8A%E0%B8%B4/ 17 11/4/2024 เต้าหู ้เหม็น เต้าหู เ้ หม็น(Stinky Tofu) การทํามีหลายวิธี โดยทัวไป fermented brine ใช้ นมหมัก ผัก และเนือสัตว์ อาจมีส่วนผสม เช่น กุง้ แห้ง ผัก โขม ผักกาดเขียว หน่อไม้ และสมุนไพรจีนด้วย นําเกลือ ถูกปล่อยทิ งไว้ให้หมักเป็ นเวลาหลายเดือน ทําให้เกิด ส่ วนผสมทีมีกลิ นรสชาติเฉพาะ 35 Fermented products Appearance/ Product Country Major ingredients Microorganisms usage Rice-wine/beer Lactic acid bacteria Takju Korea rice, wheat Saccharomyces Turbid liquid cerevisiae Sacchromyces, Mucor, Rhizopus, Sour, sweet liquid, Tapuy Philippine rice, glutinous rice Aspergilus paste Leuconostoc Lb. plantarum Mucor indicus, Brem bali Indonesia glutinous rice Dark brown liquid Candida 36 18 11/4/2024 Fermented products 37 Balao-balao เป็ นเครื องปรุ งรสจากฟิ ลิปปิ นส์ทีทําจากข้าวสุกและกุง้ ดิบทังตัวหมักกับเกลือและอังคัก 38 19 11/4/2024 จุลินทรี ยท์ ีใช้ในการหมักอาหาร ใช้เชือทีมาจากธรรมชาติ เชือในรู ปของกล้าเชือ (starter) เชือ แข็งแรง ขยายพันธุ์ต่อได้รวดเร็ ว ไม่เป็ นจุลนิ ทรี ยก์ ่อโรค ไม่สร้างสารพิษ Lactic Acid Bacteria (LAB) ตัวอย่างเช่น เป็ นแบคทีเรีย ย้อมติดสีแกรม Lactobacillus, บวก Leuconostoc, ไม่สร้างสปอร์ Pediococcus, Lactococcus ไม่สร้างเอนไซม์ Streptococcus คะตาเลส (catalase) รูปท่อน รูปกลม 20 11/4/2024 Catalase Test 41 The pathway of homolactic acid fermentation in Lactic Acid Bacteria LAB : Lactobacillus spp Lactococcus spp Enterococcus spp Streptococcus spp. Pediococcuss spp. 21 11/4/2024 The pathway of heterolactic acid fermentation in Lactic Acid Bacteria End products (CO2, lactate and ethanol) LAB : Leuconostoc, Oenococcus, Weissella, and certain lactobacilli. ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เรื อง การใช้จุลินทรี ยโ์ พรไบโอติกในอาหาร 2554 “จุลินทรี ยโ์ พรไบโอติก (Probiotic)” หมายความว่าจุลินทรี ยท์ ีมี ชีวิต ซึ งเมือร่ างกายได้รับในปริ มาณทีเพียงพอจะทําให้เกิดผลทีเป็ น ประโยชน์ต่อสุ ขภาพ” อาหารทีมีการใช้จุลินทรี ยโ์ พรไบโอติก ต้องได้รับอนุญาตจากสํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา และต้องใช้จุลินทรี ยต์ ามทีกาํ หนดไว้ในบัญชี แนบท้าย ประกาศฉบับนี และมีปริ มาณจุลินทรี ยโ์ พรไบโอติกทียังมีชีวิตอยู่ คงเหลืออยูไ่ ม่นอ้ ย กว่า 10 6 CFU ต่ออาหาร 1 กรัม ตลอดอายุการเก็บรักษาอาหารนัน การใช้จุลินทรี ย ์ probiotic ชนิด อืน ผูผ้ ลิตหรื อนําเข้าต้องแสดงหลักฐานการ ประเมินความปลอดภัย และคุณสมบัติการเป็ นจุลินทรี ย ์ probiotic ตามหลักการ มาตรฐานสากล CFU (colony forming unit) Lactobacillus plantarum 299 V 44 22 11/4/2024 Postbiotics สารเมแทบอไลต์ทีถูกสร้างขึนหลังจากกระบวนการย่อยสลาย สารอาหารหรือกระบวนการหมักของแบคทีเรียชนิดดี หรือเป็ นกลุม่ ของส่วนประกอบของจุลนิ ทรียท์ ีตายแล้ว. 45 Kombucha SCOBY (Symbiotic Culture of Bacteria and Yeast) 23 11/4/2024 จากการศึกษา ชาหมัก การค้า พบ probiotic Bacillus coagulans Lactobacillus nagelii, Gluconacetobacter, Gluconobacter, และ Komagataeibacter species ยีสต์ Brettanomyces species และ Cyberlindnera jadinii Kombucha biochemistry in a diagram https://www.frontiersin.or g/files/Articles/557885/fbi oe-08-557885- HTML/image_m/fbioe-08- 557885-g001.jpg https://www.reddit.com/r/Kombucha/comments/gsogpr/kombucha_biochemistry_in_a_diagram/ 24 11/4/2024 นําส้ มสายชูหมัก หมักจากนําตาลหรื อผลไม้ทีมีนาํ ตาลหรื อใช้ธญั พืช เช่นข้าว ข้าวโพด การหมักนําส้ มสายชู (vinegar production) Two Stage Fermentation Process 1. Alcoholic Fermentation (การหมักให้เป็ นแอลกอฮอล์) เป็ นกระบวนการหมักแบบไม่ใช้อากาศ และอาศัยเชือยีสต์ในสกุล Saccharomyces cerevisiae C6H12O6 2CO2 + 2C2H5OH กลูโคส แอลกอฮอล์ 25 11/4/2024 Saccharomyces cerevisiae (เจริ ญได้เร็ ว ทนแอลกอฮอล์ได้สูง) ชีวเคมีของกระบวนการหมักโดยยีสต์ Pyruvate decarxylase Alcohol dehydrogenase ยีสต์ C6H12O6 2 C2H5OH + 2CO2 2. Acetic Acid Fermentation (การหมักให้เป็ นกรดอะซิ ติก) เปลียนแอลกอฮอล์ให้เป็ นกรดอะซิ ติก โดยอาศัยเชือแบคทีเรี ยในกลุ่ม Acetic Acid Bacteria ได้แก่ Acetobacter aceti หมักในสภาพมีอากาศ CH3 CH2OH CH3CHO CH3COOH Ethanol Acetaldehyde Acetate 26 11/4/2024 Monascus spp. การผลิตข้าวแดง อังคัก (angkak, anka, beni koji, red yeast rice) อบแห้ง -Monacolin K Citrinin 100 µg/kg in food supplements based on rice fermented with the fungus Monascus purpureus has been set by the European Commission Application Monascus Pigment 53 27 11/4/2024 เมแทบอไลต์ อืนๆ ทีได้ จากการผลิตอังคัก หรื อการเพาะเลียงเชื อราโมแนสคัส Monacolin K ยับยัง การทํางานของ HMG CoA reductase (3-hydroxy-3-methyl-glutaryl- Monacolin K Citrinin coenzyme A reductase) สารโมนาโคลิน เค หรื อ mevinolin สารในกลุม่ โมนาโคลิน เค (monacolin K) หรือ mevinolin มีคณ ุ สมบัติเหมือนกับยา ในกลุม่ สแตติน (statin) ทีใช้ในการรักษากลุม่ อาการความดันโลหิตสูงและระดับคลอ เลสเตอรอลในเลือดสูง มีผลยับยังเอนไซม์ทีเกียวข้องกับการสร้างคลอเลสเตอรอลภายในร่างกาย คือ HMG CoA reductase (3-hydroxy-3-methyl-glutaryl-coenzyme A reductase) https://www.thailandtechshow.com/view_techno.php?id=649 28 11/4/2024 เทมเป้ (Tempeh) อาหารหมักพืนเมืองของอินโดนีเซีย ทํามาจาก ถัวเหลืองหมักกับเชือรา Rhizopus oligosporus Solid state fermentation 57 Baker's yeast Saccharomyces cerevisiae ชนิดของยีสต์ ในการทําขนมอบ 1. ยีสต์ สด 2. ยีสต์ แห้ งชนิดเม็ด 3. ยีสต์ แห้ งชนิดผงหรื อยีสต์ สําเร็จรูป 29 11/4/2024 Baker's yeast Production กากนําตาลทีเจือจาง สารอาหาร (N P K Mg Vitamin อาหารทีมีกากนําตาล (Molasses medium (pH 4.5) Air , Yeast inoculum การใช้อากาศ / คงสภาพทีความเข้มข้นของ เพาะเลียง 14- 16 hrs นําตาลตํา เป็ นสภาวะทีเพียงพอ ทําให้ไม่เกิด กระบวนการหมัก (fermentation) เก็บเกียวเซลล์ยสี ต์โดย การใช้เครื องเซนติฟิวซ์ Yeast cream (centrifugation) Baker's yeast Production Yeast cream ( 20 % solids) อัดรี ดขึนรู ป Filtration Yeast cake ยีสต์เม็ด บีบอัดเป็ นก้อน ทําให้แห้ง Yeast cake ( 25 % solids) ความชืน 8 % บรรจุ เก็บ 4 ๐C Protective agent ผสม (Mixing) Active dry yeast ยีสต์สด (fresh cake yeast / compressed yeast อัดรี ดขึนรู ป 60 30 11/4/2024 การผลิตเซลล์ยสี ต์เพือใช้ในอุตสาหกรรมขนมปั ง (baker’s yeast) ขันตอนใดจัดเป็ น Downstream processing ? เอนไซม์ จากจุลินทรีย์ (Microbial enzyme) intracellular / extracellular enzymes 62 31 11/4/2024 ข้อมูล : ศูนย์พน ั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แห่งชาติ (ไบโอเทค) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) “เอนอีซ” เป็ นเอนไซม์ทีผลิตได้จากการหมักเศษวัสดุเหลือทิ งทางการเกษตรโดยใช้จุลินทรี ยท์ คัี ดเลือกจากศูนย์ชีว วัสดุประเทศไทย (Thailand Bioresource Research Center: TBRC) ซึ งจุลินทรี ยน์ ี สามารถสร้างเอนไซม์ได้ทงอะไมเลส ั และเพคติเนส ในเวลาเดียวกันเรี ยกได้ว่าเป็ น “เอนไซม์อจั ฉริ ยะ” ทีสามารถ ทํางานได้ดีในช่วงค่าพีเอช (pH) และอุณหภูมิทีใกล้เคียงกัน คือ pH 5.5 และทีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซี ย ลอกแป้งและกําจัดสิ งสกปรกบนผ้าฝ้ายได้พร้อมกันในขันตอนเดียวภายในเวลา 1 ชัวโมงเท่านัน 63 Cellulase Cellulase-producing Microorganisms Aspergillus niger Trichoderma koningii Streptomyces sp. Bacillus sp. เอนไซม์เซลลูเลส นํามาใช้ ในอุตสาหกรรมการผลิตกระดาษ, เส้นใย, ซัก ล้าง, อาหารสัตว์รวมไปถึงการผลิตไบโอเอทานอล 64 32 11/4/2024 การใช้ เซลลูเลส ในอุตสาหกรรมสิ งทอ Biostoning of denim 65 α- Amylase - ผลิตจาก Aspergillus และ Bacillus ตัวอย่างการใช้ประโยชน์เอนไซม์อะไมเลส 1. กระบวนการผลิตทีเกียวข้องกับการใช้ประโยชน์จากแป้ง เช่นการผลิตกลูโคส ไซรัป 2. เป็ นส่ วนผสมในผงซักฟอก 33 11/4/2024 β- Galactosidase (lactase) จุลินทรี ย์ทีผลิต Bacillus, Kluyveromyces, Candida การใช้ประโยชน์ lactase 1. whey syrup production - ย่อย lactose เป็ น glucose และ galactose 2. milk and dairy product processing - lactose reduction/ removal 3. ice-cream manufacture ป้องกันการเกิดเนือสัมผัส “sandy” ที เกิดจาก lactose crystal เอนไซม์ไคโมซิน (Chymosin) ชือ whey สามัญ คือ เรนนิน (Rennin) ทําให้ โปรตีนนมตกตะกอน 67 Glucose isomerase จาก Actinoplanes, Arthrobacter, และ Streptomyces การใช้ประโยชน์ - การผลิต high-fructose syrups - เปลียน Glucose เป็ น fructose 68 34 11/4/2024 69 In 2019, the first study was published, from the USA, where dairy cows were fed Asparagopsis aramata for 3 weeks. Results from this study showed that the algae reduced methane production per kilo of feed by up to 42%. 70 35 11/4/2024 ด้านพลังงาน Ethanol Fermentation sugar Starch lignocellulose Yeast Starch Cellulose conversion pretreatment Fermentation (Hydrolysis) Cellulose Distillation conversion Hydrolysis Ethanol 71 36 11/4/2024 Anaerobic digestion https://www.biocycle.net/managing-digester-feedstocks/ การใช้ เชื อรากําจัดศัตรูพืช แมลงทีติดเชือราบิวเวอเรี ย เชื อราบิวเวอเรีย (Beauveria bassiana) เป็ นเชือราทีทําให้เกิดโรคกับแมลงได้หลายชนิด เส้นใยงอกออกจากสปอร์ แทงผ่าน ผนังลําตัวของแมลงเข้าสู่ เนือเยือของ แมลง และแพร่ ขยายเข้าสู่ ช่องว่าง ภายในลําตัว เส้นใยจะเพิ มจํานวน ภายใน เมือแมลงตาย เส้นใยราจะทะลุออก ด้านนอกปกคลุมผนังลําตัวด้านนอก เชือราทําลายแมลง ของแมลง การเพาะเลียงเชือราเพือใช้ประโยชน์ http://www.pmc08.doae.go.th/beauveria.htm 74 37 11/4/2024 การใช้จุลินทรี ยใ์ นการเกษตร แบคทีเรี ยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของพืช Plant growth-promoting microorganisms in sustainable agriculture Plant growth-promoting rhizobacteria (PGPR) การใช้จุลินทรี ยใ์ นการเกษตร จุลนิ ทรีย์ปฏิปักษ์ ต่อเชื อราก่อโรคพืช การทดสอบความเป็ นปฏิปักษ์ (Antagonistic activity) Antagonistic activity test against fungal pathogen Dual culture method for determining the antagonistic potential of bacterial strains against fungal pathogen. 38 11/4/2024 การใช้ เชื อรากําจัดศัตรูพืช การเพาะเลียงเชือราเพือใช้ประโยชน์ เชื อราบิวเวอเรีย (Beauveria bassiana) เป็ นเชือราทีทําให้เกิดโรคกับแมลงได้หลายชนิด เชือราแพร่ ขยายเข้าสู่ ช่องว่างภายใน ลําตัว จะเพิ มจํานวนเส้นใยภายใน ลําตัวแมลง เมือแมลงตาย เส้นใยราจะทะลุออก ด้านนอกปกคลุมผนังลําตัวด้านนอก ของแมลง เชือราทําลายแมลง แมลงทีติดเชือราบิวเวอเรี ย http://www.pmc08.doae.go.th/beauveria.htm 77 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทางการค้า แบคทีเรียละลายฟอสเฟต Biofertilizer อาหารเลียงเชือทีฟอสเฟตเป็ นองค์ประกอบ Ca3(PO4)2, FePO4, และ AlPO4 เป็ นแหล่ง P source กลไกการละลายฟอสเฟต : การสร้างกรดเช่น P. fluorescens ผลิต Citric, malic, tartaric, gluconic Aspergillus flavus, A. niger, penicillium canescens ผลิตกรด Oxalic, Citric, gluconic, succinic 39 11/4/2024 40