การลำเลียงสารในร่างกายคน (Circulatory system) PDF
Document Details
![BrandNewWeasel](https://quizgecko.com/images/avatars/avatar-6.webp)
Uploaded by BrandNewWeasel
Tags
Summary
เอกสารนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับระบบหมุนเวียนเลือดในร่างกายมนุษย์, รวมถึงโครงสร้างหัวใจ, ลักษณะของหลอดเลือด และวงจรการไหลเวียนเลือด
Full Transcript
การลาเลียงสารในร่ างกายคน (Circulatory system) โครงสร้ างและระบบหมุนเวียนเลือดในคน หัวใจ อวัยวะที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) ที่ภายในกลวง (hollow muscular organ) ทาหน้าที่ในการส่ งเลือด 2 ระบบในเวลาเดียวกัน 1. ซีสเทมิกเซอร์ ควิ เลชัน (systemic circulation ทาหน้าที่ส่งเล...
การลาเลียงสารในร่ างกายคน (Circulatory system) โครงสร้ างและระบบหมุนเวียนเลือดในคน หัวใจ อวัยวะที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) ที่ภายในกลวง (hollow muscular organ) ทาหน้าที่ในการส่ งเลือด 2 ระบบในเวลาเดียวกัน 1. ซีสเทมิกเซอร์ ควิ เลชัน (systemic circulation ทาหน้าที่ส่งเลือดที่ฟอกแล้วที่มีออกซิ เจนสู ง ไปเลี้ยงส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย 2. พัลโมนารีเซอร์ ควิ เลชัน (pulmonary circulation) ทาหน้าที่ส่งเลือดที่ออกซิ เจนต่าไป ฟอกที่ปอด หัวใจอยูใ่ นถุงตัน เรี ยกว่า เพอริคาร์ เดียม (pericardium หรื อ pericardial sac) ซึ่ งเป็ น เนื้อเยือ่ เกี่ยวพันชนิดไฟบรัส (fibrous connective tissue) ภายในมีของเหลวเล็กน้อยแทรกอยูท่ าหน้าที่ หล่อลื่นป้องกันการเสี ยดสี ขนาดของหัวใจใหญ่เท่ากับกาปั้ นของผูเ้ ป็ น เจ้าของ Martini (2006) กล้ามเนื้อหัวใจประกอบด้วยเนื้อเยือ่ 3 ชั้น คือ 1) ชั้นนอก (epicardium) - ชั้นที่หุม้ หัวใจไว้มีเนื้อเยือ่ ไขมันเป็ นจานวนมาก - ที่ผนังด้านนอกของหัวใจมีหลอดเลือดที่มาเลี้ยง Martini (2006) กล้ามเนื้อหัวใจ 2 ชนิด คือ 1. โคโรนารี อาร์เทอรี (coronary artery) นาเลือดมา เลี้ยงหัวใจ หากเส้นนี้เกิดการอุดตันแล้วเลือดจะไปเลี้ยง กล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ ทาให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย อาจทาให้ หัวใจวายถึงตายได้ 2. cardiac veins นาเลือดกลับเข้าสู่ หวั ใจ เพือ่ กาจัดของ เสี ยต่างๆ กล้ามเนื้อหัวใจประกอบด้วยเนื้อเยือ่ 3 ชั้น คือ 1) ชั้นนอก (epicardium) - ชั้นที่หุม้ หัวใจไว้มีเนื้อเยือ่ ไขมันเป็ นจานวนมาก - ที่ผนังด้านนอกของหัวใจมีหลอดเลือดที่มาเลี้ยง Martini (2006) กล้ามเนื้อหัวใจ 2 ชนิด คือ 1. โคโรนารี อาร์เทอรี (coronary artery) นาเลือดมา เลี้ยงหัวใจ หากเส้นนี้เกิดการอุดตันแล้วเลือดจะไปเลี้ยง กล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ ทาให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย อาจทาให้ หัวใจวายถึงตายได้ 2. cardiac veins นาเลือดกลับเข้าสู่ หวั ใจ เพือ่ กาจัดของ เสี ยต่างๆ 2) ชั้นกลาง (myocardium) - ชั้นที่หนามากที่สุด - กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) - การทางานอยูน่ อกอานาจจิตใจ และมีลาย 3) ชั้นใน (endocardium) - เนื้อเยือ่ บุผิว - กล้ามเนื้อเรี ยบและเนื้อเยือ่ เกี่ยวพัน Martini (2006) ห้ องหัวใจมี 4 ห้ อง คือ 2 atrium และ 2 ventricle 1. ห้ องบนซ้ ายหรื อเอเทรียมซ้ าย (left atrium or left auricle) ทาหน้าที่รับเลือดแดง ซึ่งฟอกจากปอด แล้วทางหลอดเลือดพัลโมนารี เวน (pulmonary vein) 2. ห้ องบนขวาหรื อเอเทรียมขวา (right atrium or right auricle) รับเลือดดาที่ใช้แล้วจากซูพเี รี ยเวนาคาวา ซึ่งนาเลือดจากส่ วนบนของร่ างกาย คือ หัว แขน และ อินฟี เรี ยเวนาคาวา ซึ่งนาเลือดมาจากส่ วนล่างของ ร่ างกาย คือ ขาและลาตัว ห้ องหัวใจมี 4 ห้ อง คือ 2 atrium และ 2 ventricle 3. ห้ องล่ างซ้ ายเวนทริเคิลซ้ าย (left ventricle) ทาหน้าที่ส่งเลือดเข้าสู่ หลอดเลือดแดงใหญ่ (เอออร์ตา (aorta)) เพื่อไปเลี้ยงทัว่ ร่ างกาย ซึ่ ง รับมาจากเอเทรี ยมซ้าย 4. ห้ องล่ างขวาหรื อเวนทริเคิลขวา (right ventricle) ทาหน้าที่ส่งเลือดดาที่ใช้แล้วไป ฟอกที่ปอดโดยผ่านไปทางเส้นเลือดพัลโมนารี อาร์เทอรี (pulmonary artery) ซึ่ งรับมาจาก เอเทรี ยมขวา Right and Left Ventricles 3. ห้ องล่างซ้ ายเวนทริเคิลซ้ าย (left ventricle) - หัวใจห้องนี้มีผนังหนาที่สุด เนื่องจากต้อง ใช้แรงในการบีบตัวมากกว่าหัวใจห้องอื่นๆ 4. ห้ องล่ างขวาหรื อเวนทริเคิลขวา (right ventricle) - หัวใจห้องนี้มีผนังหนาเช่นกันแต่บางกว่า เวนทริ เคิลซ้าย เนื่องจากส่ งเลือดไปยังปอด เท่านั้น ไม่ตอ้ งใช้แรงบีบมากนัก การไหลเวียนเลือดในคน 1. วงจรไหลเวียนผ่านปอด (pulmonary circulation) - วงจรที่เลือดที่มี O2 ต่า จาก right ventricle เข้าสู่หลอด เลือด pulmonary arteries ส่ งเลือดไปยังปอดทั้ง 2 ข้าง เพื่อ รับ O2 และปล่อย CO2 ให้กบั ถุงลมปอด จากนั้นเลือดที่มี O2 สูง จะออกจากปอดมาที่หวั ใจห้อง left atrium ทาง หลอดเลือด pulmonary veins Pulmonary circulation ventricleขวา ปั๊มเลือดออกจากหัวใจ pulmonary artery ปอด (แลก เปลีย่ นแก๊ ส) oxygen-rich blood pulmonary vein atriumซ้ าย Reece, et al., 2011 การไหลเวียนเลือดในคน 2. วงจรไหลเวียนผ่านร่ างกาย (systemic circulation) - วงจรนาเลือดที่มี O2 สูง ออกจากหัวใจไปยังเนื้อเยือ่ ส่วน ต่างๆ ของร่ างกาย โดยเลือดจะออกจาก หัวใจห้อง left ventricle เข้าสู่หลอดเลือด aorta และจะแตกเป็ นหลอดเลือดแดงที่เล็กลง และนาเลือดไปยังอวัยวะและเนื้ อเยือ่ ทุกส่ วน เกิดการแลกเปลี่ยน สารอาหาร ของเสี ยระหว่างหลอดเลือดฝอยกับเนื้ อเยือ่ ของเสี ย ต่างๆ ที่ถูกปล่อยออกจากเนื้ อเยือ่ จะเข้าสู่หลอดเลือดดาขนาดเล็ก และในที่สุดหลอดเลือดดาเหล่านี้ จะรวมกันเป็นหลอดเลือดดา ขนาดใหญ่และกลับเข้าสู่หวั ใจห้องบนขวา (right atrium) Systemic circulation ventricleซ้ าย aorta เส้ นเลือดแยกออกเป็ น 2 เส้ น คือ ส่ วนหัวและแขน และ อวัยวะในช่ องท้ องและขา oxygen-poor blood กลับสู่ หัวใจ (atriumขวา)ทาง Reece, et al., 2011 anterior(superior)(1) หรื อ posterior(inferior) vena cava(2) การไหลเวียนเลือดในคน right atrium tricuspid valve right ventricle pulmonary semilunar valve pulmonary arteries lungs pulmonary veins left atrium mitral (bicuspid) valve left ventricle aortic semilunar valve aorta systemic circulation 3. วงจรการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลีย้ งหัวใจ (coronary circulation) เซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจทั้งหมดไม่สามารถรับสารอาหารและ O2 จากเลือดที่อยูภ่ ายในห้องหัวใจได้โดยตรงเนื่ องจากมีผนังที่ หนาเกินกว่าที่สารต่าง ๆ จะแพร่ ผา่ นจากด้านในมายังด้านนอก ได้ หลอดเลือดที่นาเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เรี ยกว่า Coronary arteries หลอดเลือดนี้ จะแตกออกมาจาก aorta และแทรกเข้าไป ในทุกส่วนของหัวใจ การแลกเปลี่ยนสารอาหารและของเสี ย ของกล้ามเนื้อหัวใจจะเกิดขึ้นที่บริ เวณหลอดเลือด coronary capillaries จากนั้นของเสี ยต่าง ๆ จะถูกลาเลียงกลับทางหลอด เลือดดาขนาดเล็ก (cardiac veins) และมารวมกันเป็ นหลอดเลือด ดาขนาดใหญ่ที่อยูด่ า้ นหลังของหัวใจซึ่ งเรียกว่ า Coronary sinus และกลับเข้ าสู่ หัวใจห้ องบนขวา (right atrium) 3. วงจรการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลีย้ งหัวใจ (coronary circulation) เซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจทั้งหมดไม่สามารถรับสารอาหารและ O2 จากเลือดที่อยูภ่ ายในห้องหัวใจได้โดยตรงเนื่ องจากมีผนังที่ หนาเกินกว่าที่สารต่าง ๆ จะแพร่ ผา่ นจากด้านในมายังด้านนอก ได้ หลอดเลือดที่นาเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เรี ยกว่า Coronary arteries หลอดเลือดนี้ จะแตกออกมาจาก aorta และแทรกเข้าไป ในทุกส่วนของหัวใจ การแลกเปลี่ยนสารอาหารและของเสี ย ของกล้ามเนื้อหัวใจจะเกิดขึ้นที่บริ เวณหลอดเลือด coronary capillaries จากนั้นของเสี ยต่าง ๆ จะถูกลาเลียงกลับทางหลอด เลือดดาขนาดเล็ก (cardiac veins) และมารวมกันเป็ นหลอดเลือด ดาขนาดใหญ่ที่อยูด่ า้ นหลังของหัวใจซึ่ ง เรียกว่ า Coronary sinus และกลับเข้ าสู่ หัวใจห้ องบนขวา (right atrium) 3. วงจรการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลีย้ งหัวใจ (coronary circulation) ถ้าหลอดเลือด coronary arteries เส้นใดเส้นหนึ่งเกิดอุดตันเนื่องจากมีไขมันไปสะสมที่ผนังด้านในของ หลอดเลือดทาให้ผนังด้านในหนาตัวขึ้น เรี ยกว่า โรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis) จะมี ผลทาให้กล้ามเนื้อหัวใจที่อยูบ่ ริ เวณนั้นไม่ได้รับอาหารและ O2 กล้ามเนื้อหัวใจบริ เวณนั้นอ่อนแอ ถ้าเป็ น มาก ๆ กล้ามเนื้อหัวใจจะตายและหยุดทางานซึ่ งเป็ นสาเหตุของโรคหัวใจวาย (heart attack) ลิน้ หัวใจ ลิน้ หัวใจ (valve) ทาหน้าที่ควบคุมการไหลของเลือดให้เป็ นทิศทางเดียวและป้องกัน การไหลย้อยทิศของเลือด ลิน้ หัวใจมี 2 ชนิด คือ 1.atrioventricular valve (AV valve) กั้นระหว่าง atrium กับ ventricle 2.semilunar valve กั้นระหว่างห้ องกับหลอดเลือด 1. กั้นระหว่ าง aorta กับ ventricle ซ้ าย aortic semilunar valve 2. pulmonary artery กับ ventricle ขวา pulmonary semilunar valve ลิน้ เอทริโอเวนทริควิ ลาร์ (atrioventricular valve, A – V valve) ลิ้นที่ก้ นั อยูร่ ะหว่างเอเทรี ยมและเวนทริ เคิล ลักษณะของลิ้นจะลู่ลงทางด้านล่างแสดงให้เห็นว่า เลือดมีทิศทางการไหลจากเอเทรี ยมสู่ เวนทริ เคิล เท่านั้น ลิ้นที่ก้ นั ระหว่างเอเทรี ยมขวาและเวนทริ เคิลขวา เรี ยกว่า ลิน้ ไตรคัสพิด (tricuspid valve) ลิ้นนี้ ประกอบด้วยลิ้นแผ่นบางๆ 3 ชิ้น ประกบกัน ลิน้ ที่ก้ นั ระหว่างเอเทรี ยมซ้ายและเวนทริ เคิลซ้าย เรี ยกว่า ลิน้ ไบคัสพิด (bicuspid valve) หรื อลิน้ ไมทรัล (mitral valve) ซึ่ งประกอบด้วยลิ้นแผ่น บางๆ 2 ชิ้นประกบกัน ลิน้ เอทริโอเวนทริควิ ลาร์ (atrioventricular valve, A – V valve) ลิน้ ทั้งสองนี้ทาหน้าที่ควบคุมไม่ให้เลือดไหล ย้อนกลับเข้าสู่ หวั ใจห้องบนอีก การที่ลิ้นหัวใจ ทางด้านขวามี 3 ชิ้น แต่ทางด้านซ้ายมี 2 ชิ้น เนื่องจากผนังเวนทริ เคิลซ้ายหนากว่าผนังเวนทริ เคิลขวา ความกว้างของห้องเวนทริ เคิลซ้ายจึงน้อย กว่าเวนทริ เคิลขวาดังนั้นลิน้ เพียง 2 ชิ้น ก็สามารถ ปิ ดกันได้สนิท ส่ วนเวนทริ เคิลขวากว้างกว่าลิ้น เพียง 2 ชิ้น จะปิ ดได้ไม่พอจึงต้องมีลิ้นถึง 3 ชั้น จึง จะปิ ดได้สนิท ลิน้ เอทริโอเวนทริควิ ลาร์ (atrioventricular valve, A – V valve) ลิ้นไบคัสพิดและลิ้นไตรคัสพิด มีขนาดใหญ่และบาง จึงมีเส้นใยยึดอยูท่ างด้านล่างของลิ้นไว้กบั กล้ามเนื้อ พาพิลาร์ (papilary muscle) ที่อยูท่ ี่ฐานของเวนทริ เคิล เส้นใยนี้เรี ยกว่า คอร์ เดเทนดิเนีย (chordae tendinea) ทาหน้าที่ดึงลิ้นเอทริ โอเวนทริ คิวลาร์ ไม่ให้ พลิกกลับขึ้นไปข้างบนเมื่อเวนทริ เคิลบีบตัวถ้าเส้นใย นี้ฉีกขาดหรื อเสี ยไป เมื่อเวนทริ เคิลบีบตัวจะทาให้ลิ้น เอทริ โอเวนทริ คิวลาร์ พลิกกลับและเลือดบางส่ วนจะ ไหลกลับเข้าไปในเอเทรี ยมทั้งสองห้อง แทนที่จะไหล เข้าสู่ เอออร์ ตาและพัลโมนารี อาร์ เทอรี ลิน้ เซมิลูนาร์ (semilunar valve) พบที่เส้นเลือดเอออร์ตาและพัลโมนารี อาร์เทอรี มีลกั ษณะเป็ นรู ปครึ่ งวงกลม 3 วง วางประกบกัน ลิ้นชนิดนี้ลู่ข้ ึนทางด้านบน ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือด ในเส้นเลือดทั้งสองไหลกลับเข้าสู่ เวนทริ เคิลของหัวใจ ให้ นักเรียน สรุ ปเส้ นเลือดที่หัวใจมีกชี่ นิด และแต่ ละชนิดทาหน้ าที่อย่ างไร จงอธิบาย เส้ นเลือดที่หัวใจ 1. เอออร์ ตา (aorta) เส้นเลือดแดง (นาเลือดที่มีก๊าซออกซิ เจนสู ง) ที่ มีขนาดใหญ่ที่สุดนาเลือดแดงออกจากเวนทริ เคิลซ้ายไปเลี้ยงส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย เส้นเลือดเอออร์ตาเมื่อออกจากเวนทริ ลเคิลล่าง ซ้ายแล้วจะโค้งไปทางด้านหลังทางซ้ายแล้ว ทอดผ่านช่องอกและช่องท้องขนานไปกับ กระดูกสันหลังจากเส้นเลือดแยกออกไปเลี้ยง หัวใจ สมอง แขน อวัยวะภายในต่างๆ ส่ วน ของขาและอื่นๆ เส้ นเลือดที่หัวใจ 2. เวนาคาวา (vena cava) เป็ นเส้นเลือดดา (นาเลือดที่มีก๊าซออกซิ เจนต่า) ขนาดใหญ่ 2 เส้น คือ 1. ซูพเี รี ยเวนาคาวา (superior vena cave) เป็ นเส้นเลือดที่นาเลือดจาก ส่ วนหัว คอ อก และแขน กลับเข้าสู่ หวั ใจทางเอเทรี ยมขวา 2. อินฟี เรี ยเวนคาวา (inferior vena cava) เป็ นเส้นเลือดดาที่นาเลือด จากส่ วนร่ างกายที่อยูต่ ่ากว่ากระบังลมโดยเส้นเลือดจะอยูบ่ ริ เวณกลาง ลาตัวรับเลือดจากตับ อวัยวะสื บพันธุ์ อวัยวะภายในอื่นๆ และส่ วนขา กลับเข้าสู่ หวั ใจทางเอเทรี ยมขวา เส้ นเลือดที่หัวใจ 3. พัลโมนารีอาร์ เทอรี (pulmonary artery) เส้นเลือดที่นาเลือดดาจากเวนทริ เคิลขวาไปฟอกที่ ปอด เลือดเมื่อออกจากเวนทริ เคิลขวาจะโอบไปทาง ด้านหลังของเอออร์ตาแล้วแยกออกเป็ น 2 เส้น คือ พัลโมนารี อาร์เทอรี ซา้ ย (left pulmonary artery) ไปยังปอดด้านซ้ายและพัลโมนารี อาร์เทอรี ขวา (right pulmonary artery) ไปยังปอดด้านขวา เลือดที่ไหลผ่านเป็ นเลือดดา แต่เรี ยกว่า พัลโมนารีอาร์ เทอรี เพราะเลือดมีทิศ ทางการไหลออกจากหัวใจ ซึ่ งตามปกติอาร์เทอรี จะเป็ นเส้นเลือดแดง เส้ นเลือดที่หัวใจ 4. พัลโมนารีเวน (pulmonary vein) เส้นเลือดที่นาเลือดแดงจากปอดทั้งสองข้าง กลับเข้าสู่ เอเทรี ยมซ้าย พัลโมนารี เวนมี ทั้งหมด 4 เส้น โดยนาเลือดแดงจากปอด ซ้ายและปอดขวาข้างละ 2 เส้น พัลโมนารี เวน - เลือดมีทิศทางการไหล กลับเข้าสู่ หวั ใจ จึงเป็ นเส้นเวนที่นาเลือด แดงซึ่ งตามปกติเส้นเวนจะนาเลือดดา เส้ นเลือดที่หัวใจ 5. โคโรนารี (coronary) เส้นเลือดของหัวใจ โดยประกอบด้วยโคโรนารี อาร์เทอรี (coronary artery) 2 เส้น ซ้ายและขวา แยกออกจากเส้นเลือด เอออร์ตา บริ เวณขั้วหัวใจ นาเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ส่ วนต่างๆ โดยมีแขนงย่อยๆ แยกออกจากโคโรนารี อาร์เทอรี ทั้งซ้ายและขวาอีกหลายแขนง โคโรนารี เวน (coronary vein) ทาหน้าที่ลาเลียงเลือดดาออกจากกล้ามเนื้อหัวใจส่ วนต่างๆ เข้าสู่ โคโรนารี ไซนัส (coronary sinus) ซึ่ งเป็ นเส้นเลือดดาที่ อยูท่ ี่ผิวด้านหลังของหัวใจแล้วนาเลือดเข้าสู่ เอเทรี ยมขวา โดยตรง (ไม่รวมกับเส้นเลือดเวนาคาวา) การเต้ นของหัวใจ (Heart beat) เกิดจากการบีบตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อ หัวใจเป็ นจังหวะสม่าเสมอ เรี ยกว่า ชีพจร (pulse) วัดได้จากหลดเลือดแดง วัดเป็ นจานวนครั้งต่อ นาที เรี ยกว่า อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการเต้นของชีพจรในผูใ้ หญ่จะมีค่าประมาณ 72 – 80 ครั้ง/นาที ซึ่ งเท่ากับอัตราการเต้นของ หัวใจ การบีบและคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจส่ งผลให้ เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า เรี ยกว่า คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiogram) การเต้ นของหัวใจ (Heart beat) หัวใจของมนุษย์จะมีการทางานได้เองโดยปราศจากการกระตุน้ ของเส้นประสาท 1. Nodal tissues และ conducing system เริ่ มจากกลุ่มเนื้อเยือ่ ที่มีลกั ษณะพิเศษซึ่ งเรี ยกว่า Nodal tissues เนื้อเยือ่ นี้จะสามารถสร้างกระแสประสาท หรื อ สัญญาณไฟฟ้าขึ้นเองได้ และยังสามารถถ่ายทอดสัญญาณให้แก่กนั และกันได้ เนื้ อเยือ่ ชนิดพิเศษนี้มี 4 กลุ่ม ได้แก่ – กลุ่มที่1 ไซโนเอเทรียล โนด (sinoatrial node) หรื อ เอสเอ โนด (SA node) ตั้งอยูใ่ นหัวใจห้องบนขวา ใกล้กบั ช่องเปิ ดของหลอดเลือด superior vena cava ซึ่ง SA node จะสร้างสัญญาณไฟฟ้าหรื อกระแสประสาทขึ้นมา – กลุ่มที่ 2 ซึ่งเรียกว่า เอวี โนด (AV node) เป็นเนื้ อเยือ่ ที่ต้ งั อยูบ่ นหัวใจห้องบน ขวาใกล้กบั ผนังที่ก้ นั ระหว่างห้องบนทั้งสอง – กลุ่มที่ 3 คือ เอวี บันเดิล (AV bundle) หรื อ bundle of His ซึ่งตั้งอยูบ่ ริ เวณส่ วน บนสุดของผนัง interventricular septum – กลุ่มที่ 4 คือ เส้ นใยเพอร์ คนิ เจ (Perkinje fibers) เป็ นเส้นใยแยกไปเวนทริ เวคิล ซ้ายและขวาโดยแตกเป็ นกิ่งเล็กๆ การเต้ นของหัวใจ (Heart beat) 1 SA node (pacemaker) ECG Reece, et al., 2011 กลุ่มที่1 ไซโนเอเทรียล โนด (sinoatrial node) หรื อ เอสเอ โนด (SA node) สร้างสัญญาณไฟฟ้าหรื อกระแสประสาทและจะแผ่สญ ั ญาณไฟฟ้าไปทัว่ หัวใจห้องบน ทาให้หวั ใจห้อง บนเกิดการหดตัว จากนั้นกระแสประสาทจะถูกส่ งมาที่เนื้อเยือ่ กลุ่มที่ 2 เอวี โนด (AV node) การเต้ นของหัวใจ (Heart beat) 1 2 SA node AV (pacemaker) node ECG Reece, et al., 2011 AV node ส่ งสัญญาณไฟฟ้าไปไม่ทวั่ เวนทริ เคิล ทาให้เวนทริ เคิลไม่สามารถบีบตัวก่อนที่เอเทรี ยมคลายตัว การเต้ นของหัวใจ (Heart beat) 1 2 3 SA node AV (pacemaker) node Bundle branches Heart apex ECG Reece, et al., 2011 กลุ่มที่ 3 คือ เอวี บันเดิล (AV bundle) หรื อ bundle of His จะนากระแสประสาทไปเนื้อเยือ่ กลุ่มที่ 4 การเต้ นของหัวใจ (Heart beat) 1 2 3 4 SA node AV node Bundle Purkinje (pacemaker) (จาก AV node สู่ ventricle Heart branches fibers จะ delay 0.1 วินาที) apex ECG Reece, et al., 2011 เนื้อเยือ่ กลุ่มที่ 4 คือ เส้นใยเพอร์คินเจ (Perkinje fibers) จะนากระแสประสาทไปยัหวั ใจห้องล่างทั้งสองและทาให้หวั ใจห้องล่าง เกิดการหดตัว เนื่ องจากเนื้อเยือ่ SA node เป็นเนื้อเยือ่ กลุ่มแรกที่สร้างกระแสประสาทขึ้นมาก่อนเนื้ อเยือ่ กลุ่มอื่น ฉะนั้นจึงเป็น กลุ่มที่กาหนดอัตราการเต้นของหัวใจ ซึ่งถูกเรี ยกว่าผูใ้ ห้จงั หวะการเต้นของหัวใจ หรื อ pacemaker การเต้ นของหัวใจ (Heart beat) กลุ่มที่1 ไซโนเอเทรียล โนด (sinoatrial node) หรื อ เอสเอ โนด (SA node) สร้างสัญญาณไฟฟ้าหรื อกระแสประสาทและจะแผ่ สัญญาณไฟฟ้าไปทัว่ หัวใจห้องบน ทาให้หวั ใจห้องบน เกิดการหดตัว จากนั้นกระแสประสาทจะถูกส่งมาที่ เนื้อเยือ่ กลุ่มที่ 2 เอวี โนด (AV node) AV node ส่งสัญญาณไฟฟ้าไปไม่ทวั่ เวนทริ เคิล ทาให้ เวนทริ เคิลไม่สามารถบีบตัวก่อนที่เอเทรี ยมคลายตัว กลุ่มที่ 3 คือ เอวี บันเดิล (AV bundle) หรื อ bundle of His จะนากระแสประสาทไปเนื้อเยือ่ กลุ่มที่ 4 เนื้อเยือ่ กลุ่มที่ 4 คือ เส้นใยเพอร์คินเจ (Perkinje fibers) จะนากระแสประสาทไปยัหวั ใจห้องล่างทั้งสองและทาให้หวั ใจห้องล่าง เกิดการหดตัว เนื่องจากเนื้อเยือ่ SA node เป็ นเนื้อเยือ่ กลุ่มแรกที่สร้างกระแสประสาทขึ้นมาก่อนเนื้อเยือ่ กลุ่มอื่น ฉะนั้นจึงเป็ น กลุ่มที่กาหนดอัตราการเต้นของหัวใจ ซึ่งถูกเรี ยกว่าผูใ้ ห้จงั หวะการเต้นของหัวใจ หรื อ pacemaker 2. คลื่นไฟฟ้าของหัวใจ (Electrocardiogram, ECG) กราฟที่แสดงการทางานของหัวใจในรู ปของ คลื่นไฟฟ้าโดยการวัดสัญญาณไฟฟ้าในวงจรการ ทางานของหัวใจโดยใช้ electrode วัดผิวหนังของ ร่ างกาย เช่น บริ เวณข้อมือ ข้อเท้า และหน้าอก ซึ่ ง กราฟนี้จะประกอบด้วยคลื่น 3 ชนิด คือ คลื่น พี (P wave) ซึ่ งจะแทนการแผ่ของกระแส ประสาทจาก SA node ไปยังหัวใจห้องบนทั้งสอง ก่อนที่หวั ใจห้องบนทั้งสองจะหดตัว คลื่น คิว อาร์ เอส (QRS wave) ซึ่ งแสดงการแผ่ของกระแสประสาทจาก SA node, AV bundle และ Purkinje fiber ในหัวใจห้องล่างก่อนที่หวั ใจห้องล่างจะหดตัว คลื่น ที (T wave) จะแสดงถึงการคลายตัวของหัวใจห้องล่าง 3. วงจรการเต้ นของหัวใจ (cardiac cycle) วงจรการเต้นของหัวใจ (cardiac cycle) ลาดับของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน 1 Atrial and ระหว่างการเต้นของหัวใจที่สมบูรณ์ 1 ครั้งเรี ยกว่า คาร์ ดิแอคไซเคิล (cardiac ventricular diastole cycle) ซึ่ งใช้เวลา 0.8 วินาที ซึ่ งประกอบด้วย การหดตัว (systole) และการคลายตัว (diastole) ของหัวใจห้ องบนและ หัวใจห้ องล่ างสลับกันการเกิด cardiac cycle หัวใจห้องบนทั้งสองเกิดการหดตัว เรียกว่ า atrial systole ขณะที่หวั ใจ ห้องบนหดตัว เลือดจะถูกบังคับให้ลงสู่ หวั ใจห้องล่าง 0.4 sec เมื่อสัญญาณไฟฟ้าถูกส่ งไปถึงหัวใจห้องล่างจะทาให้ หัวใจห้ องล่ างทั้งสอง หดตัว (ventricular systole) เลือดจะถูกบังคับให้ไหลผ่านลิ้นเซมิลูนาร์ เข้าสู่ systemic circulation และ pulmonary circulation Reece, et al., 2011 2 Atrial systole and ventricular diastole -cardiac cycle: การบีบและ 1 Atrial and ventricular diastole คลายตัวของหัวใจเป็ นรอบๆ -ระยะที่มีการบีบตัวเรียก systole 0.1 sec -ระยะที่มีการคลายตัวเรียก 0.4 diastole sec Reece, et al., 2011 2 Atrial systole and ventricular diastole -cardiac cycle: การบีบและ 1 Atrial and คลายตัวของหัวใจเป็ นรอบๆ ventricular diastole -ระยะที่มีการบีบตัวเรียก systole 0.1 sec -ระยะที่มีการคลายตัวเรียก diastole 0.4 0.3 sec sec 3 Ventricular systole and atrial Reece, et al., 2011 diastole เสี ยงของหัวใจ (Heart sound) เราสามารถใช้เครื่ องมือที่เรี ยกว่า หูฟัง (stethoscope) ฟังการเต้นของ หัวใจ เสียงที่ได้ ยนิ อย่ างชัดเจน จะมี 2 เสียง เสี ยงที่ 1 เกิดจากการปิ ดของลิ้น AV ทั้งสอง เมื่อ ventricle บีบตัว จะได้ยนิ เสี ยงดัง ลุบ (lub) เสี ยงที่ 2 การปิ ดของลิ้นเซมิลูนาร์ ท้ งั สอง เมื่อ ventricle คลายตัว จะทาให้เกิดซึ่ งได้ยนิ เสี ยงเป็ น ดุบ (dub) กรณี ที่ลิ้นหัวใจเกิดการปิ ดที่ไม่สมบูรณ์ จะมีผลทาให้เลือดไหลย้อยกลับหรื อลิ้นหัวใจรั่ว เรี ยกว่า heart murmur เสี ยงของหัวใจ (Heart sound) การที่หวั ใจบีบตัวและคลายตัว การเปิ ดปิ ดของลิน้ หัวใจและการเปลี่ยนแปลงของความเร็ วของการ หมุนเวียนเลือดในหัวใจ ทาให้เกิดเสี ยงการเต้นของหัวใจ (heart sound) ซึ่ งมี 4 เสี ยงคือ เสียงที่ 1 เกิดจากเวนทริ เคิลบีบตัวทาให้แรงดันภายในเวนทริ เคิลเพิ่มสู งขึ้นลิ้นเซมิลูนาร์ เปิ ดและลิ้นเอทริ โอ เวนทริ คิวลาร์ ปิด เสี ยงนี้มีความถี่ต่าและนานกว่าเสี ยงที่ 2 เนื่องจากลิ้นเอทริ โอเวนทริ คิวลาร์ มีขนาดใหญ่ ความดัง ของเสี ยงนี้เกิดจากการบีบตัวของเวนทริ เคิล เสี ยงของหัวใจ (Heart sound) เสียงที่ 2 เกิดจากการปิ ดตัวของลิ้นเซมิลูนาร์ ทาให้เกิดการสัน่ ของลิ้นเซมิลูนาร์ หวั ใจ และเส้นเลือดเอออร์ ตา เสี ยงนี้มีความถี่สูงแต่ค่อยกว่าเสี ยงแรกและระยะเวลาก็ส้ นั กว่าเสี ยงแรก เสี ยงของหัวใจ (Heart sound) เสียงที่ 3 เกิดจากช่วงที่เวนทริ เคิลคลายตัวและลิ้นเอทริ โอเวนทริ คิวลาร์ เปิ ด เลือดไหลลงสู่ เวนทริ เคิลทาให้ เวนทริ เคิลสัน่ เสี ยงนี้ความถี่ต่าและเบา เสี ยงของหัวใจ (Heart sound) เสียงที่ 4 เกิดเมื่อเอเทรี ยมบีบตัวดันเลือดจากเอเทรี ยมลงสู่ เวนทริ เคิลเสี ยงนี้ ความถี่ต่าและเบามากเสี ยงที่เกิดขึ้นนี้ จะต้องใช้ เครื่ องมือขยายเสี ยงที่เรี ยกว่า สเทดทสโคป (stethoscope) ช่วยในการฟังซึ่งจะฟังได้ชดั เจนในเสี ยงที่ 1 และเสี ยงที่ 2 ส่วนเสี ยงที่ 3 และ เสี ยงที่ 4 จะฟังไม่ได้ชดั เจนต้องใช้เครื่ องมือขยายทางไฟฟ้ าบันทึกภาพการสัน่ ของคลื่นเสี ยงที่เรี ยกว่าโฟโนคาร์ ดิโอแกรม (phonocardiogram) ช่วยบันทึกการฟังเสี ยงการเต้นของหัวใจเป็นการตรวจหัวใจอย่างหนึ่ ง