กฎหมายและการจัดดินแดน PDF
Document Details
Uploaded by Deleted User
2568
Tags
Summary
เอกสารนี้เป็นข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายและการจัดดินแดนในประเทศไทย โดยครอบคลุมถึงความมุ่งหมาย ขอบเขตการบรรยาย และเอกสารอ้างอิงที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทหารและการจัดดินแดนยามปกติและยามสงคราม
Full Transcript
มายและการจัดดิน Full นอส.6 24 ม.ค. 68 ความมุ่งหมาย เพื่อให้มีความเข้าใจใน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ทหาร เพื่อให้มีความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดดินแดนใน ยามปกติและยามสงคราม ขอบเขตการบรรยาย กฎหมายทีเกี่ยวข้อง การจัดดินแดน เอกสารอ้างอิง นส.61-100-1/1 การปฏิบัติก...
มายและการจัดดิน Full นอส.6 24 ม.ค. 68 ความมุ่งหมาย เพื่อให้มีความเข้าใจใน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ทหาร เพื่อให้มีความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดดินแดนใน ยามปกติและยามสงคราม ขอบเขตการบรรยาย กฎหมายทีเกี่ยวข้อง การจัดดินแดน เอกสารอ้างอิง นส.61-100-1/1 การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังระดับกองพล ( ภาค 1) 2556 นส.100-15-1/1 การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังระดับ ทภ.( ภาค 2 ) 2556 FM.100-15-1 Corps Operation and Techniques (1992) FM 31-85 Rear Area Protection (RAP) Operations (1970) รส.111-2 การจัดดินแดนยามสงคราม พ.ศ.2541 นโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ (สำนักงานสภาความมั่นคง ฯ ) แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553 – 2557 แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2558 นส.100-15 การปฏิบัติการยุทธ์ของกองทัพภาค 2555 การสนับสนุนทางการช่วยรบของกองทัพภาค (สสธ.รร.สธ.ทบ.) ความสัมพันธ์ระหว่าง ยศ., ยก., ครม. ยุทธศาสตร์ชาติ ระดับ รมว.กห. ยุทธศาสตร์ทหาร - การเตรียม ยุทธศาสต เสนาธิการ กห. ผบ.เหล่าทัพ กำลัง -การใช้กำลัง ร์ ผบ.ยุทธบริเวณ บก.ยุทธบริเวณ ยุทธศาสตร์ยุทธ กำลังเหล่าทัพ บริเวณ ระดับ กกล.ฉก.ร่วม แผนการทัพ การยุทธใหญ่ ยุทธการ แม่ทัพ การปฏิบัติการขนาด ใหญ่ กองพล กรม กองพัน แผนทางยุทธวิธี การปฏิบัติการ ระดับ ทางยุทธวิธี กฏหมายและการจัดดิน แดน กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความสำคัญของการจัดดินแดน, การจัดดินแดนยามปกติและการจัดดินแดนยาม สงคราม การจัดกำลังในพื้นที่ยุทธบริเวณ การแบ่งมออบความรับผิดชอบในพื้นที่ แต่ละส่วนของยุทธบริเวณ กฏหมายที่ เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญ พ.ศ........... พ.ร.บ. จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ........... พ.ร.บ. กฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 พ.ร.บ. การเกณฑ์ช่วยราชการทหาร พ.ศ. 2530 พ.ร.ก. การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2560 รัฐธรรมนูญ แห่งราช อาณาจักรไทย “ รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระ หน้าที่ของ มหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่ง เขตอำนาจรัฐ และต้องจัดให้มีกำลังทหาร ทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จำเป็น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษา เอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระ มหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ เพื่อการพัฒนา ประเทศ ” ที่มา : รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 77 หน้าที่ของทหารตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 77 รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่ง สถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และ บูรณภาพแห่งเขตอํานาจรัฐ และต้องจัดให้ มีกําลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ และ เทคโนโลยีที่ ทันสมัยจําเป็น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย ความ มั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผล ประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขและเพื่อการพัฒนาประเทศ หน้าที่ของทหารตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 หน้าที่ของทหารตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติ เป็นชื่อเรียก พระราช กฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดย ประเทศ บัญญัติ ที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้ อนุญาต สำหรับประเทศอื่นที่พระมหา กษัตริย์ไม่ใช่ผู้อนุญาต ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ พระราช เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของ บุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของ บัญญัติ รัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะ สูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจาก รัฐธรรมนูญ (พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง กฎ ข้อบังคับ ระเบียบแบบแผน ประกาศ คำ สั่ง หรือมติของสภากลาโหม) ก่อนประกาศ ใช้บังคับ การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำได้ก็แต่ โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และ พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ. 2551 มาตรา 10 กระทรวงกลาโหมมีส่วน ราชการ ดังต่อไปนี้ (1) สำนักงานรัฐมนตรี (2) สำนักงานปลัดกระทรวง (3) กรมราชองครักษ์ (4) กองทัพไทย พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ. 2551 มาตรา 15 กองทัพไทย มีหน้าที่ เตรียมกำลังกองทัพไทย การ ป้องกันราชอาณาจักร และ ดำเนินการเกี่ยวกับการใช้ กำลังทหารตามอำนาจหน้าที่ ของกระทรวงกลาโหมมีผู้ บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้ พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ. มาตรา 34 2551 ในกรณีที่มีความจำเป็น เพื่อการรบหรือการ สงคราม การปราบปราม การกบฏหรือเมื่อได้ประกาศ ใช้กฎอัยการศึก ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหมโดยความเห็นชอบของสภากลาโหม มีอำนาจ กำหนดหน่วยงาน แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ทางทหาร และกำหนดอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานและเจ้า หน้าที่ทางทหารได้ตามความเหมาะสมแก่การ ปฏิบัติภารกิจ เมื่อการรบหรือการสงคราม หรือการปราบปรามการ กบฏสิ้นสุดลง หรือมีการยกเลิกประกาศกฎอัยการ พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ. 2551 มาตรา 34 วรรค 1 ในกรณีที่มีความจำเป็น เพื่อ การรบ หรือ การสงคราม, การปราบปราม การกบฏ ประกาศใช้ กฎอัยการศึก ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โดย ความเห็นชอบของสภากลาโหม มีอำนาจกำหนดหน่วยงาน แต่งตั้ง เจ้าหน้าที่ทางทหารและกำหนดอำนาจ หน้าที่ของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ทาง ทหารได้ตามความเหมาะสมแก่การปฏิบัติ พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ. มาตรา 34 วรรค 2 2551 เมื่อการรบหรือการสงคราม หรือการปราบปราม การกบฏสิ้นสุดลงหรือมีการยกเลิกประกาศกฎ อัยการศึก ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโดยความ เห็นชอบของสภากลาโหมพิจารณาสั่งยกเลิก หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ทางทหารที่ได้ กำหนด พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ. 2551 มาตรา 34 วรรค 3 เพื่อประโยชน์ใน การปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ตาม วรรคหนึ่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โดยความเห็นชอบของสภากลาโหมมี อำนาจ กำหนดพื้นที่ที่จำเป็นต่อการ พระราชบัญญัติ กฎอัยการ ศึก พ.ศ. 2457 มาตรา 4 เมื่อมีสงครามหรือจลาจลขึ้น ณ แห่งใดให้ผู้บังคับบัญชาทหาร ณ ที่นั้น ซึ่งมีกำลังอยู่ใต้บังคับไม่น้อยกว่า หนึ่งกองพันหรือเป็นผู้บังคับบัญชาใน ป้อมหรือที่มั่นอย่างใดๆของทหารมี อำนาจประกาศใช้กฎอัยการศึกเฉพาะในเขต อำนาจหน้าที่ของกองทหารนั้นได้แต่จะ ต้องรีบรายงานให้รัฐบาลทราบโดยเร็ว ที่สุด พระราชบัญญัติ กฎอัยการ ศึก พ.ศ. 2457 มาตรา 6 ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึก ให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยว กับการยุทธ การระงับปราบปราม หรือการ รักษาความสงบเรียบร้อย และเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพลเรือนต้องปฏิบัติตามความต้องการ ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร พระราชบัญญัติ กฎอัยการ ศึก พ.ศ. 2457 มาตรา 8 เมื่อประกาศใช้กฎอัยการ ศึกในตำบลใด, เมืองใด, มณฑลใด, เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเต็ม ที่จะตรวจค้น, ที่จะเกณฑ์, ที่จะ ห้าม, ที่จะยึด, ที่จะเข้าอาศัย, ที่จะทำลาย หรือเปลี่ยนแปลงสถาน ที่, และที่จะขับไล่ พระราชบัญญัติ กฎอัยการ ศึก พ.ศ. 2457 มาตรา 16 ความเสียหายซึ่งอาจ บังเกิดขึ้นอย่างหนึ่งอย่างใด ใน เรื่องอำนาจของเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหาร บุคคล หรือ บริษัทใดๆ จะ ร้องขอค่าเสียหายหรือค่าปรับ อย่างหนึ่งอย่างใด แก่เจ้า หน้าที่ฝ่ายทหารไม่ได้เลย พ.ร.ก. การบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 กระทบหรืออาจจะกระทบต่อความสงบ เรียบร้อย เป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐ อาจทำให้ประเทศหรือส่วนใดส่วนหนึ่ง ของประเทศตกอยู่ในภาวะคับขัน มีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการ ก่อการร้าย ตามประมวลกฎหมายอาญา การ รบหรือการสงคราม การจัดดินแดน ความสำคัญของ การจัดดินแดน การจัดดินแดนยาม ปกติ การจัดดินแดนยาม สงคราม การจัดดิน แดนยามปกติ การจัดดินแดนยาม ปกติ ราชการพลเรือน(กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) 77 จังหวัด ราชการทหาร –กองทัพบบก ส่วนภูมิภาค 4 กองทัพ แบ่งพื้นที่ 4 กองทัพภาค - กองทัพภาคที่ 1 - กองทัพภาคที่ 2 - กองทัพภาคที่ 3 - กองทัพภาคที่ 4 x 3xx2 x xx3 xx 1 xx2 xx 1 1 xxx x 4 กฎกระทรวง เรื่องกำหนดพื้นที่และเขต พื้นที่ของ มทบ. พ.ศ.2558 ทบ. ทภ. 1 ทภ. 2 ทภ. 3 ทภ. 4 มทบ.11 มทบ.21 มทบ.31 มทบ.41 x 3xx2 x xx3 xx มทบ.12 มทบ.22 มทบ.32 1 มทบ.42 มทบ.13 มทบ.23 มทบ.33 xx2 xx มทบ.43 1 มทบ.14 มทบ.24 มทบ.34 มทบ.44 มทบ.25 มทบ.35 มทบ.15 มทบ.45 1 xxx x มทบ.16 มทบ.26 มทบ.36 4 มทบ.46 มทบ.27 มทบ.37 มทบ.17 มทบ.28 มทบ.38 มทบ.18 มทบ.29 มทบ.39 มทบ.19 มทบ.21 มทบ.31 0 0 ทภ. เขตพื้นที่ความ 1 รับผิดชอบ(ใหม่) สิงห์ บุรี มทบ.13 ลพบุรี, มทบ.11 อ่าง ชัยนาท, สิงห์บุรี ทอง ชัยน ลพบุ กรุงเทพฯ, รี อ่างทอง าท มทบ.18 นครปฐม, สระ นครนาสระบุรี, สุพรร อยุ บุรี ยก อยุธยา กาญจน ณบุรี นนทบุรี, บุรี ธยา ปราจี มทบ.19 นครปฐ ปทุม สระแ ม นนท ธานี กรุง นบุรี ก้ว สระแก้ว, ปทุมธานี, มทบ.17 เทพฯ ฉะเชิ บุรี งเทรา กาญจนบุรี, ราช จันทบุรี, สมุทรปราการ, ชลบุ มทบ.14 สุพรรณบุรี บุ รี รี ระย จันท ชลบุรี, สมุทรสาคร, เพชร อง บุรี ตราด มทบ.15 เพชรบุรี บุรี ตร ระยอง ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรป าด สมุทรส ราการ มทบ.16 ราชบุรี, สมุทรส าคร สมุทรสงคราม, งคราม สมุทรสาคร ประจวบ มทบ.12 ปราจีนบุรี, คีรีขัน หมายเหตุ : ทภ.1ธ์ นครนายก, เสนอปรับในปี 2560 ฉะเชิงเทรา เมื่อมีการบรรจุกำลังพลตามอัตรา อนุมัติร้อยละ 80 แล้ว ทภ. เขตพื้นที่ความ 2 รับผิดชอบ(ใหม่) หนองค บึงกาฬ มทบ.21 นครราชสีมา, าย. ชัยภูมิ มทบ.22 เลย อุดรธ สกลนค นครพ นม อุบลราชธานี, านี หนองบัว ร อำนาจเจริญ ลำภู ขอนแ กาฬสิน มุกดา มทบ.23 ขอนแก่น, กาฬ ก่น ธิ์ หาร อำนาจ สินธิ์ ชัย มหาสาร ยโส เจริญ ภูมิ คาม ร้อย มทบ.24 อุดรธานี, ธร เอ็ด หนองคาย อุบลรา มทบ.25 สุรินทร์, สุริ ศรีสะชธานี ศรีสะเกษ นครราช บุรี เกษ สีมา รัมย์ นทร์ มทบ.26 บุรีรัมย์, มหาสารคาม หมายเหตุ : ทภ.2 มีการปรับเขตพื้นที่รับ ผิดชอบของ มทบ.22, 23, 24, จทบ.สุรินทร์, ทภ. เขตพื้นที่ความ 3 รับผิดชอบ(ใหม่) มทบ.31 นครสวรรค์, เชียงร กำแพงเพชร,อุทัยธานี าย มทบ.32 ลำปาง แม่ฮ่อ เชียงใ พะเยา มทบ.33 แม่ฮ่องสอน, งสอน หม่ น่าน เชียงใหม่, ลำพูน มทบ.34 พะเยา ลำปาง ลำพูน แพร่ มทบ.35 อุตรดิตถ์, แพร่ มทบ.36 เพชรบูรณ์, อุตรดิ ตถ์ พิจิตร มทบ.37 สุโขทั เชียงราย ตาก ย พิษณุโ มทบ.38 น่าน ลก พิจิตร กำแพง มทบ.39 พิษณุโลก, เพชร เพชรบู สุโขทัย นครสวร มทบ.310 ตาก รณ์ รค์ อุทัยธ หมายเหตุ : ทภ.3 ไม่มีการปรับเขตพื้นที่รับ ทภ. เขตพื้นที่ความ 4 รับผิดชอบ(ใหม่) ชุม มทบ.41 นครศรีธรรมราช(เว้น ระน พร ทุ่งสง), มทบ.42 ภูเก็ต พัทลุง, สตูล, สงขลา อง มทบ.43 อ.ทุ่งสง, กระบี่, ตรัง สุราษฎ มทบ.44 ชุมพร, ระนอง ร์ธานี นครศรีธร มทบ.45 สุราษฎร์ธานี, พัง รมราช งากระ พังงา ทุ่ มทบ.46 ปัตตานี, นราธิวาส, ภูเ บี่ งสง ยะลา ก็ต ตรั หมายเหตุ : ทภ.4 มีการปรับ ง พัท ลุง เขตพื้นที่รับผิดชอบ ปัตตา ของ มทบ.41, จทบ.ทุ่งสง, และ สตู สงข นี จทบ.สุราษฎร์ธานี ล ลา นราธิว จากปัจจุบัน าส ยะล า การจัดดินแดน ยามสงคราม การจัดดินแดนยามสงครา ความหมาย การกำหนดขอบเขตดินแดนภายใน และ/หรือ ภายนอกประเทศ ในภาวะที่เกิดหรือใกล้จะเกิดสงคราม โดยมีความมุ่งหมาย เพื่อให้ทหารได้ ใช้อำนาจ ในการ จัดระเบียบ และ ปกครอง บังคับบัญชา กำลัง และกิจการทั้งปวง ภายในดินแดน ที่ได้ กำหนดขึ้นนั้นตาม บทบัญญัติของกฏหมายอย่างเป็นเอกภาพ การจัดดินแดนยามสงครา จัดดินแดนยาม สงคามเพื่อ... การจัดดินแดนยามสงครา จัดดินแดนยามสงครามเพื่อ... เป็นการแบ่งมอบความรับผิดชอบพื้นที่ ระหว่าง หน่วยรบ,หน่วยสนับสนุนการรบ และหน่วยสนับสนุนการ ช่วยรบ เพื่อ ปลดเปลื้องความรับผิดชอบพื้นที่ สำหรับ หน่วยรบให้เหลือน้อยที่สุด ขณะเดียวกันก็ให้มี พื้นที่ดำเนินกลยุทธอย่างเพียงพอ เป็นการมอบความรับผิดชอบในการระวังป้องกันเขต หลังให้กับหน่วยสนับสนุนการช่วยรบ การจัดดินแดนยามสงครามจะประกาศใช้พร้อมกับแผน ป้องกันประเทศของกองทัพบก การจัดดินแดนยามสงครา เขตสงคราม หมายถึง พื้นที่ ทาง บก ทาง น้ำ และทาง อากาศ ซึ่งเกี่ยวข้องในการสงคราม เขตสงครามจะเล็กใหญ่ขึ้นกับ ขนาดของกรณีพิพาท ประกอบด้วย A. ยุทธบริเวณ การจัดดินแดนยามสงครา เขตสงคราม A. ยุทธบริเวณ คือดินแดน ส่วนหนึ่งของเขตสงครามที่ จำเป็นต่อการปฏิบัติการรบการ สนับสนุนการรบ และการสนับสนุน ทางการช่วยรบ การจัดดินแดนยามสงครา เมื่อประเทศอยู่ในภาวะ สงคราม รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม โดยความเห็น ชอบของสภากลาโหม จะกำหนด พื้นที่ยุทธบริเวณขึ้น และ จะแต่งตั้ง ผบ.ยุทธบริเวณ เพื่อรับผิดชอบในการ ปัจจัยในการพิจารณากำหนดขอบเขตของ ยุทธบริเวณ ภารกิจที่ได้รับมอบ ลักษณะของภัยคุกคามและขีดความสามารถภัย คุกคาม พื้นที่การดำเนินกลยุทธ์และพื้นที่ สนับสนุนในการปฏิบัติการยุทธ์ เวลา กำลังที่มีอยู่ ระดับความปลอดภัยในแต่ละพื้นที่ ระบบและการดำเนินการสนับสนุนทางการช่วย ปัจจัยในการพิจารณากำหนดขอบเขตของ ยุทธบริเวณ ระดับความปลอดภัยในแต่ละพื้นที่ ระบบและการดำเนินการสนับสนุนทางการช่วย รบ ข่ายเส้นทางคมนาคม , ปมคมนาคม แหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น ความหนาแน่นของประชากร จำนวนและที่ตั้งของพื้นที่สำคัญที่จะ ต้องเข้ายึดครอง กว้างขวางพอที่จะวางกำลังรบและ ส่วนสนับสนุน และมีพื้นที่เพียงพอในการ ดำเนินกลยุทธ์และการช่วยรบ B. เขตภายใน คือ พื้นที่ที่อยู่นอกเขตการ ทำสงคราม ไม่กระทบกระเทือนจากการรบ เป็น แหล่งทรัพยากร โรงงาน และ แหล่งผลิต สำหรับเป็นฐานส่งกำลังบำรุงเพื่อ สนับสนุนการปฏิบัติในยุทธบริเวณ โดยในสถานการณ์การรบ ณ ปัจจุบันด้วย ประสิทธิภาพของอาวุธสมัยใหม่ ทำให้ไม่มี พื้นที่ที่เรียกเป็นเขตภายในคงมีแต่ ลักษณะงานของเขตภายใน ซึ่งได้แก่พื้นที่ เป็นแหล่งทรัพยากร โรงงานอุตสาหกรรมและ แหล่งผลิตต่าง ๆ แม้ว่าในบางครั้งจะไม่ สามารถแยกพื้นที่เขตภายในออกจากพื้นที่ การจัดจัด กำลังใน พื้นที่ยุทธ บริเวณ การแบ่งมออบความรับผิดชอบ ในพื้นที่แต่ละส่วนของ ยุทธบริเวณ เครื่องหมายตามระดับห หมู่ กรม ตอน กองพล หมวด กองร้อย กองทัพภาค กองพัน ทบ. การจัดดินแดนใน ยามสงคราม เขตภายใน ยุทธบริเวณ เขตสงคราม การจัดดินแดนยามสงครา เขตสงคราม ประกอบ ด้วย 1. ยุทธบริเวณ A..... B.... ยุทธบริเวณประกอบด้วย เขต หน้าและเขตหลัง เขตหน้า คือ พื้นที่ส่วนหนึ่งของยุทธบริเวณ นับตั้งแต่แนว หน้าสุดของกำลังทหารฝ่ายเราที่เผชิญหน้าข้าศึก ลึกลงมา จนถึงเส้นเขตหลังของกองทัพภาค เป็นพื้นที่สำหรับหน่วยรบใช้ ดำเนินกลยุทธ์มีหน่วยสนับสนุนการรบ และหน่วยสนับสนุน ทางการช่วยรบตามความจำเป็น หมายรวมถึง พท.รวป ที่ลึกเขาไปในดินแดน ขศ.ซึ่ง ผบ.หน่วย สามารถควบคุมสถานการณ์การรบ ในการ ดกย.ของกำลังรบภาคพื้น ดิน การใช้อำนาจการยิง การใช้กำลังทางอากาศที่อยู่ในความ ควบคุมของตน มีพื้นที่สนับสนุนทางการช่วยรบ 2 พื้นที่ คือ พื้นที่ สนับสนุนของกองพลและพื้นที่สนับสนุนของกองทัพภาค เส้นเขตหลังของกองพล หรือกองทัพภาค จะกำหนดขึ้นให้ ไกลไปข้างหน้าให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อเป็นการลด ความรับผิดชอบเรื่องดินแดนของผู้บังคับบัญชาลงให้เหลือน้อย ที่สุด แต่ในขณะเดียวกันจะต้องมีพื้นที่ดำเนินกลยุทธ์อย่าง เพียงพอ การจัดดินแดนในยามสงคราม เส้นเขตหลังทภ. เส้นเขตหลังของ ทบ. เส้นเขตหลังของกรม เส้นเขตหลังกองพล เขตภายใน ยุทธบริเวณ ปัจจัยในการกำหนด ขนาดของเขตหน้า ขึ้นอยู่กับขนาดกำลังรบภาคพื้นดินที่ มีอยู่และลักษณะการยุทธ์ที่ได้วางแผน ไว้ กำลังและขีดความสามารถของข้าศึกตลอด จนการหนุนเนื่องทั้งทางพื้นดินและทาง อากาศ ที่หมายทางยุทธวิธี, ยุทธการ และ ยุทธศาสตร์ เขตหลัง คือ พื้นที่ยุทธบริเวณที่ เหลือทั้งหมดนับจากเส้นเขตหลังของเขตหน้า มาจนถึงเส้นเขตหลังของเขตหลัง หรือของ ยุทธบริเวณ ประกอบด้วยเส้นทางคมนาคมที่ ตั้งทางการส่งกำลังบำรุง กำลังกองหนุน และสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อให้การ สนับสนุนหน่วยในเขตหน้า บก.ยธบ.จะถูกจัด ตั้งขึ้นเพื่อควบคุมทางด้านยุทธการ ต่อ หน่วยทุกหน่วยในยุทธบริเวณ เส้นเขตหลัง คือ เส้นที่แบ่ง ความรับผิดชอบพื้นที่ระหว่างส่วนกำลังรบ ข้อพิจารณาในการกำหนด เขตหลัง ควรให้ไกลไปข้างหน้าเพียงพอที่จะมีพื้นที่สำหรับ การดำเนินกลยุทธ์ และที่ตั้งหน่วยช่วยรบ ควรล้ำไปข้างหน้าเท่าที่จะสามารถกระทำได้ ควรกำหนดให้สัมพันธ์กับข่ายถนน และเส้นทางคมนาคมอื่น ๆ ควรกำหนดขอบเขตตามลักษณะภูมิประเทศที่สามารถสังเกต และจดจำได้ง่าย เมื่อรุกคืบหน้าไป ควรพิจารณาเส้นเขตหลังใหม่โดย เลื่อนไปข้างหน้าเพื่อปลดเปลื้องหน่วยให้พ้นจากความ รับผิดชอบต่อดินแดนที่ไม่ต้องการ หรือเกินขีดความ สามารถ การกำหนดใหม่หรือการเคลื่อนย้ายเส้นเขตหลังไปข้าง หน้าจะต้องวางแผนไว้ล่วงหน้า และจะต้องจัดให้มีการลาด ตระเวนร่วมกันก่อนที่จะโอนความรับผิดชอบ ยุทธบริเวณ เขตหน้า (Combat Zone (CZ) เขตหลัง (Communication Zone (COMMZ) การจัดดินแดนในยามสงคราม เขตสงคราม เขตภายใน ยุทธบริเวณ เขตหลัง เขตหน้า การจัดดินแดนในยามสงคราม เขตภายใน ยุทธบริเวณ เขตหลัง เขตหน้า เขตสงคราม แนวความคิดการจัด ดินแดนของไทย เขตหลัง เขตหน้า เขตหลัง เขตหน้า เขตหลัง เขตหน้า เขตหลัง เขตหน้า แนวหน้าการวางกำลังฝ่าย พื้นที่ปฏิบัติ เดียวกัน การทางลึก เขต หน้า เขต หลัง แนวประสานสอด คล้องการ ปฏิบัติการ ทางลึก พื้นที่ ปฏิบัติการ พื้นที่ ทางทะเล ปฏิบัติการ ทางทะเล พื้นที่ปฏิบัติการระยะใกล้ ของ ทภ.. ขศ. พื้นที่ ส่วน พื้นที่ปฏิบัติการทางลึก ของ ทภ. หลัง ของ ทภ. โครงสร้างสนามรบของ ทภ. พื้นที่ปฏิบัติการ ของ ทภ. เขตสงคราม เขตภายใน ยุทธบริเวณ เขตหลัง เขตหน้า พื้นที่ส่วนหลังของ ทภ.,กองพล เขตสงคราม เขตภายใน ยุทธบริเวณ เขตหลัง เขตหน้า III II I ข บว นสัม III III III III พื้นที่ ระข อง กรม พื้นที่ส่วน ภา พี้นที่ xx xx xx xx สนับสนุน หลังของกอง ของกองพล พล xx xx xx เขต ยุทธ หน้า xxxx บริเว xxxx ณ พี้นที่ พื้นที่ส่วนหลังของ พี้นที่ ทภ. เขต สนับสนุน สนับสนุน สงคราม o ของ ทภ. xxxx ของ ทภ. o o o o o เขต หลัง o o o o o o เขต ภายใน งผลิต การสนับสนุนจากภายนอกประเทศ ระบบการส่งกำลังบำรุงในสนามของ ทบ. สายการส่งกำลัง มทบ. ทภ. พัน.ช.,ส.,สร มทบ.. บ. กอง. ท มทบ..กบ สพ.เบา,พธ. ทบ.สนาม บชร. กรม.สน. บช.กบ.ทบ. ทบ. ทภ. กรม.สน. คลังสนาม มทบ กรม ฝยบ. มทบ.. บชร กรม.สน.. เขตภายใน ยุทธบริเวณ เขตหลัง เขตหน้า ตำบลรวบรวม พร. รวม พร. เขต หน้า พท. รวบรวม พร. รวม พร. ศูนย์รับผู้อพยพ เขต หลัง เขต การจัดพื้นที่ พื้นที่ ส่วนหลัง ส่วนหลัง แบบเป็นเส้นตรง แต่ไม่ต่อ เนื่อง พื้นที่ ส่วนหลัง 1. ปกครองบังคับบัญชา กองกำลัง ประจำถิ่นของ ทบ.ตามที่ กห.กำหนด 2. การรักษาความสงบเรียบร้อยใน 5 ภารกิจ พื้นที่ ของ มทบ. 3. การระดมสรรพกำลัง 4. สนับสนุนหน่วยทหารในพื้นที่ 5. การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การ Q&A 70