แนวคิดการรักษาโรคเบื้องต้น PDF
Document Details
![ReplaceableEarth3927](https://quizgecko.com/images/avatars/avatar-12.webp)
Uploaded by ReplaceableEarth3927
Tags
Summary
This document discusses basic medical concepts and treatments. It covers various symptoms, emergency procedures, and treatment guidelines. It also outlines different categories of ailments and conditions.
Full Transcript
ment acess veronese nnnnn จ แนก วย โรค ชา แยก สาเห 1 ยาบาล E หนค เอง...
ment acess veronese nnnnn จ แนก วย โรค ชา แยก สาเห 1 ยาบาล E หนค เอง คราะ สถานการ ในงาน ใ CLO ประ ก๓ ประ ก 1. Law แนวคิด หลักการการรักษาโรคเบืองต้ น พ.ศ.2539 กระทรวงสาธารณสุข ออกระเบียบกระทรวง สาธารณสุข ว่าด้วยบุคคลซึงกระทรวง ทบวง กรม กรุ งเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนท้องถินอืนหรือ สภากาชาดไทย มอบหมายให้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ในความ ใควบคุมของเจ้าหน้าทีซึงเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539 พรบ.เ ม2538มา ป บ พ.ศ. 2540 สภาการพยาบาล ปรับปรุ ง พรบ.ให้ครอบคลุมการ รักษาโรคเบืองต้นและการให้ภมู ิคุ้มกันโรค (มาตรา 4(3)) พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2540 อง สมรรถนะ ตาม มาตรา4(3) 1.สามารถตรวจ ประเมินสภาพ วินิจฉัยแยกโรคว่าอยู่ในกลุ่มใดแล้ว ให้การรักษาดูแลช่วยเหลือทีเหมาะสม 1)กลุ่มอาการ/ความเจ็บป่ วยฉุกเฉินทีต้องรีบช่วยเหลือและส่งต่อ ไป รับบริการทีเหมาะสม 2) กลุ่มอาการ/ความเจ็บป่ วยทีอาจเป็ นความเจ็บป่ วยทีร้ายแรง ต้องการการส่งต่อเพือรับการรักษา 3)กลุ่มอาการความเจ็บป่ วย/โรคทีพบบ่อยทีให้การบรรเทาอาการ/ ให้การรักษาได้ สมรรถนะ ตามมาตรา 4(3) 2.ให้การดูแลช่วยเหลือฉุกเฉิน ส่งต่อ การรักษาโรคและอาการทีพบ บ่อยและทําหัตถการทีกําหนดได้ 3.ให้ยาเพือบรรเทาอาการ/รักษาโรคตามแนวทางทีกําหนดไว้ให้ ภูมิคุ้มกันโรคพืนฐานและให้บริการวางแผนครอบครัว 4.ติดตามผลการให้การช่วยเหลือ รักษา 5.รับดูแลผู้ป่วยต่อเพือให้การดูแลทีต่อเนือง แนวคิด หลักการการรักษาโรคเบืองต้ น(ต่ อ) พ.ศ.2543 ปฎิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ : เพือให้ประชาชนมี สุขภาพทีดีทงกาย ั ใจ สังคมและจิตวิญญาณ บนแนวคิด :สุขภาพ เป็ นสิทธิขนพื ั นฐานของประชาชนชาวไทยทุกคน พ.ศ.2544 สภาการพยาบาลจัดทําข้อกําหนดการรักษาโรค เบืองต้น ปลา เอาเขาภา สอนชา พ พัฒนาสถานี อนามัยเป็ นหน่ วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (Primary care Unit : PCU) เปลียนเป็ นรพ.สต. พ.ศ.2545 พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กําหนดขึนเพือให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ มี คุณภาพ ได้มาตรฐาน แนวคิด หลักการการรักษาโรคเบืองต้ น(ต่ อ) พ.ศ.2545 ภาคีสภาวิชาชีพเห็นชอบข้อกําหนดการรักษาโรค ไ โอกาส เ น อ าหนด เ นห ตร พ.ศ.2545 กระทรวงสาธารณสุขออกระเบียบกระทรวง ออกระเ ยบสะหรวจ สาธารณสุข ว่าด้วยการประกอบวิชาชีพการพยาบาลตาม ข้อกําหนดในการรักษาโรคเบืองต้นและการให้ภมู ิคุ้มกันโรค พ.ศ. 2545 สภาการพยาบาล ออกข้อกําหนด การรักษาโรค เบืองต้นและการให้ภมู ิคุ้มกันโรค สําหรับ ผู้ประกอบวิชาชีพการ พยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชันหนึง พ.ศ.2545 ข้ อกําหนด การรักษาโรคเบืองต้ นและการให้ ภูมิคุ้มกัน โรค สํ าหรับ ผู้ประกอบวิชาชีพ002การพยาบาล ในIisent8 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พยนมา ย f ชั ทาง นหนึ กา ง พ.ศ.2545 ยบ ความสําคัญของข้อกําหนด 1.ใช้เป็ นแนวทางในการปฎิบัตทิ กํี าหนดขอบเขต ลักษณะการปฎิบัติ 2.สามารถเป็ นหลักฐานอ้างอิงได้ตามกฎหมาย 3.เป็ นการขยายบทบาททางวิชาชีพให้เด่นชัดขึน 4.ทําให้เกิดการปฎิบัตทิ มีี คุณภาพและมีประสิทธิภาพ องค์ ประกอบของข้ อกําหนดฯ ความเป็ นมา การควบคุมมาตรฐานปฎิบัตกิ ารรักษาโรคเบืองต้น ได้แก่ พยาน น1 ใบ ประกอบ คุณสมบัตขิ องพยาบาล ขอบเขตการรักษาโรคเบืองต้น การ ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการปฎิบัติ การจําแนกประเภทของผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยเรือรัง หัตถการทีกําหนด รายการยาทีกําหนด การให้ภมู ิคุ้มกันโรค การควบคุมมาตรฐานการรักษาโรคเบืองต้น s 1.กําหนดคุณสมบัตพ ิ ยาบาล 1.ได้รับใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชันหนึง สอบ8 ชา 2.มีประสบการณ์ในการปฎิบัตกิ ารพยาบาลหลังได้รับใบอนุญาตไม่น้อย กว่า 2 ปี กาม เฉพาะทาง 3.ผ่านการอบรมหลั here กสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฎิบตั ทิ วไป ั (การรักษาโรคเบืองต้น)และได้รับใบประกาศนียบัตร 4.ขึนทะเบียนเป็ นผู้ผ่านการอบรม 5.มีการเพิมพูนความรู้และทักษะการรักษาโรคเบืองต้นให้ทนั สมัยเป็ นไป ตามประกาศสภาการพยาบาลกําหนด การควบคุมมาตรฐานการรักษาโรคเบืองต้น 2.กําหนดขอบเขต สามารถตรวจ ประเมินสภาพ วินิจฉัยแยกโรคว่า อยู่ในกลุ่มใดแล้วให้การช่วยเหลือทีเหมาะสม ให้การดูแลช่วยเหลือ ส่งต่อ รักษาโรคและทําหัตถการทีกําหนด ให้ยาบรรเทาอาการ ให้ ภูมิคุ้มกันโรคพืนฐาน ติดตามผลการรักษา ดูแลผู้ป่วยต่อเนือง กําหนดเครือข่ายการปรึกษา ส่งต่อ มีการควบคุมคุณภาพและแนวปฎิบัตทิ ชัี ดเจน การควบคุมมาตรฐานการรักษาโรคเบืองต้ น 3.การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการปฎิบัติ 1.ต้องมีเครือข่ายทีสามารถปรึกษาหรือส่งต่อเมือเกินขอบเขต ความสามารถ 2.มีแนวปฎิบัตทิ างคลีนิกทีชัดเจน 3.มีการบันทึกและทํารายงานเพือการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ 4.สภาการพยาบาลจัดทําทําเนียบทะเบียนผู้ได้รับใบประกาศ 5.มีกลไกในการประสานเพือการควบคุมคุณภาพ แนวคิด หลักการการรักษาโรคเบืองต้ น(ต่ อ) พ.ศ.2545 สถานศึกษาอบรมพยาบาลเวชปฎิบัตทิ วไป ั พ.ศ. 2548 :สภาการพยาบาล ทําประกาศ :มาตรฐานการ พยาบาลและผดุงครรภ์ในระดับปฐมภูมิ มีภารกิจด้านการ ประเมินภาวะสุขภาพ การรักษาโรคเบืองต้น การปฐมพยาบาล การรับและส่งต่อ การสอนให้คาํ แนะนําให้กับบุคคล ครอบครัว และชุมชนใ ครอบค ม พ.ศ.2550 สภาการพยาบาลออกข้อบังคับว่าด้วยข้อจํากัดและ เงือนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ นายพรานด. พ.ศ.2550 พรบ.สุขภาพแห่งชาติ แนวคิด หลักการการรักษาโรคเบืองต้ น พ.ศ. 2557 : พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster : rn PCC) ใช้ชือทีมทีทํางานว่า คลีนิกหมอครอบครัว อ ง บตาม 2550 เพือพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิให้เข้มแข็ง/พัฒนา ศักยภาพบุคคล ครอบครัวและชุมชน แนวคิด หลักการการรักษาโรคเบืองต้ น ใอ Now ดะ ยกล 2550แ ว focus Vax N enroute ยาม. การเจ็บป่ วยฉุกเฉิ ทาง น การได้รับบาดเจ็บหรือการเจ็บป่ วยกะทัcrete นหัน ซึงเป็ นภยันenroute ตรายต่อการ ดํารงชีวิตหรือการทํางานของอวัยวะสําคัญ จําเป็ นต้องได้รับการประเมิน การจัดการ และการบําบัดรักษาอย่างทันท่วงที ต้องดําเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที และให้หมายความ รวมถึง การปฐมพยาบาล การปฏิบัตแิ ละการเคลือนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต ตังแต่จุดเกิดเหตุ หรือจุดแรกพบผู้ป่วย จนกระทังผู้ป่วยได้รับการรักษาทีถูกวิธีจากผู้ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม เพือป้ องกัน การเสียชีวติ หรืออาการรุ นแรง ขึนจากการบาดเจ็บ หรืออาการป่ วยนัน ns แ ลง าน พบเ น ช. n.mn นไแขน ก คน เ ก องมากา มะ ฐมพยาบาล นาง 17 ปวด อง อยมากปลดมาค ง ด ายe Urinepec test งครร ใ กบโรคา et process งแ assec กษา ง ณเดช บนรถ น เห แ นห าอกมาก อย RRe10 เห กเ น t กฤ IRRะ201 OnVentilator กฤต enter Vax nhnrnne 2564 ใบประกอบ empowerment เ อbehaviorchange เ มจาก50 ใ เ ยน วยตนเอง ใ แลวเอง. ะ 1 tureไไ LP Lumbarpul transe Con anaphalyticshock.in protect เ น นตราย ใจ suture เ ด abarlimmmn.tnย. third3 ไ อ นไข น gycromer Cystหย นท z ลา ไ โดย ดยาชา หลงมารา mn ER างจว. none ทอง ย วง BP ใ IV ไตรมาส ค นวณยาชา วย สภาค นวณIV อสอบ arness เ นroutineคนลบ าน เ ว ลดbasesore หมดส shockะ วย งาน ไ ใ ดพยาบาลออกมานอก พระ ไ วย ด อนลงward ดเป ยน. อ แผนกตา CPR นต SSEisgntr.ge ะ มพอ า ไ เ นห เ บ กฐาน5 น ด อแพท rn ไ nn g 1.กลุ่มอาการฉุกเฉินทีต้องช่วยเหลือและส่งต่อทันที ต้องมีการช่วยเกลือให้การรักษาพยาบาลเบืองต้นตามความ เหมาะสมก่อนส่งต่อผู้ป่วย มี 39 อาการ ดังนี 1.Cardiopulmonary arrest 2.Unconsciousness 3.Shock 4.Seizure 5.Anaphylaxis 1.กลุ่มอาการฉุกเฉินทีต้องช่วยเหลือและส่งต่อทันที 6. Syncope,Fainting 16.Throat emergency 7.Stroke, Cerebrovascular disease 17.Nasal emergency 8.Drowning and Near drowning 18.Zipper injury 9.Massive Blood loss 19.Head injury 10.Electrical injury 20.Chest injury 11. Lightning injury 21.Abdominal injury 12.Falling 22.Spinal injury 13.Fracture 23.Burn 14.Eye emergency 24.Mass casualty 15.Ear emergency 25.Toxic substance,Drug overdose 1.กลุ่มอาการฉุกเฉินทีต้องช่วยเหลือและส่งต่อทันที 26.Human bite 37.Status asthmaticus 27.Snake bite 38.Heat stroke 28.Animal bite 39.ภาวะฉุกเฉินทางสูตนิ รีเวช 29.Bee,Wasp,Hornet Sting 30.Scorpion sting, Centipede and Spider bite 31.Sea urchins, Jellyfish dermatitis 33.Suicide 34.Rape 35.Violence 36.Acute myocardial infraction 2.กลุ่มอาการทีต้องได้รับการวินิจฉัยเพิมเติม ตองปรึกษาแพทยภายใน 1-7 วัน มี 28 กลุมอาการ ดังนี้ 1.มีไข้เกิน 7 วัน 10.อาเจียนเป็ นเลือด 2.ไข้หนาวสัน 11.ไอเป็ นเลือด 3.ดีซ่าน 12.ปั สสาวะ อุจจาระเป็ นเลือด 4.บวม 13.เลือดออกทางช่องคลอด ประจําเดือนมามากผิดปกติ 5.ท้องมาน 6.นําหนักตัวลดหรือ 14.คอพอก เพิมขึนเร็ว 7.ตามัว 15.มีก้อนในทีต่างๆ 8.หูออื หูตงึ 16.มีจุดแดงจําเขียว 9.กลืนลําบาก 17.แขนขาเกร็ง/อ่อนแรง 2.กลุ่มอาการทีต้องได้รับการวินิจฉัยเพิมเติม ไ องจ ไ ออกสยบ 18.มือสัน 27.เวียนศีรษะ นางานะ ๓0 องจ 19.กล้ามเนืออ่อนแรง 28.ไอเกิน 14 วัน 20.หนังตาตก 21.ข้อมือตก ข้อเท้าตก 22.ปากเบียว 23.ข้ออักเสบ บวมแดงร้อน 24.หนองไหลจากท่อปั สสาวะ 25.หงอนไก่ (Condyloma) 3.กลุ่มอาการทีต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบืองต้น มี 8 กลุ่มอาการ 1.อาการในระบบทางเดินหายใจ - ไข้หวัด คัดจมูก นํามูกไหล ไอ หอบ เสียงแหบ 2.อาการทางตา หู คอ จมูก - ตามัว คันตา ตาแดง ตาแฉะ ปวด ตา เคืองตา เจ็บคอ เจ็บหู หูออื หูตงึ 3.อาการในระบบทางเดินทาหาร - ปวดฟั น มีรอยโรคในช่องปาก ปวดท้อง เบืออหาร ท้องเดิน ท้องผูก คลืนไส้ อาเจียน 3.กลุ่มอาการทีต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบืองต้น 4.อาการทางโลหิตวิทยา อาการในระบบหัวใจและหลอดเลือด – จุดแดง จําเขียว ซีด เจ็บหน้าอก ใจสัน 5.อาการในระบบสืบพันธ์และทางเดินปั สสาวะ – ปั สสาวะบ่อย ขัดเบา ตกขาว ประจําเดือนไม่มา 6.อาการทางผิวหนัง – ผิวหนังขึนเป็ นผืนหรือตุม่ อาการคัน 3.กลุ่มอาการทีต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบืองต้น 7.อาการทางระบบประสาท กลามเนื้อ กระดูกและขอ – ชา ชัก มือเทา เกร็ง ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปวดขอ ปวดเมื่อยตามขอ กลามเนื้อ ปวด หลัง 8.อาการในระบบอื่นๆ – ไข ออนเพลีย บวม nnrr น noon ดงแผนครอบค ว ใ ยาเ ด มก เ ด TROST าน7 ใ คปะบก สมรส ไ ยา มก เ ด แจก limit ไ แ 32รายการ nnrn ปโทเวช ป มชน เฉพาะทาง nntnnn 9 อ 1.