วิทย์ ป.4 ล1 หน่วย1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต PDF

Summary

เอกสารนี้ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต มีข้อมูลเกี่ยวกับพืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ

Full Transcript

การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของพืช ความหลากหลายของพืช ความหลากหลายของสัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้จากกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง โดยใช้คลอโรฟิลล์ พืชสามารถเคลื่อนไหวได้แต่เคลื่อนที่ ด้วยตนเองไม่ได้ ตัวอย่างพืช เช่น ทานตะวัน เฟิน...

การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของพืช ความหลากหลายของพืช ความหลากหลายของสัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้จากกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง โดยใช้คลอโรฟิลล์ พืชสามารถเคลื่อนไหวได้แต่เคลื่อนที่ ด้วยตนเองไม่ได้ ตัวอย่างพืช เช่น ทานตะวัน เฟิน ไผ่ มะเขือเทศ เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่น เป็นอาหาร เพื่อให้ได้พลังงานในการดารงชีวิต สัตว์สามารถ เคลื่อนไหวร่างกายและเคลื่อนที่เองได้ ตัวอย่างสัตว์ เช่น ช้าง ลิง ปู ดาวทะเล เป็นสิ่งมีชีวิตนอกเหนือจากกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ บางชนิดสามารถสร้าง อาหารเองได้ แต่บางชนิดสร้างอาหารเองไม่ได้ บางชนิดย่อยสลายซาก สิ่งมีชีวิต ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ เช่น เห็ด ยีสต์ ราบนขนมปัง แบคทีเรีย IOS ร Android https://www.aksorn.com/interactive3D/RK418 เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะสร้างดอก เป็นพืชที่ไม่มีดอกตลอดการดารงชีวิต เพื่อใช้ในการสืบพันธุ์ ส่วนใหญ่สืบพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ มีส่วนประกอบ คือ ราก ลาต้น ใบ และดอก มีส่วนประกอบ คือ ราก ลาต้น และใบ พืชบางชนิดมีดอกมองเห็นได้ชัดเจน บางชนิดมีดอกขนาดเล็ก ใช้ลักษณะของราก ลาต้น และใบ เป็น เกณฑ์ร่วมกันในการจัดกลุ่มพืชได้เป็น พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ มีจานวน 3 หรือทวีคูณของ 3 มีจานวน 4-5 หรือทวีคูณของ 4-5 ลาต้นเป็นข้อปล้องชัดเจน ลาต้นเป็นข้อปล้องไม่ชัดเจน ใบเรียวแคบ เส้นใบเป็นเส้นขนาน ใบกว้าง เส้นใบเป็นร่างแห มีใบเลี้ยง 1 ใบ ในระยะที่งอก มีใบเลี้ยง 2 ใบ ในระยะที่งอก ออกจากเมล็ด ใบเล้ีย ออกจากเมล็ด มีระบบรากฝอย มีระบบรากแก้ว สัตว์ที่ไม่มีกระดูกแข็งเป็น สัตว์ที่มีกระดูกเรียงต่อกันเป็น โครงสร้างของร่างกาย ข้อ ๆ ทาหน้าที่เป็นแกนกลาง ลาตัวมีลักษณะอ่อนนิ่ม อยู่ภายในร่างกาย 1 กลุ่มปลา 2 กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก 3 กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน 4 กลุ่มนก 5 กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม 1 2 1 ฟองน้า 2 สัตว์ที่มีลาตัวกลวงหรือลาตัวมีโพรง 3 หนอนตัวแบน 4 หนอนตัวกลม 5 สัตว์ที่มีลาตัวเป็นปล้อง 6 สัตว์ทะเลผิวขรุขระ 7 หอยและหมึกทะเล 8 สัตว์ที่มีขาเป็นข้อ และอาจใช้การกินอาหาร การสร้างอาหาร และการย่อยสลาย ซากสิ่งมีชีวิตเป็นอาหารได้ด้วย เราสามารถใช้เกณฑ์ในการ จาแนกกลุ่มสิ่งมีชีวิตได้ เช่น ลักษณะของสิ่งมีชีวิต 1 ทาหน้าที่ ดูดน้าและธาตุอาหารที่อยู่ในดิน ขึ้นไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของพืช ช่วยยึดลาต้นให้ตงั้ อยู่บนดิน 2 ทาหน้าที่ ลาเลียงน้าและธาตุอาหารจาก รากขึ้นไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช ลาเลียงอาหารที่พืชสร้างขึ้นทีใ่ บ ไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช ชูกิ่ง ก้าน และใบของพืช 3 ทาหน้าที่ ภายในใบพืชมีปากใบ ทาหน้าที่ หายใจ สร้างอาหาร โดยมีการแลกเปลี่ยนแก๊สทางปากใบ หายใจ และคายน้าออกมาทางปากใบ คายน้า เป็นตัวดูดกลืนแสง เพื่อนาแสงมาใช้เป็น 𝐎𝟐 อาหารที่พืชสร้างขึ้น คือ น้าตาลกลูโคส แหล่งพลังงาน ซึ่งจะถูกลาเลียงไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของพืช 𝐂𝟔 𝐇𝟏𝟐 𝐎𝟔 ส่วนที่เหลือพืชจะเก็บสะสมไว้ในรูปของแป้ง 𝐂𝐎𝟐 พืชจะดูดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าทาง ปากใบ เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการ พืชคายแก๊สออกซิเจนออกทางปากใบ สังเคราะห์ด้วยแสง ช่วยทาให้อากาศบริสุทธิ์ พืชดูดน้าผ่านรากและลาเลียงขึ้นสู่ใบ 𝐇𝟐 𝐎 𝐇𝟐 𝐎 𝐇𝟐 𝐎 เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง 1 ระบุปัญหา ใบพืชสะสมอาหารประเภทใด เรามาช่วยกันตั้งคาถามกันเถอะ! 2 ตั้งสมมติฐาน หากใบพืชสะสมอาหารประเภทแป้ง เมื่อทดสอบใบพืชด้วยสารละลายไอโอดีน สารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยนสี เราจะตั้งสมมติฐานว่าอย่างไรดีนะ? 3 รวบรวมข้อมูล 1) ต้มใบไม้ในน้าเดือดประมาณ 5 นาที 2) นาใบไม้ที่ต้มแล้วใส่ในหลอดทดลองที่บรรจุ เอทิลแอลกอฮอล์ 3) นาหลอดทดลองจากข้อ 2) จุ่มลงในบีกเกอร์ ที่มีน้าเดือด แล้วต้มต่อไป 5 นาที 3 รวบรวมข้อมูล 4) นาใบพืชในหลอดทดลองมาล้างน้าเย็น แล้ว วางใบพืชในจานหลุม 5) หยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบพืช สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง 6) นาน้าแป้งมัน ผงชอล์ก และเศษกระดาษขาว ใส่ในจานหลุม แล้วหยดสารละลายไอโอดีน ลงไป สังเกตและบันทึกผล 4 วิเคราะห์ข้อมูล เมื่อทดสอบใบพืชและน้าแป้งมัน ด้วยสารละลาย ไอโอดีนที่มีสีน้าตาล สารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยน จากสีน้าตาลเป็นสีน้าเงินเข้ม จากการสืบค้นข้อมูลทาให้ทราบว่า ใบพืชทาหน้าที่ สร้างอาหาร ซึ่งอาหารที่พืชสร้างขึ้นคือน้าตาล จากนั้นจะถูกลาเลียงไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของพืช ส่วนอาหารที่เหลือพืชจะสะสมไว้ในรูปแป้ง ซึ่งแป้ง สามารถทดสอบได้ด้วยสารละลายไอโอดีน เมื่อหยด สารละลายไอโอดีนลงไปที่ใบพืช สารละลายไอโอดีน จะเปลี่ยนสีจากสีน้าตาลเป็นสีน้าเงินเข้ม 5 สรุปผล จากการทากิจกรรม พบว่า ในใบไม้ที่นามาทดสอบมีแป้งสะสมอยู่ โดยสังเกตได้จากเมื่อหยด สารละลายไอโอดีนลงบนใบไม้และน้าแป้งมัน สารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยนสีจากสีน้าตาลเป็น สีน้าเงินเข้มเหมือนกัน ส่วนผงชอล์กและเศษกระดาษขาว เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงไป ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของสารละลายไอโอดีน จึงสรุปได้ว่า ใบพืชมีการสร้างอาหารแล้วสะสม อาหารประเภทแป้งไว้ 4 (pistil) (petal) ทาหน้าที่ สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ทาหน้าที่ ห่อหุ้มเกสรขณะที่เกสรยังอ่อนอยู่ มักมีสีสวยงาม หรือมีกลิ่นหอม เพื่อช่วยล่อ แมลงให้มาผสมเกสร (stamen) (sepal) ทาหน้าที่ ห่อหุ้มส่วนของดอกในขณะที่ยัง ทาหน้าที่ สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ตูมอยู่ เพื่อป้องกันอันตรายจากแมลง IOS ร Android https://www.aksorn.com/interactive3D/RM411 สืบพันธุ์ หายใจและคายน้า สร้างอาหาร ลาเลียงน้า ธาตุอาหาร และอาหาร ไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช ดูดน้าและธาตุอาหารในดิน ชูกิ่ง ก้าน และใบ ของพืช ช่วยยึดลาต้นของพืชให้ตั้งอยู่บนดิน สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้รงควัตถุสีเขียวที่เรียกว่า คลอโรฟิลล์ แบ่งพืชออกเป็น 1 2 มีดอกเพื่อสืบพันธุ์ ไม่มีดอกตลอดการดารงชีวิต สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ส่วนใหญ่สืบพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ และแบบไม่อาศัยเพศ ตัวอย่างพืช เช่น เฟิน มอสส์ ปรง ตัวอย่างพืช เช่น ทานตะวัน มะลิ หางสิงห์ มะม่วง ส้ม จอก สิ่งมีชีวิตอื่นทีไ่ ม่ใช่กลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ บางชนิดย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิต บางชนิดสร้างอาหารเองได้ บางชนิดสร้างอาหารเองไม่ได้ เช่น แบคทีเรีย เห็ด รา

Use Quizgecko on...
Browser
Browser