บทที่ 2 - น้ำ PDF

Summary

เอกสารนี้ครอบคลุมหัวข้อเกี่ยวกับน้ำ โดยอธิบายโมเลกุลและคุณสมบัติของน้ำ รวมถึงพันธะเคมีและพันธะโคเวเลนต์

Full Transcript

บทที่ 2 น้ำ น้ำ เป็ นสารประกอบที่อยูใ่ นรูปโมเลกุล มีสตู รเคมี เป็ น H2O ประกอบด้วย H 2 อะตอม และ O 1 อะตอมยึด เหนีย่ วกันด้วย พันธะเคมี (chemical bond) แรงยึดเหนีย่ วระหว่างอะตอม ทาให้อะตอมต่างๆ เข้ามาอยู่ รวมกันเป็ นโมเลกุล อิเล็กตรอนของธาตุมารวมตัวกัน เพื่อจัดเ...

บทที่ 2 น้ำ น้ำ เป็ นสารประกอบที่อยูใ่ นรูปโมเลกุล มีสตู รเคมี เป็ น H2O ประกอบด้วย H 2 อะตอม และ O 1 อะตอมยึด เหนีย่ วกันด้วย พันธะเคมี (chemical bond) แรงยึดเหนีย่ วระหว่างอะตอม ทาให้อะตอมต่างๆ เข้ามาอยู่ รวมกันเป็ นโมเลกุล อิเล็กตรอนของธาตุมารวมตัวกัน เพื่อจัดเวเลนซ์อิเล็กตรอนให้เสถียร (ครบ 8) พันธะเคมี (Chemical bond) พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) พันธะเคมี พันธะไอออนิ ก (Ionic bond) พันธะโลหะ (Metallic bond) กำรเกิดพันธะโคเวเลนต์ H H สำรโคเวเลนต์เกิดจำกค ู่ อะตอมของธำต อุ โลหะมำ H H รวมกัน โดยกำรใช้เวเลนซ์ อะตอมของธำต ุไฮโดรเจน 2 อิ เ ล็ ก ต ร อ น ร่ ว ม กั น ซึ่ ง อะตอมเริม่ เคลื่อนที่เข้ำหำกัน อำจจะใช้ร่วมกันเพียง 1 ค ู่ 2 ค ู่ หรือ 3 คกู่ ็ได้ อะตอมใช้อิเล็กตรอน ร่วมกันเกิดแรงยึดเหนี่ยว H H ที่เรียกว่ำ พันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ 1. พันธะเดี่ยว (single bond) 2. พันธะคู่ (double bond) 3. พันธะสาม (Triple bond) 1. พันธะเดีย่ ว (Single bond) คือ พันธะที่เกิดจากการใช้ เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนร่ วมกัน 1 คู่ F2 2. พันธะคู่ (Double bond) คือ พันธะทีเ่ กิดจาก การใช้ เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนร่ วมกัน 2 คู่ CO2 3. พันธะสาม (Triple bond) คือ พันธะทีเ่ กิดจาก การใช้ เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนร่ วมกัน 3 คู่ N2 การเรี ยกชื่อสารโคเวเลนต์ 1. สารโคเวเลนต์ ท่ ีประกอบด้ วยธาตุ 2 ชนิด ให้ อ่านธาตุตัวหน้ าก่ อนและตามด้ วย ธาตุตัวหลังโดยเปลี่ยนท้ ายพยางค์ เป็ นไอด์ (-ide) 2. ระบุ จานวนอะตอมของแต่ ละธาตุ ด้ วย ม # จานวนในภาษากรี ก ดังนี ้ CH4 Mono = 1 Di =2 carbon Tri =3 Tetra = 4 tetrahybride Carbon tetrahydride Penta = 5 Hexa = 6 (methane) Hepta = 7 Octa = 8 Nona = 9 Deca = 10 3. ถ้ าธาตุตัวหน้ ามีอะตอมเดียวไม่ ต้องระบุจานวนอะตอม แต่ ธ าตุตัว หลังต้ องระบุจานวนอะตอมแม้ มีเพียงอะตอมเดียว มี การเรี ยกชื่อสารโคเวเลนต์ PH3 phosphorus trihybride phosphorus trihydride 1 = Mono 2 = Di SCl6 suffer sulfur hexachloride hexachloride 3 = Tri 4 = Tetra dinitrogentrioxide trioxide N2O3 dinitrogen 5 = Penta 6 = Hexa 7 = Hepta NH3 Ammonia* nitrogen toThyhride. 8 = Octa -แอ ม อเน 9 = 10 = Nona Deca ช่ การเรี ยกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ จงอ่ านชื่อสารประกอบเหล่ านี้ AsF5 Arsenic pentafluoride = AlI3 Aluminium triiodide foxide N2O dinitrogen mono Dinitrogen monoxide monoxide Cl2O7 Dicholrene heptaoxide CO Carbon monoxide m การเปลี่ยนสถานะของนา้ และความมีขัว้ สารโคเวเลนต์แต่ละชนิดจะมีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลว ต่างกัน เนือ่ งจากมีแรงยึดเหนีย่ วระหว่างโมเลกุลต่างกันเป็ น ผลมาจาก สาร โ > สารไ 1. สภาพขัว้ ของโมเลกุล 2. พันธะไฮโดรเจน กำรเปลี่ยนสถำนะของสำรโคเวเลนต์แต่ละชนิด จะใช้พลังงำนควำมร้อนไม่เท่ำกัน เช่น น้ำ มั จ้ ม่ น VS ไ เ ยก ผลงาน : & ~- -> & toorci) ↑ 16 100 % 1,0 · ท ลา นแร ง ดเหน ยวระะหว าง งโ ้ำ สั ว่ ี่ ขี ยึ ำ สร - · - 16 - สาร &ร สน ISI 3 11 - - ส -- +- & 15 - N นี ร์ 1. สภาพขัวโมเลกุลของสารโคเวเลนต์ สารมีขวมี ั แรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลมากกว่าสารทีไม่มขี วั ส่งผลให้มี จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงกว่า โมเลกุลมีขัว 1. โมเลกุลทีมี 2 อะตอม ของธาตุต่างชนิดกัน เช่น HCl ↳ไ 2. โมเลกุลทีอะตอมกลางเกิดพันธะโคเวเลนต์กบั อะตอมข้างเคียงชนิด เดียวกัน และมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดียวเหลืออยู่ (สภาพขัวของพันธะหักล้างกัน ไม่หมด ) เช่น NH3 H2O -> 3. โมเลกุลทีอะตอมกลางเกิดพันธะโคเวเลนต์กบั อะตอมข้างเคียงต่างชนิดกัน เช่น HCN CHCl3 โมเลกุลไม่ มีขัว C -- Cl 1. โมเลกุลของธาตุชนิดเดียวกัน เช่น H2 Cl2 -C 2. โมเลกุลของสารประกอบทีเกิ ดจากธาตุ 2 ชนิ ด โดยมีอะตอมหนึ งเป็ น อะตอมกลาง และอะตอมอีกธาตุหนึ งอยู่โดยรอบ โดยมีรูปร่ างโมเลกุลที สมมาตร ทําให้สภาพขัวของพันธะหักล้างกันหมด เช่น BeCl2 BF3 PCl5 3. โมเลกุลของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทังหมด ~ C 16, CN C /6 2 3 1 < 216 ( - สารใดเป็ นสารมีขัวและสารใดเป็ นสารไม่ มีขัว - HF PCl3 ~ * SF6 HCHO CH4 / 2. พันธะไฮโดรเจน พันธะไฮโดรเจนเป็ นแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุล ูไ ล ม น (H) > สาร ของสารมีขวที ั ภายในโมเลกุลมีพนั ธะ สาร F-H O-H N-H ทําให้สารมีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวสูงกว่าสาร มีขวทั ั วไปทีมีขนาดโมเลกุลใกล้เคียงกัน มิ วั มั สมบัติบางประการของสารประกอบโคเวเลนซ์ มี จ ดุ หลอมเหลวและจ ดุ เดื อ ดตํ า เป็ น ส่ว นมาก เนืองจากแรงยึ ด เหนียวระหว่ า งโมเลกุล มี ค่ า ตํา ยกเว้นสารโคเวเลนต์พวกโครงผลึกร่างตาข่ายมีจดุ เดือดและ จุดหลอมเหลวสูง สมบัติบางประการของสารประกอบโคเวเลนซ์. สถานะ สารประกอบโคเวเลนต์เป็ นได้ทงั 3 สถานะ ทีสภาวะปกติสว่ นมากมีสถานะเป็ นแก๊ส แต่ถา้ ยึดเกาะเป็ นโครง ผลึกร่างตาข่ายจะมีสถานะเป็ นของแข็ง สมบัติบางประการของสารประกอบโคเวเลนซ์ การละลายนํา สารประกอบโคเวเลนต์บางชนิดละลายนําได้ เช่น NH3 ,HCl ,C2H5OH,C6H12O6 สารประกอบโคเวเลนต์บางชนิดไม่ละลายนํา แต่ละลายได้ในตัวทําละลายที เหมาะสม เช่น CS2 CCl4 C6 H6 สมบัติบางประการของสารประกอบโคเวเลนซ์ การนําไฟฟ้า สารประกอบโคเวเลนต์สว่ นมากไม่นาํ ไฟฟ้ า เพราะโมเลกุลเป็ นกลางทางไฟฟ้า แตกตัวเป็ นไอออนไม่ได้ แต่แกรไฟต์ เป็ นโครงผลึกร่างตาข่ายของคาร์บอนรูปหนึงสามารถนําไฟฟ้ าได้ บางส่วน %

Use Quizgecko on...
Browser
Browser