บทที่ 1 แนวคิดทางการจัดการกับพฤติกรรมองค์การ PDF
Document Details
Uploaded by WholesomeCharacterization
Tags
Summary
This document provides an overview of management concepts and organizational behavior. It covers topics such as the definition of management, inputs and outputs, and various management functions like planning, organizing, directing, and controlling.
Full Transcript
บทที่ 1 แนวคิดการจัดการกับพฤติกรรมองค์การ MANAGEMENT การจัดการ การจัดการ MANAGEMENT ความหมาย การใช้ทรัพยากรในองค์การที่มีอยู่ อย่างจากัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและบรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์การ Input Process Output 8 ‘ Ms -POSDC Products -POLC...
บทที่ 1 แนวคิดการจัดการกับพฤติกรรมองค์การ MANAGEMENT การจัดการ การจัดการ MANAGEMENT ความหมาย การใช้ทรัพยากรในองค์การที่มีอยู่ อย่างจากัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและบรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์การ Input Process Output 8 ‘ Ms -POSDC Products -POLC Service Feedback Process Management Input Process Output 4 M’s - POLC - Objectives 6 M’s - POSDC - Goals 8 M’s - POSDCORB Feedback 4 แนวคิดเชิงระบบ องค์ประกอบของระบบมี 4 สํวนคือ กระบวนการดาเนินการแปรรูป ผลผลิต OUTPUT การนาเข้ า INPUT Transformation สิ นค้า การบริ การ คน เงิน ข้อมูล Processes กาไรขาดทุน เครื่ องมือ วัตถุดิบ ความสามารถขององค์การ หรื อความพอใจ ที่ตอ้ งใช้ในการผลิตสิ นค้า ในการจัดการ ของพนักงาน เทคโนโลยีที่ประยุกต์ในการแปรรู ป ซึ่งเกิดจากการ และบริ การขององค์การ ดาเนินงานขององค์การ จากวัตถุดิบเป็ นผลผลิต ข๎อมูลย๎อนกลับ FEEDBACK ข๎อมูลที่เกิดจากการตอบรับจากสิ่งแวดล๎อมตํอผลผลิตซึ่งจะกระทบตํอวัตถุดิบ 5 ทรัพยากรทางการจัดการ 8’Ms (Input) 1. Man คน 2. Money เงิน 3. Materials วัตถุดิบ 4. Management การจัดการ 5. Machines เครื่องจักร 6. Market การตลาด 7. Message ข๎อมูลการสื่อสาร 8. Morale ขวัญกาลังใจ Management Functions(Process) 1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดองค์การ (Organizing) 3. การจัดคนเข๎าทางาน (Staffing) 4. การสั่งการ (Directing) 5. การควบคุม (Controlling) Management Functions (สมัยใหมํ) 1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดองค์การ (Organizing) 3. การชี้นา (Leading) 4. การควบคุม (Controlling) Output วัตถุประสงค์ - สินค๎า (Products) - บริการ (Service) ส่ วนประกอบขององค์ กร กลุ่มบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป รวมกันเข้าและทางานร่วมกัน บรรลุถึงจุดประสงค์ร่วมอันเดียวกัน การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ การบริหาร (ADMINISTRATION) กระบวนการที่เกี่ยวข๎องกับการกาหนด นโยบายและ แผนงาน (ภาครัฐ ราชการ) การจัดการ (MANAGEMENT) กระบวนการของการนาเอานโยบายและ แผนงานไปปฏิบัติ (ภาคเอกชน ธุรกิจ) การจัดการเป็ นทั้ง “ศาสตร์ ” และ “ศิลป์ ” ศิลป์(Art) การจัดการเกีย่ วข๎องกับ ทักษะบุคคล แนวความคิดทางการจัดการ ยุคที่ 1 ยุคกํอนการจัดการ แบบวิทยาศาสตร์ ยุคที่ 2 ยุคการจัดการ แบบวิทยาศาสตร์ ยุคที่ 3 มนุษย์สัมพันธ์ ยุคที่ 4 ยุคการจัดการ สมัยใหมํ แนวความคิดทางการจัดการ ยุคที่ 1 ยุคกํอนการจัดการ แบบวิทยาศาสตร์ แนวความคิดทางการจัดการ ยุคที่ 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) * ระหวํางปี ค.ศ. 1880-1980 Frederick W. Taylor “บิดาของการบริหารงานแบบวิทยาศาสตร์” Time and Motion Study กลุํมการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการจัดการที่อาศัยหลักเกณฑ์ทาง วิทยาศาสตร์ ในการทางานให๎เกิดประสิทธิภาพ ใช๎หลัก เหตุผล สามารถพิสูจน์หาข๎อเท็จจริงได๎ Frederick W. Taylor (Frederick W.Taylor,1881) ได๎ชื่อวําเป็นบิดาของการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ สร๎างแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ในการหาวิธีการทางานให๎มีประสิทธิภาพมากที่สุด มุํงให๎ผู๎ปฏิบัติงานใช๎ความรู๎ความสามารถมากที่สุด การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตโดยพยายามลดต๎นทุนและเพิ่มกาไร รวมถึงเพิ่มคําจ๎างให๎คนงานที่สามารถเพิ่มผลผลิตให๎สูงขึ้น โดยถือหลักของการให๎ คําตอบแทนที่เหมาะสม 16 หลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์ 1. อาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือหลักของเหตุผล เพื่อที่จะค๎นหา วิธีทางานที่มีประสิทธิภาพทีส่ ุด 1. กาหนดมาตรฐานของงาน คุณภาพ และปริมาณของผลงานที่ ต๎องการ โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหวํางงานกับผู๎ปฏิบัติ 1. มีการพิจารณาผลตอบแทนในการปฏิบัติงาน ให๎สอดคล๎องกับความ ต๎องการของผลผลิต 17 ผลงานที่สาคัญของ Taylor 1. การใช๎ระบบคําตอบแทนรายชิ้น: ทามากได๎มาก ทาน๎อยได๎น๎อย 2. หลักการเสียเวลา: เป็นการศึกษาเพื่อหาเวลามาตรฐานในการ ทางานแตํละชิ้นวําควรจะใช๎เวลาเทําใด ใช๎หลัก Put the right man in the right job 3. หลักการทางานตามแบบวิทยาศาสตร์: ฝ่ายบริหารควรกาหนด วิธีการและมาตรฐานในการปฏิบัติงานโดยใช๎วิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ สามารถวัดและตรวจสอบได๎ (Method and Tools) 18 Frederick W. Taylor “A PIECE RATE SYSTEM” 1. สาหรับผลผลิตที่ยังไมํถึงมาตราฐาน 2. สาหรับผลผลิตที่เทํากับหรือสูงกวํามาตราฐาน Frederick W. Taylor มนุษย์ = Economic Man จูงใจได๎ด๎วย “เงิน” ขยันมาก มาก ขยันน๎อย น๎อย สรุปแนวความคิดด้านการจัดการ แบบวิทยาศาสตร์ของ Taylor ได้ ดังนี้ 1. ให๎ความสาคัญด๎านศาสตร์ไมํใชํกฎที่ไมํแนํนอน 2. มีการประสานงานรํวมกันมากกวําความขัดแย๎ง 3. เน๎นผลผลิตสูงสุดแทนที่จะจากัดการผลิต 4. จัดให๎มีการคัดเลือก ฝึกอบรม และ การบรรจุคนงาน 5. มีการพัฒนาพนักงานให๎มีความสามารถเทําที่จะทาได๎ Frederick W. Taylor เสนอรูปแบบการจํายคําจ๎างแบบ “A PIECE RATE SYSTEM” เขียนหนังสือ “Shop Management” และ “The Principles of Scientific Management” บุคคลสำคัญทีส่ นับสนุน Taylor Henry Gantt 1. ประดิษฐ์แผนผังเปรียบ Gantt Chart เทียบการทางานที่เกิดขึ้นจริง กับแผนที่วางไว๎ 2. คิดแผนการจํายโบนัส 3. สนับสนุนให๎ฝ่ายบริหารมีความรับผิดชอบ ในการฝึกอบรมคนงานให๎มีความชานาญ การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ของ Henry L.Gantt Henry L. Gantt เป็นวิศวกรเครื่องกล ได๎รํวมงานกับ Taylor และรํวมกันสร๎าง ผลงานหลายอยําง เชํน การฝึกอบรมให๎กับพนักงานเพื่อเพิ่มผลผลิต(Training) และการสร๎างแรงจูงใจ(Motivation) ผลงานของ Gantt ที่สาคัญได๎แกํ พัฒนาแผนภูมิบันทึกความก๎าวหน๎าของงานเทียบเวลา Grant chart หรือ Barchart ตํอมาเรียก PERT (Program Evaluation and Review Technique) ระบบการจูงใจโดยการให๎ Bonus โดย Gantt เชื่อวํา คนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญ อยํางหนึ่งของปัญหาด๎านการจัดการทั้งหมด 24 2. การจัดการในระบบราชการของ Weber Max Weber(1906 – 1920) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ศึกษาการทางานภายในองค์การ และโครงสร๎างของสังคมได๎แกํ ข๎าราชการพลเรือน ทหาร ตารวจและองค์การของรัฐ/รัฐวิสาหกิจฯ ได๎เสนอรูปแบบการจัดการที่เรียกวําระบบราชการ ซึ่งถือเป็นรูปแบบของ องค์การในอุดมคติ และเป็นรูปแบบขององค์การที่มีประสิทธิภาพ ระบบราชการ มีลักษณะที่สาคัญ 6 ประการ 1.มีการจัดชั้นตาแหนํงและสายการบังคับบัญชาไว๎อยํางชัดเจน 2.มีการแบํงงานกันทาโดยคานึงถึงความชานาญเฉพาะอยําง แตํละงานมีขอบเขตแนํนอน ไมํก๎าวกํายซึ่ง กันและกัน 3.มีระเบียบกฎเกณฑ์ในการปฏิบัติงาน 4.มีการจัดระบบของการทางานและมีระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติ 5.ไมํนาความสัมพันธ์สํวนตัวเข๎ามาเกี่ยวข๎องในงาน ทุกคนทางานโดยยึดหลักเหตุและผล 6.การเลือกคนเข๎าทางานและการเลื่อนขั้นเลื่อนตาแหนํง จะต๎องพิจารณาจากความรู๎ความสามารถเป็น เกณฑ์ 25 มีกหลั กการจั ารแบํ งงานกัดนการ“ระบบราชการ”ของ Max Weber ทาตามแนวราบ ( Horizontal Delegation) ทาให๎ กระบวนการทางานในองค์การทั้งระบบมีผู๎รบั ผิดชอบ และมีการแบํงงานกัน ทาเพื่อให๎เกิดความชานาญเฉพาะอยําง องค์การนั้นๆต๎องมีสายบังคับบัญชาตามลาดับชั้น ( Authority Hierarchy) : มีกระทรวง กรม หรือสานักงานและตาแหนํงงานที่อยูํใต๎ หนํวยงานหรือตาแหนํงงานอยูํใต๎การดูแลในระดับสูงขึน้ ไป ระบบคัดเลือกคนงาน ( Formal Selection ) : ผู๎ที่เข๎ารํวมในหนํวยงาน จะถูกคัดเลือกตามความรู๎ความสามารถและคุณสมบัติ ที่มีระบบการ คัดเลือกและการสอบคัดเลือกอยํางเป็นระบบ/ทางการ 26 มีการยึดหลักกฎหมายและบันทึกไว๎เป็นลายลักษณ์อักษร ( Evidence and Reference ) องค์การต๎องมีระเบียบ และกฎเกณฑ์ ( Formal Rules and Regulations ) : เพื่อให๎สามารถ และประกันความเป็นเอกภาพในการดาเนินการ และกากับการทางานของข๎าราชการและพนักงาน ความไมํเลือกที่รักมักที่ชัง ( Impersonality ) : ไมํมีการถือ/นาสายสัมพันธ์ในครอบครัวเป็น ใหญํ ไมํมีการให๎สิทธิพิเศษแกํบุคคลใดบุคคลหนึ่ง โดยดาเนินการไปตามระเบียบ/กฎเกณฑ์เป็น สาคัญ การแยกระบบการทางานออกเป็นสายอาชีพ ( Career Orientation ) : คนทางานจะเข๎าสูํ ตาแหนํงตามความสามารถของแตํละคน มีเลื่อนขั้น/ตาแหนํงในหนํวยงานไปตามลาดับ ๆ 27 Henri Fayol ได๎รับการยกยํองเป็นผู๎บุกเบิก “แนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการเชิงบริหาร” (Administrative Management) Fayol ให๎ความสนใจกับผู๎บริหารระดับสูงขององค์การ Taylor ให๎ความสนใจกับคนงานระดับลําง ศึกษาระบบเฉพาะของงาน 3. การจัดการตามหลักการบริหาร Henri Fayol(1925) เป็นแนวคิดที่เชื่อวํา ประสิทธิภาพขององค์การจะเพิ่มขึ้น ได๎โดยการปรับปรุงกระบวนการบริหาร Henri Fayol เป็นวิศวกรเหมืองแรํชาวฝรั่งเศส ได๎ชื่อวําเป็นบิดาของการจัดการ เชิงปฏิบัติการสมัยใหมํ แนวคิดของ Fayol การวางรากฐานเพื่อการสร๎างประสิทธิภาพให๎แกํองค์การ สามารถพัฒนา ผลผลิตของคนงานให๎ดีขนึ้ ได๎ ให๎ความสาคัญตํอภารกิจทางการบริหารของฝ่ายจัดการ 29 หลักการจัดการ 14 ข๎อของ Fayol 1. การแบํงงานกันทา 2. อานาจหน๎าทีและความรับผิดชอบ 3. ระเบียบวินัย 4. เอกภาพในการบังคับบัญชา 5. เอกภาพในการอานวยการ 6. ประโยชน์สํวนบุคคลเป็นรองจากประโยชน์สํวนรวม 7. คําตอบแทน หลักการจัดการ 14 ข๎อ ของ Fayol 8. การรวมอานาจ 9. การจัดสายบังคับบัญชา 10. การจัดลาดับ 11. ความเสมอภาค 12.ความมั่นคงในการทางาน 13. ความคิดริเริ่ม 14. ความสามัคคี การบริหารจัดการ(เริ่มยุคใหมํ)ของ Drucker (1954 - 2005) 1) Planning การวางแผน เป็นการกาหนดหน๎าที่การงานที่ต๎องปฏิบัติ เพื่อให๎ บรรลุเป้าหมายขององค์การ โดยกาหนดวําจะดาเนินการอยํางไรและ ดาเนินการเมื่อไร เพื่อให๎สาเร็จตามแผนที่วางไว๎ การวางแผนต๎อง ครอบคลุมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 2) Organizing การจัดองค์การ เป็นการมอบหมายงานให๎บุคลากรในแผนกหรือ ฝ่ายได๎ปฏิบัติเพื่อให๎บรรลุเป้าหมายตามแผนที่วางไว๎ เมื่อแผนกหรือฝ่าย ประสบความสาเร็จก็จะทาให๎องค์การประสบความสาเร็จไปด๎วย 32 3) Leading การนา เป็นการาจูงใจ การชักนา การกระตุ้นและชี้ทิศทาง ให้ดาเนินไปสู่การบรรลุเป้าหมาย โดยการเพิ่มผลผลิตและเน้นมนุษย สัมพันธ์ทาเกิดระดับผลผลิตในระยะยาวที่สูงกว่าภาวะงานเพราะคนมัก ไม่ค่อยชอบภาวะงาน 4) Controlling การควบคุม เป็นภาระหน้าทีข่ องผู้บริหาร ที่จะต้อง 1) รวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลดาเนินงาน 2) เปรียบเทียบผลงาน ปัจจุบันกับเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ และ 3) ทาการตัดสินใจไปตาม เกณฑ์หรือไม่ 33 แนวความคิดทางการจัดการ ยุคที่ 3 ยุคการจัดการแบบแนวความคิด มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) ระหวํางปี ค.ศ. 1930-1950 George Elton Mayo Elton Mayo บิดาของการจัดการแบบพฤติกรรมศาสตร์ Hawthorne Experiment การจัดการเน๎นมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) เนื่องจากการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ที่คิดวํามนุษย์ทางานเพื่อผลตอบแทน หรือความต๎องการในด๎าน เศรษฐกิจ แตํความจริงมนุษย์มีชีวิตจิตใจที่ต๎องสิ่งอื่น ๆด๎วย Elton Mayo เป็นนักสังคมวิทยา (ปี 1880 – 1949) ชาวออสเตรเลีย และเป็นศาสตราจารย์ด๎านการวิจัย อุตสาหกรรมของ Harvard University ได๎ทาการวิจัย Howthorne study ซึ่งเป็นการศึกษาวิจัยเชิงทดลองในบริษัท Western Electric ซึ่งได๎ ทราบผลคือ 1. ประสิทธิภาพการทางาน ไมํขึ้นอยูํกับสภาพแวดล๎อมที่ดีเทํานั้น แตํยังขึ้นกับการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ ดีภายในองค์การด๎วย 2. กลุํมทางานจะเป็นผู๎กาหนดคุณลักษณะของสมาชิก แบบวิธีการของกลุํมตลอดจนความสาเร็จ หรือความล๎มเหลวขององค์การในสัดสํวนที่กลุํมยอมรับได๎ โดยอาศัยความสัมพันธ์เชิงอานาจของ กลุํม 3. เมื่อพนักงานในระดับสูงสามารถจูงใจด๎านจิตใจ จะมีความสาคัญมากกวําการจูงใจด๎วยเงิน 36 มนุษย์ไมํสามารถที่จะจูงใจด๎วยตัวเงินอยํางเดียว Economic Man Social Man มนุษย์ไมํสามารถที่จะจูงใจด๎วยตัวเงินอยํางเดียว พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ขวัญกาลังใจ คํานิยม อารมณ์ ความรู๎สึก แนวความคิดทางการจัดการ ยุคที่ 4 ยุคการจัดการสมัยใหมํ(Modern Mgt) เทคนิคเชิงปริมาณ (Quantitative Technique) = ใช๎เครื่องมือวิทยาศาสตร์มาศึกษาข๎อมูลเชิงปริมาณตํางๆเพื่อตัดสินใจใน องค์การ แนวความคิดด๎านระบบ(System Approach) = กลยุทธ์การศึกษาสํวนตํางๆของระบบที่มีความสัมพันธ์กัน (การเข๎าใจภาพรวมขององค์การ) กลุํมการจัดการเชิงปริมาณ กลุํมทฤษฎีนี้เน๎นแนวคิดของการบริหารที่สนใจทางด๎านจานวน การนาเอาข๎อมูลสถิติ มาใช๎ในการตัดสินใจ โดยแบํงเป็น 3 องค์ประกอบ 1. การจัดการแบบวิทยาการ (Management Science) 2. การจัดการปฏิบัติการ (Operation Management) 3. ระบบสารสนเทศการจัดการ (Management Information System : MIS) 40 กลุํมการบริหารจัดการยุคใหมํ/ปัจจุบัน การจัดการในปัจจุบันมีเทคนิคใหมํ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา มีประเทศผู๎นาด๎านการจัดการ ได๎แกํ USA และ Japan มีเทคนิคใหมํ ๆ ที่นามาปรับใช๎ เชํน 1. การจัดการไปตามวัตถุประสงค์ (Management by objective: MBO) 2. การควบคุมคุณภาพ (Quality control: QC and QCC) 3. การรื้อปรับระบบ (Reengineering) 4. เทคนิคการจัดการแบบ 5 ส 5. กลยุทธ์การจัดการ เพื่อให๎เกิดความเป็นเลิศ(Best Practices) 41 Thailand 4.0 (ไทยแลนด์ 4.0) เป็นวิสัยทัศน์เชิง นโยบาย ที่เปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจ ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม Thailand 1.0 ( ไทยแลนด์ 1.0 ) ก็คือยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข๎าว พืชสวน พืชไรํ เลี้ยงหมู เป็ด ไกํ นาผลผลิตไปขาย สร๎างรายได๎และยังชีพ Thailand 2.0 ( ไทยแลนด์ 2.0) ซึ่งก็คือยุคอุตสาหกรรมเบา ในยุคนี้เรามีเครื่องมือ เข๎ามาชํวย เราผลิตเสื้อผ๎า กระเป๋า เครื่องดื่ม เครื่องเขียน เครื่องประดับเป็นต๎น ประเทศเริ่มมีศักยภาพมากขึ้น Thailand 3.0 ( ไทยแลนด์ 3.0 ซึ่งเป็นยุคปัจจุบัน ) เป็นยุคอุตสาหกรรมหนัก เรา ผลิตและขายสํงออกเหล็กกล๎า รถยนต์ ก๏าซธรรมชาติ ปูนซีเมน เป็นต๎น โดยใช๎ เทคโนโลยีจากตํางประเทศ เพื่อเน๎นการสํงออก 43 Thailand 3.0 ( ไทยแลนด์ 3.0 ) เติบโตอยํางตํอเนื่อง แตํปัจจุบันกลับเติบโต เพียงแคํ 3-4% ตํอปีเทํานั้น ประเทศไทยจึงตกอยูํชํวงรายได๎ปานกลางมาเป็น เวลากวํา 20 ปีแล๎ว ในขณะที่ทั่วโลกมีการแขํงขันที่สูงขึ้น เราจึงต๎องเปลีย่ นสูํยุค Thailand 4.0 ( ไทยแลนด์ 4.0 ) เพื่อให๎ประเทศไทยได๎มีโอกาสกลายเป็นกลุํมประเทศที่มี รายได๎สูง 44 โมเดลของ Thailand 4.0 ( ไทยแลนด์ 4.0 ) นั่นคือ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน 45 ภาคเอกชน ธนาคาร ประชาชน สถาบันศึกษาและสถาบันวิจัยตํางๆ ประกอบกับการ สํงเสริม SME และ Startup เพื่อขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน มีโครงสร๎างด๎านการสื่อสารและโทรคมนาคมที่มีคุณภาพ มีอินเตอร์เน็ตที่คลอบ คลุมประชากรมากที่สุด เพื่อให๎สามารถเชื่อมโยงทุกภาคสํวนได๎อยํางไมํสะดุด กระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม Ministry of Digital Economy and Society DG 46 มทร.พระนคร สังกัดกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ( Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation) หรือ อว. เป็นหนึ่งในหนํวยงานระดับกระทรวงของรัฐบาลไทย มีอานาจหน๎าที่เกี่ยวกับ การสํงเสริม สนับสนุน และกากับการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การวิจัย และ การสร๎างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศให๎เทําทันกับการเปลื่ยนแปลง ของโลก 47 ผู๎จัดการและระดับชั้นของผู๎จัดการ ผู๎จัดการ คือ บุคคลที่ทาหน๎าที่ประสานงานระหวําง กิจกรรมตํางๆขององค์การ ระดับชั้นของผู๎จัดการ ผู๎บริหารระดับสูง Top Manager ผู๎บริหารระดับกลาง Middle Manager ผู๎บริหารระดับลําง First-Line Manager เจ๎าหน๎าที่ปฎิบัติการ Workers ระดับของผูจ้ ดั การ ผู๎จัดการระดับสูง มีหน๎าที่หลักในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และแผนงานที่สาคัญขององค์กร ผู๎จัดการระดับกลาง ผู๎จัดการระดับสูง มีหน๎าที่ในการรับนโยบาย เป้าหมายและ แผนงานจากผู๎บริหารระดับสูงมาปฎิบัติให๎ เกิดผลสัมฤทธิ์แกํองค์กร ผูจ้ ดั การระดับกลาง ผู๎จัดการระดับต๎น มีหน๎าที่ดูแลหนํวยงานยํอยตํางๆ แก๎ปัญหา ผู๎จัดการระดับต๎น เฉพาะหน๎าของหนํวยงาน และเป็น แหลํงข๎อมูลเบื้องต๎นขององค์กร 50